รศ. ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล

Download Report

Transcript รศ. ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล

รศ. ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกลู
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ นักศึกษาทราบหลักการเบื้องต้ นในการ
ผลิตสุ กร
2. เพื่อให้ นักศึกษาใช้ เป็ นพืน้ ฐานในการศึกษา
วิชาการผลิตสุ กรสาหรับนักศึกษาสาขาสั ตวศาสตร์
พ่อแม่ พนั ธุ์ ประมาณ 5-6 ล้านตัว
กาลังผลิต ปี ละ 10 ล้านตัว
ผลิตเนื้อได้ ปีละประมาณ 3 แสนตัน
ใช้ ในประเทศเป็ นส่ วนใหญ่
สุกรพืน้ เมือง
สุกรต่ างประเทศ
ลักษณะทั่วไป
 ตัวเล็ก สีดา เป็ นสัดเร็ว
ให้ ลูกน้ อย เจริญเติบโตช้ า
พันธุ ์
ราด, พวง, ควาย (ตาขาว)
สุ กรพืน้ เมืองของไทย
 นำเข้ำพันธุ ์แท้
 ไม่มก
ี ำรผสมข้ำมกับพันธุ ์
พืน้ เมือง





ลำร ์จไวท ์
แลนเรซ
ดู รอค
เพียร ์เทรน
แฮมเชียรย ์
?
พันธ์ ุลาร์ จไวท์ (Large white)






ต้ นกาเนิด พันธุ์ยอร์ คเซีย (Yorkshire) ประเทศอังกฤษ
ลาตัวสี ขาว อาจมีจุดดาบริเวณลาตัวบ้ าง
เพศผู้หนักประมาณ 200-300 กก.
เพศเมียหนักประมาณ 150-200 กก.
หูต้งั (Erect ears)
ให้ ลูกดก (ประมาณ 10-12 ตัว/ครอก), เลีย้ งลูกเก่ ง
มีจานวนลูกหย่ านมสู ง
(Large white)
พันธ์ ุแลนเรซ (Landrace)
ปรับปรุงระหว่ าง ลาร์ จไวท์ และพันธุ์พืน้ เมือง
ของเดนมาร์ ค
 แพร่หลำย ในประเทศ อเมริกำ,
อังกฤษ,
เนเธอร์ แลนด์ และอื่นๆ ในยุโรป
ลาตัวยาว (ซี่โครง 16-17 คู่)
ใบหูปรก ( lop ears)
Landrace
พันธ์ ุดูรอคเจอร์ ซี่ (Doroc jersey)
• อเมริกา
• โครงสร ้ำงใหญ่
• หลังโค้ งงอเป็ นรูปธนู ทนโรค
• ขนผิวหนังสี แดง, ดา
• คุณภำพซำกดี
• หู เอียงไปข้ำงหน้ำ (Tipping forward
ears)
?
Duroc
พันธุุุ์เพียร์ เทรน
(Pietrain)
•เบลเยี
ย่ ม
•ลาตัวสี ขาว
•มีจุดสี ดาเป็ นวง กระจายทัว่ ลาตัว
•มียนี ด้ อย เกิด Porcine Stress
Syndrome (PSS)
พันธุุุ์เพียร์ เทรน (Pietrain)
Pietrain
 แฮมเชียร์ (Hamshire)
Hamshire
• อเมริกา
• ลำตัวสีดำ บ่ำมีคำดแถบ
สุกรสาว (gilt)
เป็ นสั ดครั้งแรกอายุ 6-7เดือน
นา้ หนักประมาณ 70-80 กก.
อัตราการผสมติด 70-75 %
(สุ กรสาวมีโอกาสตั้งท้ อง 70-75%)
วงรอบการเป็ นสั ด ทุก 21วัน
ตั้งท้ องระยะเวลา 114 วัน
ขนาดลูกต่ อครอก 10-12 ตัว
ลูกหย่ านมอายุ 3-5 อาทิตย์
?
