เครือข่าย ATM (Asynchronous Transfer Mode)

Download Report

Transcript เครือข่าย ATM (Asynchronous Transfer Mode)

เครื อข่ าย ATM
ATM
(Asynchronous Transfer Mode)
ประกาย นาดี
ศูนย์คอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เนือ้ หาที่จะบรรยาย …………….




หลักการของเครื อข่ าย ATM
Packet Networks และ Cell Networks
สถาปั ตยกรรมเครื อข่ าย ATM
Cell ของเครื อข่ าย ATM
หลักการของเครือข่ าย ATM
เป็ นเครื อข่ายที่เรี ยกว่าทางด่วนข้ อมูลความเร็วสูง ได้ รับการออกแบบ
โดย กลุม่ ผู้ออกแบบ ATM และนามาใช้ งานโดย ITU มีวตั ถุประสงค์คือ






ต้ องการได้ เครื อข่ายมีความเร็วในการสื่อสารข้ อมูลสูง โดยใช้ เส้ นใยแก้ วนาแสง
สามารถต่อเข้ ากับอุปกรณ์เครื อข่ายเดิม โดยไม่ต้องปรับเพิ่มเติมอุปกรณ์อื่นอีก
พัฒนาให้ เป็ นเครื อข่ายที่มีราคาไม่แพงสาหรับเป็ น backbone
สามารถทางานร่วมกับโครงข่ายเดิมได้
สามารถรับประกันหรื อคานวณประสิทธิภาพของการสื่อสารได้
ใช้ งานได้ โดยไม่สร้ างผลกระทบกับ software เดิม
Packet Networks และ Cell Networks

Packet Networks
เป็ นลักษณะของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทวั่ ไป ข้ อมูลหรื อ
แพ็กเกจที่เคลื่อนที่ในเครื อข่ายมีความยาวไม่แน่นอน หรื อหากมี
หลายเครื อข่ายเชื่อมต่อเข้ าด้ วยกัน จะเกิดความยุง่ ยากในการ
กระทากับแพ็กเกจ หรื อจาเป็ นต้ องเสียเวลาส่วนหนึง่ ในการ
คานวณหาจุดสิ ้นสุดของแพ็กเกจ
MUX
Packet Network และ Cell Network

Cell Networks
เป็ นลักษณะของเครื อข่ายที่มีแพ็กเกจขนาดแน่นอนตายตัว
เคลื่อนที่ในเครื อข่าย การกระทากับแพ็กเกจของอุปกรณ์เครื อข่าย
ไม่จาเป็ นต้ องเสียเวลาในการคานวณหาความยาว หรื อจุดสิ ้นสุด
ของแพ็กเกจ
MUX
สถาปั ตยกรรมเครือข่ าย ATM
เครื อข่าย ATM เป็ นแบบ cell-switched networks เครื่ อง
ของผู้ใช้ คือ end points โดยต่อเข้ ากับเครื อข่าย ผ่านส่วนที่เรี ยกว่า
user-to-network interface (UNI) ไปยัง switch ภายในเครื อข่าย
อุปกรณ์ในเครื อข่ายเชื่อมต่อเข้ าด้ วยกันผ่าน network-to-network
interface (NNI)
สถาปั ตยกรรมเครือข่ าย ATM
การเชื่อมต่อของอุปกรณ์เครื อข่าย ATM ในทางกายภาพ เรี ยกว่า
Transmission Path (TP) เช่น สื่อต่างๆ ภายในเส้ นทาง TP จะมีการสร้ าง
เส้ นทางเสมือน (Virtual Path: VP) เป็ นเส้ นทางการสื่อสารระหว่าง อุปกรณ์
และการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้ 2 จุด จะกาหนดวงจรโดยระบบ เรี ยกว่า วงจร
เสมือน (Virtual Circuit: VC)
สถาปั ตยกรรมเครือข่ าย ATM
ตัวอย่างเช่น มีเส้ นทางเสมือนเชื่อมต่อระหว่าง switch I ไปยัง
switch IV ผ่าน switch II และกาหนดให้ มีวงจรการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้ 2
วงจรภายในเส้ นทางเสมือนนัน้
สถาปั ตยกรรมเครือข่ าย ATM
การกาหนดเส้ นทางของ cell ที่วิ่งผ่านอุปกรณ์ กาหนดที่ ส่วนหัว
ของ cell ประกอบด้ วย
Virtual Path Identifier (VPI)
 Virtual Circuit Identifier (VCI)

8 bits
VPI
16 bits
VCI
UNI Interface
12 bits
VPI
16 bits
VCI
NNI Interface
Cell ของเครือข่ าย ATM
แพ็กเกจหรื อในเครื อข่าย ATM เรี ยกว่า Cell มีความยาวที่
แน่นอน ขนาด 53 ไบต์ ประกอบด้ วยส่วนหัว (header) ยาว 5
ไบต์ และส่วนข้ อมูล (payload) ยาว 48 ไบต์
Header
VPI VCI
5 Bytes
Payload
VCI
48 Bytes
53 Bytes
เลเยอร์ ของเครือข่ าย ATM
การออกแบบ ATM แบ่งการทางานเป็ นเลเยอร์ ได้ 3 เลเยอร์
ประกอบด้ วย
Application Adaptation Layer (AAL)
 ATM Layer
 Physical Layer

Application Adaptation Layer
(AAL)
ATM Layer
Physical
เลเยอร์ ของเครือข่ าย ATM
Application Adaptation Layer (AAL) ส่วนสร้ างความสัมพันธ์กบั เครื อข่าย
เดิมที่มีอยู่ เพื่อเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารข้ อมูลกับเครื อข่าย ATM เช่น
รูปแบบแพ็กเกจ จัดการประเภทของข้ อมูลที่ต้องการวิ่งผ่านเครื อข่าย ATM
 ATM Layer ดาเนินการเรื่ องการกาหนดเส้ นทาง การจัดการแพ็กเกจ และ
อุปกรณ์ตา่ งๆ ในเครื อข่าย
 Physical Layer กาหนดลักษณะที่เกี่ยวข้ องในทางกายภาพ เช่น สื่อ
รูปแบบการเชื่อมต่อ

คาถาม