การเก็บรวบรวมข้อมูล และ เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว สาขาเศรษฐศาสตร์ สายวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น [email protected] ข้ อมูล (Data) • หมายถึง ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็นหรื อข่าวสาร รวมทั้งสิ่ งพิมพ์ต่างๆที่ ผูว้ ิจยั สามารถนามาใช้เป็ นหลักฐานอ้างอิงในการวิจยั ซึ่งข้อมูลที่ผวู ้

Download Report

Transcript การเก็บรวบรวมข้อมูล และ เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว สาขาเศรษฐศาสตร์ สายวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น [email protected] ข้ อมูล (Data) • หมายถึง ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็นหรื อข่าวสาร รวมทั้งสิ่ งพิมพ์ต่างๆที่ ผูว้ ิจยั สามารถนามาใช้เป็ นหลักฐานอ้างอิงในการวิจยั ซึ่งข้อมูลที่ผวู ้

การเก็บรวบรวมข้อมูล
และ
เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
อาจารย์มานิตย์ ผิวขาว
สาขาเศรษฐศาสตร์ สายวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ประยุกต์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น [email protected]
1
ข้ อมูล (Data)
• หมายถึง ข้อเท็จจริ ง ข้อคิดเห็นหรื อข่าวสาร รวมทั้งสิ่ งพิมพ์ต่างๆที่
ผูว้ ิจยั สามารถนามาใช้เป็ นหลักฐานอ้างอิงในการวิจยั ซึ่งข้อมูลที่ผวู ้ ิจยั จะ
นาไปใช้เป็ นหลักฐานประกอบกี่ศึกษาค้นคว้านั้น ควรจะต้องมีความ
ถูกต้อง มีความเกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาที่ผวู ้ ิจยั ต้องการศึกษา รวมทั้ง
มีความเป็ นกลาง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในข้อมูลที่ผวุ ้ ิจยั ได้มาจากการสารวจ
จะต้องปราศจากอคติหรื อความลาเอียงส่ วนตัวเกี่ยวข้อง
2
ประเภทของข้ อมูล
• ข้อมูลมีดว้ ยกันหลายประเภท แล้วแต่ผวู ้ ิจยั หรื อผูใ้ ช้ขอ้ มูลจะมองในแง่
ใด เช่น ข้อมูลระดับจุลภาค (micro data) ข้อมูลมหภาค (macro data)
ข้อมูลที่เป็ นลักษณะอนุกรมเวลา (time series data) ข้อมูลแบบตัดขวาง
(cross sectional data) ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ข้อมูลทุติยภูมิ
(secondary data) ข้อมูลเชิงปริ มาณ (quantitative data) ข้อมูลเชิงคุณภาพ
(qualitative data) เป็ นต้น
3
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
4
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
• การเก็บรวบรวมข้ อมูล
1) ข้ อมูลปฐมภูมิ
หมายถึง ข้อมูลที่ผวู ้ ิจยั เก็บรวบรวมขึ้นเป็ นครั้งแรกจากผูใ้ ห้ขอ้ มูล
โดยตรง และนามาใช้กบั งานวิจยั นั้นๆโดยเฉพาะ ข้อมูลประเภทนี้โดย
ส่ วนใหญ่มกั มาจากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง
เป็ นต้น
2) ข้ อมูลทุติยภูมิ
หมายถึง ข้อมูลที่มีผเู ้ ก็บรวบรวม หรื อเรี ยบเรี ยงเอาไว้เรี ยบร้อยแล้ว
ได้แก่ ข้อมูลที่มีอยูใ่ นเอกสาร สิ่ งพิมพ์ต่างๆ เช่น GDP, X, M, … ข้อมูล
เหล่านี้ถูกจัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ของหน่วยงานที่ตีพิมพ์น้ นั ๆ
5
• ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทใดก็แล้วแต่ ผูว้ ิจยั จะต้องตระหนักว่า