นา้ หนักลูกสุกรหย่ านม
3 อาทิตย์ ประมาณ 5-5.5 กก. (พยายาม
ปฏิบัต)ิ
4 อาทิตย์ ประมาณ 6-7.0 กก.(นิยมปฏิบัต)ิ
5 อาทิตย์ ประมาณ 7.5-8.5 กก.
7 อาทิตย์ ประมาณ 12.0 กก. (พบในอดีต)
1 อาทิตย์ น้าหนักเป็ น 2 เท่ าของน้าหนักแรก
เกิด
สมรรถนะของสุ กรในช่ วงอายุต่างๆ
(NRC, 1985)
ADG (โต/วัน) FI (กิน/วัน) FCR (โต/อาหาร)
กรั ม กรั ม
ไม่ มีหน่ วย
สุ กรเล็ก (1-5 กก.) 200 250 (นม)
1.2
สุ กรเล็ก (5-10กก.) 250 460
1.8
สุ กรเล็ก (10-20 กก.) 450
950
2.1
สุ กรรุ่น (20-50 กก.)
700 1900
นา้ หนักส่ งตลาด
ไทย 90-100 กก. อายุ150
วัน
ยุโรป 70-90 กก.
ความหนาไขมันหลัง
ไทย(วัดที่ 3 จุด)ไม่ เกิน 15-25 ?
ความหนาไขมันสั นหลัง
3
2
1
การผลิตสุกรลูกผสม
2
สาย
ลาร์ จไวท์ * แลนเรซ หรื อสลับกัน
ใช้ เป็ นแม่ พนั ธุ์ สองสาย ให้ ลูกดกเลีย้ งลูกเก่ง (Heterosis)

3 สาย (ไทย)
ลูกผสม 2 สาย ผสม กับพ่อ ดูรอค
ลูกนิยมเป็ นสุ กรขุน คุณภาพซากดี
 4 สาย
ลาร์ จไวท์ *แลนเรซ--------------ดูรอค*เพียร์ เท
รน
ลูกผสมทั้งสองนามาผสมกัน
?
การคัดเลือกสุกร
Physical Bases of Selection
A. Anatomical Characteristics
 เต้ำนมมำกกว่ำ 12 เต้ า
มีระเบียบ 6/6, 7/7 (ซ้ าย/
ขวา)
 พ่อพันธุ ์มี testicle (เม็ดอัณฑะ)
 ใหญ่และเท่ำกัน
 ไม่ พกิ ารทางพันธุกรรม
ทองแดง
ไส้ เลื่อน
?
A. Anatomical Characteristics
 มีลาตัวยาว
 ขาหลังแข็งแรง ได้ รูป
 กีบไม่แบะ ข้อเท้ำ
กีบตั้งตรง
 สะโพกใหญ่
้
 มองบันท้ำยเป็ น รู ป
A. Anatomical Characteristics
 ตรงตำมลักษณะพันธุ ์
ดูรอคเช่ น หลังโค้ ง
 ลำร ์จไวท ์ เช่น หลัง
ตรง
 แลนเรซ เข่ น ตัวยาว
B. Production Characteristics
ขนาดครอก (ประมาณ 10-12
ตัว)
แปรผันผกผันกับ นน.แรกเกิด (1.21.5กก.)
มีความสามารถในการเป็ นแม่ ดี
?
อัตราการเจริญเติบโตดี
C. Carcass Characteristics
ความหนาไขมันหลัง แปรผัน
ผกผันกับ พืน้ ที่หน้ าตัดเนื้อสั น
ความยาวซาก
ส่ วนไหล่ , ตะโพก หนา
พืน้ ที่หน้ าตัดเนื้อสั น > 6 ตร.
