นาย องอาจ ฮามค าไพ งานน าเสนอของ คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม (เครื่องกล)

Download Report

Transcript นาย องอาจ ฮามค าไพ งานน าเสนอของ คณะคุรุศาสตร์อุตสาหกรรม (เครื่องกล)

งานนาเสนอของ
นาย องอาจ ฮามคาไพ
คณะคุรุศาสตร์ อุตสาหกรรม
(เครื่ องกล)
วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม
เรื่ อง
หลักการทางานของเครื่ องยนต์ สองจังหวะและสี่ จังหวะ
(Two stroke and four stroke engine)
หลักการทางานของเครื่ องยนต์ สองจังหวะ (Two stroke engine)
เครื่ องยนต์ สองจังหวะ (Two-stroke engine)
เครื่ องยนต์ ชนิด 2 จังหวะ ถูกออกแบบมาไม่ เหมือนกับเครื่ องยนต์ เบนซิน 4
จังหวะคือ เครื่ องยนต์ 4 จังหวะจะใช้ วาล์ว ไอดี และวาล์วไอเสี ย เป็ นกลไก ใน
การจ่ ายไอดี และไอเสี ยสลับกัน แต่ เครื่ อง 2 จังหวะ ถูกออกแบบให้ มชี ่ องไอดี
และไอเสี ย อยู่ทกี่ ระบอกสู บ ซึ่งช่ องนี้ จะเปิ ด หรื อปิ ดได้ อยู่ทกี่ ารเคลื่อนทีข่ อง
ตัวลูกสู บ เท่ ากับว่ าลูกสู บ ทาหน้ าทีเ่ ป็ นวาล์ วไปในตัว
จังหวะดูด และอัด
เป็ นจังหวะทีล่ ูกสู บเคลื่อนทีจ่ ากศูนย์ ตายล่ าง ขึน้ สู่ ศูนย์ ตายบน ระหว่ างการเคลื่อน
ทีน่ ีเ้ อง ด้ านบนลูกสู บคือการอัดอากาศไอดี ในขณะเดียวกัน ช่ องไอเสี ย จะถูกปิ ดด้ วยตัว
ลูกสู บ โดยอัตโนมัติ โดยทีเ่ วลาเดียวกันนีเ้ อง ความสู งของลูกสู บก็พ้นช่ องไอดีออกไป
ทาให้ อากาศไอดี ไหลเข้ าสู่ ห้องเพลาข้ อเหวีย่ ง โดยอัตโนมัติ เช่ นกัน
จังหวะดูด
จังหวะอัด
จังหวะกาลัง และจังหวะคาย
เมื่อลูกสู บ เคลื่อนทีข่ นึ้ ไปสู่ ศูนย์ ตายบน ก็จะเกิดประกายไฟจากหัว
เทียนทาให้ เกิดระเบิดเพื่อดันลูกสู บลงไปสู่ ศูนย์ ตายล่ าง อีกครั้ง ในระหว่ าง
การเคลื่อนทีล่ งครั้งนี้ ความสู งของลูกสู บ ก็จะไปปิ ดช่ องอากาศทางเข้ าไอดี
และด้ านบนของลูกสู บก็จะพ้ นช่ อง ทางออกของไอเสี ย ทาให้ อากาศไอเสี ย
ไหลผ่ านออกไป ในขณะเดียวกันนีเ้ องทีด่ ้ านบนของลูกสู บก็จะพ้ นช่ องไหล
เข้ าของไอดี ทีม่ า จากห้ องเพลาข้ อเหวีย่ ง เข้ าไปแทนที่
จังหวะกาลัง
จังหวะคาย
ภาพแสดงการทางาน
หลักการทางานของเครื่ องยนต์ สี่จังหวะ (Four stroke engine)
การทางานของเครื่ องยนต์ 4 จังหวะ
1. จังหวะดูด (Intake Stroke)
เมื่อลูกสู บเลื่อนลงจากจุดศูนย์ ตายบนถึงจุดศูนย์ ตาย
ล่าง(TDC-BDC) ลิน้ ไอดีจะเปิ ด อากาศจะถูกดูดเข้ ามาประจุในห้ องเผาไหม้ แต่ ในขณะนี้
ลิน้ ไอเสี ยยังคงปิ ดอยู่
2. จังหวะอัด (Compression Stroke) เมื่อลูกสู บเริ่ มเลื่อนขึน
้ จากศูนย์ ตาย
ล่าง (BDC) ลิน้ ทั้งสองจะปิ ด ดังนั้นอากาศในกระบอกสู บจึงถูกอัดโดยกระบอกสู บ
แรงดันและความร้ อนของอากาศจึงสู งขึน้ อย่ างรวดเร็ว อากาศในขณะนีเ้ ป็ นอากาศที่ร้อน
แดง " Red hot Air" ถ้ าอัตราส่ วนการอัดเท่ ากับ 20:1 อากาศจะมีแรงดัน 40-45 กก./
ตารางเซนติเมตร และมีอุณหภูมิ 500-600 องศาเซลเซียส
จังหวะดูด
จังหวะอัด
3. จังหวะระเบิด (power Stroke)
เมื่อลูกสู บเลื่อนขึน้ เกือบจุดศูนย์ ตาย
บน ในปลายจังหวะอัด ละอองนา้ มันเชื้อเพลิงจะถูกฉีดเข้ าสู่ ห้องเผา
ไหม้ ทาให้ เกิดการเผาไหม้ อย่ างทันทีทันใด แรงดันจากการเผาไหม้
จะผลักดันให้ ลูกสู บเลื่อนลง อุณหภูมิจะสู งขึน้ เป็ นประมาณ 2000
องศาเซลเซียส และแรงดันสู งขึน้ เป็ น 55-80 กก./ตาราง
เซนติเมตร ในจังหวะระเบิดนีพ้ ลังงานความร้ อนจะถูกเปลีย่ นเป็ น
พลังงานกล
4. จังหวะคาย (Exhaust Stroke) ปลายจังหวะระเบิด ลิน
้ ไอเสี ย
จะเปิ ด แก๊สไอเสี ยจึงขับไล่ออกจากกระบอกสู บ ด้ วยการเลื่อนขึน้
ของลูกสู บ
จังหวะกาลัง
จังหวะคาย
ภาพแสดงการทางาน