ข้ อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมานั้นต้ องมีคุณสมบัติดงั นี้
1) สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด สมมติฐาน เครื่ องมือที่
ใช้ในการวัดหรื อวิธีการที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
2) มีความถูกต้ อง (accuracy)
3) มีความน่ าเชื่อถือ (reliability)
6
• ก่อนลงมือเก็บรวบรวมข้ อมูล ผูว้ ิจยั จะต้อง
1) ทบทวนวัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา และสมมติฐานของงานวิจัยว่า
งานวิจยั ดังกล่าวมีตวั แปรอะไรบ้าง ข้อมูลที่จะใช้เป็ นข้อมูลประเภทใด มี
มาตราวัดในระดับใด แหล่งข้อมูลอยูท่ ี่ไหน จะหามาได้อย่างไร
2) ในกรณีทเี่ ป็ นข้ อมูลปฐมภูมิจะหามาได้ โดยวิธีใด เช่น การใช้
แบบสอบถาม ใช้แบบทดสอบ การสัมภาษณ์ การสังเกต หรื อการทดลอง
ประชากรเป้ าหมายมีมากน้อยเพียงใด กรอบการเลือกตัวอย่างเป็ นอย่างไร
จะเลือกตัวอย่างอย่างไรและจานวนเท่าใด และจะวางแผนการเก็บรวบรวม
ข้อมูลอย่างไร เป็ นต้น
3) ในกรณีทเี่ ป็ นข้ อมูลทุติยภูมิกต็ ้ องทราบว่าแหล่งข้ อมูลสาหรับตัว
แปรนั้นๆอยูท่ ี่ไหน มีกี่แห่ง สมควรจะได้แห่งใดก่อน-หลัง และแหล่งใด
เป็ นแหล่งโดยตรงของข้อมูลนั้น แหล่งใดเป็ นแหล่งที่นาข้อมูลจาก
7
หน่วยงานอื่นมาเผยแพร่ และในการเผยแพร่ น้ นั มีการปรับตัวเลขอย่างไร
เช่น หากต้องการข้อมูลการค้าระหว่างประเทศ คือข้อมูลการนาเข้าและ
ส่ งออกของสิ นค้าที่ศึกษา แหล่งข้อมูลโดยตรงคือกรมศุลกากร ซึ่งมีสถิติ
รายปี พิมพ์ประจาทุกปี
4) ในกรณีทตี่ ัวแปรหนึ่งๆสามารถใช้ ข้อมูลทีแ่ สดงถึงตัวแปรนั้นได้
มากกว่ า 1 ตัว ผู้วจิ ัยต้ องพิจารณาว่ าควรใช้ ข้อมูลใดจึงจะดีทสี่ ุ ด ทั้งในแง่
ของความถูกต้อง ความสะดวก หรื อความสมบูรณ์ของข้อมูล และต้อง
ทราบความแตกต่างระหว่างการใช้ขอ้ มูลตัวที่เลือกกับข้อมูลอื่นๆที่ไม่ได้
เลือก เช่น ข้อมูลซึ่งแสดงถึงมูลค่าของผลผลิตในสมการฟังก์ชนั การผลิตจะ
ใช้มูลค่าการผลิตโดยตรง (มูลค่าการผลิต ณ ราคาโรงงาน) ซึ่งผูผ้ ลิตแจ้ง
หรื อใช้ตวั เลขมูลค่าเพิ่ม หรื อตัวเลขยอดขาย เป็ นต้น ซึ่งหากผูว้ ิจยั ใช้ตวั ใด
ตัวหนึ่งใน 3 ตัวนี้ ผูว้ ิจยั ต้องทราบความแตกต่างระหว่างตัวที่ถูกเลือกกับ 2
ตัวที่ไม่เลือก
8
รูปแบบการเก็บข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม
• 1. การนาแบบสอบถามไปส่ งให้ ผู้ตอบด้ วยตนเอง โดยผูว้ ิจยั หรื อพนักงาน
เก็บข้อมูลนาแบบสอบถามไปส่ งให้กบั กลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง และรอรับ
หรื อนัดวันรับแบบสอบถามกลับมา
• 2. การส่ งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ ผูว้ ิจยั ควรให้หมายเลขประจา
แบบสอบถาม (Identifications Number) ของแบบสอบถามทุกชุดไว้ และ
บันทึกไว้วา่ แบบสอบถามหมายเลขนั้นส่ งไปให้ใครเพื่อความสะดวกในการ
ติดตามแบบสอบถามนั้นกลับคืนมา การส่ งแบบสอบถามไปให้หน่วย
ตัวอย่างกรองเองนั้น จะต้องจ่าหน้าซองอย่างละเอียดและถูกต้อง ชัดเจน ถึง
ผูร้ ับ และแนบซองเขียนชื่อที่อยูข่ องผูว้ ิจยั พร้อมติดแสตมป์ ให้เรี ยบร้อย
เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผตู ้ อบในการส่ งแบบสอบถามกลับคืนมา
9
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
10
ลักษณะทีเ่ ป็ นคุณสมบัตขิ องเครื่องมือวัดทีด่ ี
• 1. มีความเทีย่ งตรง (Validity)
คือเป็ นเครื่ องมือที่สามารถวัดในสิ่ งที่ตอ้ งการจะวัดหรื อสามารถวัดได้
ตรงตามจุดประสงค์ของการวัด โดยความเที่ยงตรงในการวัดแบ่งออกได้
หลายอย่างขึ้นอยูก่ บั จุดประสงค์ของการวัด คือ ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา,
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง และความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์
• 2. มีความเชื่อถือได้ (Reliability)
ความเชื่อถือได้ของเครื่ องมือวัดนั้น หมายถึง เป็ นเครื่ องมือวัดที่
สามารถวัดได้คงที่แน่นอนไม่เปลี่ยนแปลงไปมา ไม่วา่ จะวัดกี่ครั้งก็จะได้
ข้อมูลที่ตรงกันเสมอ
11
• 3. มีอานาจจาแนก (Discrimination)
เครื่ องมือที่ดีจะต้องมีอานาจจาแนกสูง ซึ่งหมายถึง สามารถแยกหรื อ
แบ่งกลุ่มผูต้ อบออกเป็ นระดับต่างๆ ได้ถูกต้องตามสภาพความเป็ นจริ งของ
สิ่ งที่ถูกวัด
• 4. มีประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
เครื่ องมือวัดที่ดีจะต้องมีประสิ ทธิภาพ นัน่ คือ จะต้องเป็ นเครื่ องมือที่
วัดได้เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ นอกจากนั้นจะต้องเป็ นเครื่ องมือที่สามารถ
อานวยประโยชน์ได้อย่างคุม้ ค่า โดยที่เสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายในการวัดน้อย
12
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
• เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1) แบบทดสอบ (Test)
2) แบบสอบถามมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating scale)
3) แบบสัมภาษณ์ (Overview form)
4) แบบสังเกต (Observation form)
13
แบบทดสอบ (Test)
14
แบบทดสอบ (Test)
• เป็ นเครื่องมือทีใ่ ช้ วดั ความรู้ ความจา วัดความสามารถทางสมอง
• แบบทดสอบ แบ่ งออกเป็ น 3 ลักษณะ
1) แบบทดสอบความเรี ยง (Essay test)
2) แบบทดสอบแบบตอบสั้น (Shot answer test)
3) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice item)
และอื่นๆ เช่น
4) แบบทดสอบแบบถูก-ผิด (True-False)
15
แบบทดสอบ (Test)
• แบบทดสอบความเรี ยง (Essay test)
– ผูต้ อบแบบสอบถามสามารถตอบแบบสอบถามอย่างอิสระหรื อมีเสรี ภาพในการ
ตอบคาถามจากการตีความของโจทย์ที่ผวู ้ ิจยั ตั้งขึ้นมา การตอบขึ้นอยูก่ บั
ความสามารถในเนื้อหาและความเข้าใจโจทย์ของผูต้ อบ
– ตัวอย่าง ปั ญหาการพัฒนาการเมืองการปกครองของไทยมีอะไรบ้าง อย่างไร
............................................................................................................................
• แบบทดสอบแบบตอบสั้น (Shot answer test)
– เป็ นแบบสอบถามที่ผถู ้ ามต้องการคาตอบในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ งอย่างชัดเจนจาก
ผูต้ อบ ว่ามีความเข้าใจมากน้อยแค่ไหน
– ตัวอย่าง นายกรัฐมนตรี คนปั จจุบนั ของไทยคือ...........พลเอกสุ รยุทธ์ จุลานนท์
..............