นิว้ )
การจัดการทัว่ ไปในการเลีย้ งสุกร
โรงเรื อน
1. โรงเรื อน แบบ เปิ ด
ก่อสร้ างง่ าย, ราคาไม่ แพง, ขึน้ อยู่กบั สภาพแวดล้อม,
ค่ าดูแลรักษาต่า
2. โรงเรื อน แบบ ปิ ด
ใช้ เทคนิคในการก่อสร้ าง ราคาลงทุนครั้งแรกสู ง
ควบคุมสภาพแวดล้อมได้ , ค่ าดูแลรักษาสู ง
1. โรงเรื อนแบบเปิ ด
หลังคา โรงเรื อน
เพิงหมาแหงน
จั่วชั้นเดียว
จั่วสองชั้น
?
เพิงมุงแฝก
จั่วชั้นเดียวมุงกระเบื้อง
จั่วชั้นเดียวมุงแฝก
จั่วสองชั้นมุงสั งกะสี
พืน้ ดิน
พืน้ ปูนทึบ Slope 4%
พืน้ สะแลต (slotted floor)
-พืน้ เป็ นช่ องให้ ของเสี ยผ่ านลงสู่ ด้านล่ างได้
-คอกสะอาด
-ทาด้ วย ปูน, พลาสติก หรื อตาข่ ายเหล็ก
พืน้ กึง่ สะแลต
ด้ านหน้ าปูนทึบ ด้ านท้ ายเป็ นสะแลต
?
พืน้ ดิน
พืน้ ปูนทึบ
Slope 4%
พืน้ สะแลต
ร่ องระบายของเสี ยใต้ พืน้ สะแลต
พืน้ กึง่ สะแลต
2. โรงเรื อนแบบ ปิ ด
Evaporation system
ควบคุมอุณหภู มด
ิ ว้ ย ระบบ
ไอน้าและพัดลม
มีค่าใช้ จ่ายทั้งค่ าก่ อสร้ างโรงเรื อน และค่ า
ดาเนินการ
แต่ สุกรอยู่ในสบาย ไม่ ต้อง ปรับตัวมาก
คอกแม่ พนั ธ์ ุ
กรงตับ คอกยืนเดีย่ วกลับตัวไม่ ได้
ขนาด 60*200 ซม.
กรงเดีย่ ว คอกขังเดีย่ ว เดินไปมาได้
ขนาด 1.5*1.5 ตร.ม.
กรงรวมแม่ พนั ธุ์ คอกขังรวม
แม่ พนั ธุ์หลังหย่ านมรอผสม 4-6 ตัว
ขนาด 6-7 ตร.ม.
?
กรงตับ
กรงรวม
กรงเดี่ยว
 คอกพ่อ
พันธ์ ุ
 ขนำด 6-7 ตร.ม.
้ บหรือสะแลต
 พืนทึ
 คอกคลอด
•ขนาด 2.0*2. 25 ตร.ม.
•พืน้ ที่ตรงกลางคล้ายกรงตับ
กรงพ่อพันธุ์
คอกคลอด
คอกคลอด
•กรงขนาดเล็ก จุ ลูกสุ กรหย่ านม 10-20 ตัว
•ขนาด 1.5*1.5 ตร.ม.
นา้ หนัก (กก.) พืน้ ทึบ (ตร.ม./ตัว)
10-20
20-50
50-100
0.6-0.8
0.8-1.0
1.2-1.5
พืน้ สะแลต(ตร.ม./ตัว)
0.27
0.54
0.81
?
สุ กรรุ่น
สุ กรขุน
สุกรสาว
•เริ่มผสมเมื่อเป็ นสั ดครั้งที่ 2
•ก่ อนผสม 10 วันควรเพิม่ อาหารเป็ น 2
เท่ า (Flushing) จาก 2 กก. เป็ น 4 กก.
-เพิม่ อัตราการตกไข่
?
ผสมเมื่ออายุได้ อย่ างน้ อย 8 เดือน
อาทิตย์ หนึ่งผสมได้ 5-6 ครั้ง
 ให้อำหำร วันละ 1.5-2.0
กก. ตามสภาพ
ตรวจการเป็ นสั ดทุก 21 วัน
อาการเป็ นสั ด
•อวัยวะเพศบวมแดง
•มีนา้ เมือกไหลเยิม้
•ยืนนิ่งเมื่อมีพ่อพันธุ์มาใกล้
•กดหลังแล้วยืนนิ่ง
(standing heat reflex)
?