16
แบบทดสอบ (Test)
• แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple choice item)
– แบบสอบถามจะมีคาถามและคาตอบ โดยคาตอบจะมีคาตอบหลายคาตามให้
เลือก ปกติจะมี 3-5 ตัวเลือก โดยคาตอบในตัวเลือกนั้นจะมีขอ้ ถูกเพียงข้อเดียว
ส่ วนตัวเลือกอื่นจะเป็ นตัวลวง
• 4) แบบทดสอบแบบถูก-ผิด (True-False)
– แบบทดสอบแบบถูก-ผิด (True-False) หรื อ มี/ไม่มี ซึ่ งจะใช้กบั ผูใ้ ห้ขอ้ มูลที่มี
ความรู้นอ้ ย
17
แบบสอบถามมาตราส่ วนประมาณค่ า (Rating scale)
18
แบบสอบถามมาตราส่ วนประมาณค่ า (Rating scale)
• เป็ นเครื่องมือที่ใช้ วดั สิ่ งทีเ่ ป็ นนามธรรมด้ วยการแปลงเป็ นเชิงปริมาณ
นิยมใช้ วดั พฤติกรรมที่ไม่ สามารถวัดออกมาเป็ นตัวเลขได้ โดยตรง เช่ น
ระดับความต้ องการ ระดับปัญหา ระดับการปฏิบัติ ความเหมาะสม
ความสะอาด เป็ นต้ น
• การสร้ างแบบประมาณค่ าสามารถสร้ างได้ 3 วิธี
1. ใช้ วธิ ีของ Likert (Likert scale)
2. ใช้ วธิ ีของ Thurstone (Thurstone scale)
3. ใช้ วธิ ีของ Osgood (Osgood scale)
19
แบบสอบถามมาตราส่ วนประมาณค่ า (Rating scale)
• เป็ นเครื่องมือที่ใช้ วดั สิ่ งทีเ่ ป็ นนามธรรมด้ วยการแปลงเป็ นเชิงปริมาณ
นิยมใช้ วดั พฤติกรรมที่ไม่ สามารถวัดออกมาเป็ นตัวเลขได้ โดยตรง เช่ น
ระดับความต้ องการ ระดับปัญหา ระดับการปฏิบัติ ความเหมาะสม
ความสะอาด เป็ นต้ น
• การสร้ างแบบประมาณค่ าสามารถสร้ างได้ 3 วิธี
1. ใช้ วธิ ีของ Likert (Likert scale)
2. ใช้ วธิ ีของ Thurstone (Thurstone scale)
3. ใช้ วธิ ีของ Osgood (Osgood scale)
20
21
แบบสอบถาม ( Questionnaire)
22
แบบสอบถาม ( Questionnaire)
• การแบบสอบถาม ( Questionnaire)
เป็ นเครื่ องมือที่สร้างขึ้นเพื่อให้ผตู ้ อบเลือกเติมหรื อเลือกคาตอบเอง
แบบสอบถามส่ วนใหญ่จะประกอบด้วยข้อคาถามที่มุ่งหาคาตอบเฉพาะใน
เรื่ องที่จะศึกษา โดยมากไม่มีคาตอบที่ถูกหรื อผิด ข้อดีคือเสี ยเวลาน้อยกว่า
วิธีอื่น แบบสอบถามนั้นสร้างขึ้นได้ง่ายแต่การที่จะสร้างแบบสอบถามที่ดี
นั้นทาได้ไม่ง่ายนัก กลุ่มตัวอย่างมีความอิสระในการตอบได้ตามใจของ
ตน ข้อมูลในแบบสอบถามจะเชื่อถือได้หรื อไม่ข้ ึนอยูก่ บั ผูต้ อบ
แบบสอบถาม สามารถแปรผลข้อมูลได้ง่าย แต่ลาบากในการติดตาม
แบบสอบถามคืน
23
• แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีหนึ่ง การ
สร้างแบบสอบถามควรพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการสารวจเป็ น
สาคัญ สร้างแบบสอบถามให้มีคาถามครอบคลุมในเนื้อหา และสามารถ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้ตามความต้องการ และตรงตามวัตถุประสงค์ที่วาง
ไว้และควรมีการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามก่อนการเก็บ
รวบรวมข้อมูล
24
หลักเกณฑ์ การเขียนคาถามในแบบสอบถาม
•
•
•
•
•
กาหนดจุดประสงค์หรื อกรอบการวิจยั (Conceptual Framework)ได้
ชัดเจน โดยต้องค้นคว้าวรรณกรรมและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องอย่างดี
ครบถ้วน สังเคราะห์ขอ้ มูลจนได้กรอบการวิจยั ที่ชดั เจน
พิจารณาว่าจุดประสงค์หรื อกรอบการวิจยั ต้องการวัดอะไร แจกแจง
จุดประสงค์ และรายละเอียดของกรอบการวิจยั ให้เป็ นประเด็นใหญ่
และประเด็นย่อย
สร้างข้อคาถามให้ครอบคลุมทุกจุดประสงค์ที่ต้ งั ไว้
ภาษาที่ใช้ในแบบสอบถามต้องมีความง่าย ชัดเจน ไม่กากวม
ทบทวนตรวจสอบข้อคาถามที่สร้างขึ้นว่าครอบคลุมหรื อยัง มีการ
จัดลาดับ มีความต่อเนื่องกันหรื อไม่
25
การสร้ างแบบสอบถาม
1. แบบสอบถามประเภทปลายปิ ด เป็ นการกาหนดให้ตอบหรื อเลือกคาตอบ
จากคาถามที่กาหนดให้ อาจจะใช้มาตรวัด ที่เป็ นแบบมาตราส่ วน
ประมาณค่า (Rating Scale) เช่น
1. ท่านมีประสบการณ์ในการทางานในมหาวิทยาลัยรังสิ ต
( ) ต่ากว่า 1 ปี
( ) 1 - 4 ปี
( ) 5 - 8 ปี
( ) 9 ปี ขึ้นไป
26
2. แบบสอบถามแบบปลายเปิ ด เป็ นแบบสอบถามที่ไม่มีการจากัดคาตอบ
เพื่อค้นหาความจริ ง เช่น ท่านต้องการให้หอ้ งสมุด มหาวิทยาลัยรังสิ ต
ปรับปรุ งบริ การในเรื่ องอะไร?
1…………………………………………………
2…………………………………………………
ลักษณะของแบบสอบถามส่ วนใหญ่แบบสอบถามจะแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน
ได้แก่
1. ข้อมูลที่เป็ นรายละเอียดส่ วนตัวของผูต้ อบแบบสอบถาม
2. ข้อมูลที่เป็ นความคิดเห็น
27
3. แบบตรวจสอบ ( Checklists)
เครื่ องมือที่เป็ นแบบตรวจสอบนี้ เป็ นการถามเรื่ องราวต่างๆ ให้ผตู ้ อบ
กาเครื่ องหมายเพื่อแสดงว่า มี / ไม่มี เห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย ชอบ/
ไม่ชอบ เช่น
1.ท่านเคยเรี ยนคอมพิวเตอร์มาก่อนหรื อไม่ ( ) เคย ( ) ไม่เคย
2.ท่านมีเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่บา้ นหรื อไม่ ( ) มี ( ) ไม่มี
28
4. แบบสารวจ (Inventory) เป็ นเครื่ องมือในลักษณะให้ผตู ้ อบกา
เครื่ องหมาย เช่นเดียวกับแบบตรวจสอบ แต่ต่างกันตรงทีแ่ บบ
สารวจมักจะถามเพียงเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งโดยเฉพาะ ในแต่ละเรื่ อง
จะถามหลายข้อ เพื่อให้ครอบคลุมเรื่ องที่ตอ้ งการจะถาม และตัว
คาถามมักจะยกเป็ นเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ข้ ึนมา เพือ่ ให้