ตรวจสั ด
Standing Heat Reflex
 ผสมสุ กรโดยการนาตัวเมียไปหาตัวผู้
 สุกรนำงผสมหลังตรวจพบ 8-
12 ชม.
-ตกไข่ เต็มที่ และระยะเป็ นสั ดยาว
่
 สุกรสำวผสมทันทีเมือตรวจ
พบ
-ระยะการเป็ นสั ดสั้ น
แม่ สุกรเมื่อผสมแล้ วควรแยกขังเดีย่ ว
 ตรวจกำรกลับสัดทุก 21
วัน
ให้ อาหารวันละ 2 กก.
เพิม่ อาหารเป็ น 2.5-3.0 กก.เมื่อตั้ง
ท้ องได้ 84 วัน
ย้ ายเข้ าห้ องคลอด เมื่อตั้งท้ อง ไม่
เกิน 107 วัน
อาบนา้ แม่ ก่อนเข้ าห้ องคลอด
ถ่ ายยา ด้ วย MgSO4 1 ช้ อน
ชา/อาหาร 1 กก.
ถ่ ายพยาธิ
 ติดไฟกก
วันคลอดบีบนมจะมีนา้ นมไหลพุ่ง
แม่ สุกรกระวนกระวาย
ไม่ กนิ อาหาร
ควรปูฟางเพื่อลดความเครียด
เมื่อถุงนา้ คร่าแตกลูกสุ กรออกเอง
ลูกสุ กรออกห่ างกันเฉลีย่ 45 นาที
ลูบเต้ านมกระตุ้น
ฮอร์ โมนเร่ งคลอด ออกซี่โตซิน 20 IU
(2 ซีซี) เข้ ากล้ าม ออกฤทธิ์ภายใน 30 นาที
-ควรฉีดเมื่อลูกตัวแรกออกมาแล้ ว
(ปากมดลูกเปิ ดแล้ ว)
ไม่ ควรฉีดติดต่ อกันเกิน 2 เข็ม
-ล้ วง ถ้ าฮอร์ โมนไม่ ได้ ผล (ลูกตัวใหญ่ , ขวาง)
?
การล้ วง
การช่ วยกระตุ้นการหายใจ (ถ้ าหายใจแผ่ ว)
บีบปั้มบริเวณทรวงอก
ล้ วงเมือกออกจากปาก
เช็ดตัวให้ แห้ ง
ผูกสายสะดือ (บางฟาร์ มไม่ ทา)
พ่นหรื อทาทิงเจอร์ ไอโอดีนที่สะดือ
เช็ดตัว
ทาทิงเจอร์
้ 4 คู่ (ป้องกันการกัดเต้ านม)
 ตัดเขียว
 ตัดหำง 1/2 ของหาง (ลดการกัดหาง)
 ตัดเบอร ์หู หรือสักหรือติด
เบอร์
 ให้ลูกสุกรกินนมน้ ำเหลือง
?
ตัดเขีย้ ว 4 คู่
ตัดหาง
ตัดหู
อายุ 3 วัน ฉีดธาตุเหล็กเข้ ากล้ าม (2 ซีซี)
อายุ 7 วัน ให้ อาหารเลียราง (creep feed)
โปรตีน 24 %
อายุไม่ เกิน 2-3 อาทิตย์ ตอนลูกสุ กร
เพศผู้ทจี่ ะขุนขายเป็ นสุ กรเนื้อ
แม่ สุกรเลีย้ งลูก 21-28 วัน
่
 ให้อำหำรเริมจำกวั
นละ 1 กก.
เพิม่ ขึน้ วันละ 1 กก. จนปริมาณสู งสุ ด
 ปริมาณสู งสุ ด
= อาหารแม่ สุกร(2กก.)+จานวนลูก *(0.3
กก.)
เช่ น ปริมาณสู งสุ ดของแม่ ให้ ลูก 10 ตัว
= 2 + (10 *0.3)= 5.0 กก.