ผูต้ อบนึกว่าถ้าอยูใ่ นสถานการณ์น้ นั ๆ แล้วจะรู ้สึกอย่างไร
นอกจากนี้มกั เป็ นคาถามที่เกี่ยวข้องกับความสนใจ เจตคติ หรื อ
พฤติกรรม และคุณธรรมด้านต่างๆเป็ นต้น
29
5. แบบทดสอบ (Test)
เป็ นเครื่ องมือที่ใช้เพื่อการวัดความรู ้ ทักษะ ความรู ้สึก สติปัญญา ความ
ถนัดของบุคคลหรื อกลุ่มบุคคล แบบทดสอบเป็ นชุดของข้อคาถามที่
สร้างขึ้นอย่างมีระบบเพื่อการวัดพฤติกรรมของคน อาจจะวัด
ความสามารถทางด้านสมอง ทางความรู ้สึก และทางด้านสมรรถนะ
ทางร่ างกาย แบบทดสอบที่ใช้กนั อยูอ่ าจจะเป็ นแบบทดสอบทีผ่ วู ้ ิจยั
สร้างขึ้นเองด้วยการสร้างอย่างเป็ นระบบตามหลักวิชา หรื อใช้
แบบทดสอบที่เป็ นมาตรฐานก็ได้
30
หมายเหตุ การสร้ างแบบสอบถาม
การวิจยั เชิงสารวจส่ วนใหญ่ทาการวิจยั เพื่อตอบคาถามตามวัตถุประสงค์
หรื อเพื่อพิสูจน์ทฤษฎี ดังนั้นจึงต้องมีวตั ถุประสงค์ของการวิจยั หรื อ
กรอบทฤษฎีเป็ นตัวตั้ง
31
ขั้นตอนการสร้ างแบบสอบถาม
•
•
•
•
•
•
•
•
•
1. ศึกษาคุณลักษณะที่จะวัด
2. กาหนดชนิดของแบบสอบถาม
3. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถาม
4. แบ่งคุณสมบัติที่ตอ้ งการจะวัดออกเป็ นด้านต่างๆ
5. เขียนคาชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม
6. การปรับปรุ งแบบสอบถาม
7. นาแบบสอบถามไปทดลองใช้เพื่อวิเคราะห์คุณภาพ
8. ปรับปรุ งแบบสอบถามให้สมบูรณ์
9. จัดพิมพ์แบบสอบถาม
32
ขั้นตอนการสร้ างแบบสอบถาม(ต่ อ)
• 1. ศึกษาคุณลักษณะทีจ่ ะวัด ผูว้ ิจยั จะต้องศึกษาคุณลักษณะหรื อประเด็นที่
จะวัดให้เข้าใจอย่างละเอียด โดยศึกษาจากเอกสาร ตาราหรื อผลการวิจยั
ต่างๆ ที่มีลกั ษณะเดียวกันหรื อใกล้เคียงกัน ตลอดจนศึกษาลักษณะของ
แบบสอบถามเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม
• 2. กาหนดชนิดของแบบสอบถาม ผูว้ ิจยั จะต้องเลือกชนิดของแบบสอบถาม
ให้เหมาะสมกับเรื่ องที่จะวัดและกลุ่มตัวอย่าง
• 3. ศึกษาวิธีการสร้ างแบบสอบถาม ผูว้ ิจยั จะต้องศึกษาวิธีการสร้าง
แบบสอบถามเพื่อวัดคุณลักษณะที่ตอ้ งการจะวัด โดยศึกษาวิธีการสร้าง
แบบสอบถามจากตัวอย่างให้เข้าใจ และยึดวัตถุประสงค์เป็ นหลักในการ
สร้างแบบสอบถาม
33
ขั้นตอนการสร้ างแบบสอบถาม (ต่ อ)
• 4. แบ่ งคุณสมบัติทตี่ ้ องการจะวัดออกเป็ นด้ านต่ างๆ การสร้างแบบสอบถาม
ผูว้ ิจยั ควรแบ่งคุณสมบัติที่ตอ้ งการวัดออกเป็ นด้านๆ ซึ่งจะทาให้สร้างง่ายขึ้น
และครอบคลุมในแต่ละด้านอย่างทัว่ ถึง
• 5. เขียนคาชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม ส่ วนแรกของการแบบสอบถาม
คือคาชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วยความมุ่งหมายของการ