?
 วันหย่ำนมงดให้อำหำร
แม่ สุกร
 ย้ำยแม่สุกรหย่ำนมไป
เลีย้ งรวม
เพื่อรอผสม (4-6 ตัว)
?
แม่ สุกรควรกลับสั ด
 ย้ำยลู กไปกรงอนุ บำล
้
 หรือเลียงต่
อในคอกคลอดอีก
1 อาทิตย์
คัดลูกสุ กรเข้ ากรงอนุบาลตามขนาด
(แต่ ไม่ ควรผสมกันมากกว่ า 3 ครอก)
 ให้ อาหารทีละน้ อยแต่ บ่อยครั้ง (กินเต็มที)่ ?
 ให้กน
ิ อำหำรเต็มที่
อาหารมีโปรตีน(%)ลดลงเมื่ออายุเพิม่ ขึน้
10-20 กก.
50-100 กก. NRC
16%
ARC
20-50 กก.
18%
13-14%
18%
16%
15-
1. อหิวาต์ สุกร
5.ลูกสุ กรขีข้ าว
2. ปากเท้ าเปื่ อย
ในสุ กร
6. แท้ งลูกกรอก
3. ปอดอักเสบติดต่ อ
7. แท้ งติดต่ อ
4. จมูกบิด
8. พิษสุ นัขบ้ า
เชื้อ ไวรัส ระบาด รุนแรง ตายสูง
อาการ ไข้สูง, ตาแดง, อาเจียน ผื่นสี
ม่ วงขึน้ ตามตัว
การรักษา ไม่ มี
การป้ องกัน วัคซีน
เชื้อ ไวรัส (7 สายพันธุ์)
เอ,
โอ,
เอเชี
ย
1,
ซี
,
SAT1,
SAT2
และ
SAT3
ระบาด รุนแรง ตายตา่
อาการ ปากและเท้ าเป็ นตุ่มใส ติดเชื้อแทรกซ้ อน,
กินอาหารไม่ ได้
การรักษา ไม่ มี (ยาฆ่ าเชื้อทาแผล)
การป้องกัน วัคซีน
เชื้อ ไมโครพลาสม่ า
ระบาด รุนแรง ตายตา่
อาการ ไอตอนเช้ าหรื อเมื่อเหนื่อย, จาม, เติบโตช้ า
การรักษา คลอเตตรำซ ัยคลินและ ออก
ซี่เตตราซัยคลิน
การป้องกัน กำรสุขำภิบำล
เชื้อ ไวร ัส
ระบาด ตา่ สู ญเสี ยในพ่อแม่ พนั ธุ์
อาการ กระดูกอ่ อนโพรงจมูก ถูกทาลาย จมูกบิด, ไอ จาม
การรักษา ไม่ มีโดยตรง, ใช้ ยาปฏิชีวนะช่ วย
การป้องกัน ไม่ นาเข้ าพ่อแม่ พนั ธุ์จากฟาร์ มที่เป็ นโรค
เชื้อ แบคทีเรีย Escherichia Coli
่ แต่พบบ่อย ตำยปำน
ระบาด ตำ
กลาง แต่ มีผลต่ อการเจริญเติบโตของลูก
อาการ อุจจาระเหลว สี เหลืองอ่ อนหรื อขาว
การรักษา นีโอมัยซิน, โคลีสตีน, ไทโรซิน
ฯลฯ (ดื้อยาง่ าย)
การป้องกัน สุ ขาภิบาล, ความอบอุ่นในคอก
?