วิจยั คาอธิบายวิธีการตอบแบบสอบถามพร้อมทั้งตัวอย่าง ทั้งนี้เพื่อให้ผตู ้ อบ
แบบสอบถามทราบวัตถุประสงค์ และเข้าใจวิธีการสร้างแบบสอบถามนั้น
โดยผูว้ ิจยั ต้องเขียนให้ละเอียดและชัดเจนด้วย
• 6. การปรับปรุงแบบสอบถาม หลังจากที่สร้างแบบสอบถามเสร็ จแล้ว ผูว้ ิจยั
ควรนาแบบสอบถามนั้นมาพิจารณาใหม่ เพื่อหาข้อบกพร่ องที่ควรปรับปรุ ง
แก้ไข และควรให้ผเู ้ ชี่ยวชาญได้ตรวจแบบสอบถามนั้นด้วย เพื่อที่จะได้นา
34
ข้อเสนอแนะและข้อวิพากษ์วิจารณ์มาปรับปรุ งแก้ไขให้ดียงิ่ ขึ้น
ขั้นตอนการสร้ างแบบสอบถาม (ต่ อ)
• 7. นาแบบสอบถามไปทดลองใช้ เพือ่ วิเคราะห์ คุณภาพ เป็ นการนาเอา
แบบสอบถามที่ได้ปรับปรุ งแล้วไปทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างเล็กๆ เพื่อนาผล
มาตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม
• 8. ปรับปรุงแบบสอบถามให้ สมบูรณ์ ผูว้ ิจยั จะต้องทาการแก้ไขข้อบกพร่ องที่
ได้จากผลการวิเคราะห์คุณภาพอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้แบบสอบถามมีความ
สมบูรณ์และมีคุณภาพ ซึ่งจะทาให้ผลงานวิจยั เป็ นที่น่าเชื่อถืออีกครั้งหนึ่ง
• 9. จัดพิมพ์แบบสอบถาม เป็ นการนาแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุ งแล้วมา
จัดพิมพ์และตรวจสอบให้ละเอียด โดยความถูกต้องในถ้อยคาหรื อสานวน
ทั้งนี้เพื่อให้ผตู ้ อบอ่านเข้าใจได้ตรงประเด็นที่ผวู ้ ิจยั ต้องการ
35
หลักการในการสร้ างแบบสอบถาม
• 1. ต้ องมีจุดมุ่งหมายทีแน่ นอนว่ าต้ องการจะถามอะไรบ้ าง โดยจุดมุ่งหมาย
นั้นจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจยั ที่จะทา
• 2. ต้ องสร้ างคาถามให้ ตรงตามจุดมุ่งหมายทีต่ ้งั ไว้ เพื่อป้ องกันการมีขอ้
คาถามนอกประเด็นและมีจานวนข้อคาถามจานวนมาก
• 3. ต้ องถามให้ ครอบคลุมเรื่องทีจ่ ะวัด โดยมีจานวนข้อคาถามที่พอเหมาะ
ไม่มากหรื อน้อยเกินไป แต่จะมากหรื อน้อยเท่าใดนั้นขึ้นอยูก่ บั พฤติกรรมที่
จะวัด ซึ่งตามปกติควรมีขอ้ คาถามในช่วง 25-60 ข้อ
• 4. การเรียงลาดับข้ อคาถาม ควรเรี ยงลาดับให้ต่อเนื่องสัมพันธ์กนั และแบ่ง
ตามพฤติกรรมย่อยๆ ไว้เพื่อให้ผตู ้ อบเห็นชัดเจนและง่ายต่อการตอบ
นอกจากนั้นต้องเรี ยงคาถามง่ายๆ ไว้เป็ นข้อแรกๆ เพื่อให้ชกั จูงให้ผตู ้ อบ
อยากตอบคาถามต่อ ส่ วนคาถามสาคัญๆ ไม่ควรเรี ยงไว้ตอนท้ายของเพราะ
36
ความสนใจในการตอบของผูต้ อบอาจจะน้อยลง
• 5. ลักษณะของข้ อความที่ดี ควรมีลกั ษณะดังนี้
–
–
–
–
–
–
1) ข้อคาถามไม่ควรยาวจนเกินไป ควรสั้น กะทัดรัด ตรงวัตถุประสงค์/เรื่ องที่ทา