Stillbirth mummification embryonic death and infertility
เชื้อ ไวรัส (Pavovirus)
ระบาด - จากการสั มผัส
ง่ าย
- 30 วันแรกของการตั้งท้ องติดเชื้อได้
แม่ สุกรทีไ่ ด้ รับเชื้อแล้ วจะมีภูมติ ้ านทาน
(แต่ อาจผสมติดยาก)
อาการ แม่ สุกรแท้ งลูก
- ท้ องระยะแรกลูกถูกดูดซึมกลับหมด
- ท้ องระยะหลังออกเป็ นมัมมี่
การรักษา ไม่ มี
การป้องกัน - ป้องกันโรคเข้ าฟาร์ ม
วัน
- ให้ แม่ สัมผัสเชื้อก่ อนการผสม 30
เชื้อ แบคทีเรีย Brucella suis
ระบาด ติดจากพ่ อในการผสมพันธุ์ (อยู่ในอัณฑะ)
อาการ ผสมไม่ ติด แท้ งช่ วง 16-19 วันของการตั้ง
ท้ อง
การรักษา ไม่ มี
การป้ องกัน - กักกันโรค
- แยกพ่ อพันธุ์ทสี่ งสั ยออก กาจัดถ้ าเป็ นโรค
เชื้อ ไวรัส (Herpes virus)
ระบาด ตำยมำกในสุกรเล็ก สุกรใหญ่
ป่ วยแต่ ไม่ ตาย
อาการ ยืนหลังโก่ ง หูตก ลูกสุ กร 2-3 อาทิตย์
ท้ องเสี ย, อาเจียน สั่ น แม่ สุกรแท้ งลูกได้
การรักษา ไม่ มี
แม่ พนั ธุ์
AD(d) SF
-4
+2
ลูกสุ กร
EP
1
8
EP
AD(l)
FMD
-3
-2
คลอด
PAVO
+1
+3
EP
SF
1
3
AD(l)
5
9
AD(d)
FMD
6
หมอหมู (1998)
SF2
7
พ่อพันธุ์
SF ทุก 6 เดือน
Pavo ทุก 6 เดือน (SMEDI)
FMD ทุก 4-6 เดือน
AD ทุก 4-6 เดือน
หมอหมู (1998)
ANS
คลิก
คลิก ?
แบบทดสอบ
เพื่อทราบคาตอบ
เพื่อมายังคาถามข้ อต่ อไป
1. พันธุ์สุกรต่ างประเทศทีน่ ิยมเลีย้ งในไทย ANS
2. สุ กรพันธุ์ดูรอค เจอร์ ซี่ มีลกั ษณะสาคัญเช่ นไร ANS
3. สุ กรพันธุ์มีวงรอบเป็ นสั ดและตั้งท้ องกีว่ นั ANS
4. สุ กรขุนในไทยถูกส่ งฆ่ าทีน่ า้ หนัก ประมาณ ANS
5.สุ กรสามสาย คืออะไร
ANS
6.บอกลักษณะพิการทางพันธุกรรมของสุ กรพันธุ์ ANS
7.แม่ สุกรจะให้ ลูกเป็ นครอกหรื อครั้งละประมาณกีต่ ัว
ANS
8.โรงเรื อนจั่วสองชั้นมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
ANS
9. พืน้ สะแลตคือพืน้ ที่มีลกั ษณะอย่ างไร
ANS
10. กรงตับมีลกั ษณะเป็ นอย่ างไร
ANS
11. คอกแบตเตอรี่คืออะไร
ANS
12. Flushing หรื อการปรนอาหารคืออะไร
13. Standing Heat Reflex คืออะไร
ANS
14. ฮอร์ โมนออกซี่โตซินใช้ เพื่อประโยชน์ ใด
ANS
15. จงบอกวิธีจัดการกับลูกสุ กรแรกเกิด
ANS
ANS
16. ปัจจุบันเราให้ แม่ สุกรเลีย้ งลูกประมาณกีว่ นั .
ANS
17. แม่ สุกรให้ ลูก 10 ตัวจะได้ รับอาหารสู งสุ ดกีก่ ก.
ANS
18. แม่ สุกรควรกลับมาเป็ นสั ดในกีว่ นั หลังหย่ านม
ANS
19หลักในการให้ อาหารลูกสุ กรเล็กคือ
ANS
20. หลักในการป้องกันโรคขีข้ าวในลูกสุ กรคือ ANS
ขอให้ โชคดี
2546
ผศ.ดร.วัชรพงษ์ วัฒนกูล