2) ข้อความ หรื อภาษที่ใช้ในข้อความต้องชัดเจน เข้าใจง่าย
3) ไม่ใช้คาถาม ถามนาหรื อแนะให้ตอบ
4) ไม่ถามเรื่ องที่เป็ นความลับเพราะจะทาให้ตอบไม่ตรงกับข้อเท็จจริ ง
5) ไม่ถามในเรื่ องที่รู้แล้ว หรื อถามในสิ่ งวัดได้ดว้ ยวิธีอื่น
6) ข้อคาถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง คือ ต้องคานึงถึงระดับการศึกษา ความ
สนใจ สภาพเศรษฐกิจ ฯลฯ
– 7. ข้อคาถามหนึ่งๆ ควรถามเพียงปัญหาเดียว เพื่อให้ได้คาตอบที่ชดั เจนและตรงจุด
ซึ่ งจะง่ายต่อการนามาวิเคราะห์ขอ้ มูล
– 8. คาตอบหรื อตัวหลักในข้อคาถามควรมีมากพอ หรื อให้เหมาะสมกับข้อคาถามนั้น
แต่ถา้ ไม่สามารถระบุได้หมดก็ให้ใช้วา่ อื่นๆ โปรดระบุ
– 9) คาตอบที่ได้จากแบบสอบถาม ให้สามารนามาแปลงออกมาในรู ปของปริ มาณและ
37
ใช้สถิติอธิ บายข้อเท็จจริ งได้ เพราะปั จจุบนั นี้นิยมใช้คอมพิวเตอร์ ในการวิเคราะห์
ข้ อดีของการเก็บข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม
• 1. ถ้าตัวอย่างมีขนาดใหญ่ วิธีการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จะเป็ น
วิธีการที่สะดวกและประหยัดกว่าวิธีอื่น
• 2. ผูต้ อบมีเวลาตอบมากกว่าวิธีการอื่น
• 3. ไม่จาเป็ นต้องฝึ กอบรมพนักงานเก็บข้อมูลมากเหมือนกับวิธีการ
สัมภาษณ์หรื อวิธีการสังเกต
• 4. ไม่เกิดความลาเอียงอันเนื่องมาจากการสัมภาษณ์หรื อการสังเกต เพราะ
ผูต้ อบเป็ นผูต้ อบข้อมูลเอง
38
ข้ อเสี ยของการเก็บข้ อมูลโดยวิธีการใช้ แบบสอบถาม
• 1. ในกรณี ที่ส่งแบบสอบถามให้ผตู ้ อบทางไปรษณี ย ์ มักจะได้
แบบสอบถามกลับคืนมาน้อย และต้องเสี ยเวลาในการติดตาม อาจทาให้
ระยะเวลาการเก็บข้อมูลล่าช้ากว่าที่กาหนดไว้
• 2. การเก็บข้อมูลโดยวิธีการใช้แบบสอบถามจะใช้ได้เฉพาะกับกลุม่
ประชากรเป้ าหมายที่อ่านและเขียนหนังสื อได้เท่านั้น
• 3. จะได้ขอ้ มูลจากัดเฉพาะที่จาเป็ นจริ งๆ เท่านั้น เพราะการเก็บข้อมูลโดย
วิธีการใช้แบบสอบถาม จะต้องมีคาถามจานวนน้อยข้อที่สุดเท่าที่จะเป็ นไป
ได้
• 4. การส่ งแบบสอบถามไปทางไปรษณี ย ์ หน่วยตัวอย่างอาจไม่ได้เป็ นผูต้ อบ
แบบสอบถามเองก็ได้ ทาให้คาตอบที่ได้มีความคลาดเคลื่อนไม่ตรงกับ 39
ความจริ ง
ข้ อเสี ยของการเก็บข้ อมูลโดยวิธีการใช้ แบบสอบถาม(ต่ อ)
• 5. ถ้าผูต้ อบไม่เข้าใจคาถามหรื อเข้าใจคาถามผิด หรื อไม่ตอบคาถามบางข้อ
หรื อไม่ไตร่ ตรองให้รอบคอบก่อนที่จะตอบคาถาม ก็จาทาให้ขอ้ มูลมีความ
คลาดเคลื่อนได้ โดยที่ผวู ้ ิจยั ไม่สามารถย้อนกลับไปสอบถามหน่วยตัวอย่าง
นั้นได้อีก
• 6. ผูท้ ี่ตอบแบบสอบถามกลับคืนมาทางไปรษณี ย ์ อาจเป็ นกลุ่มทีม่ ีลกั ษณะ
แตกต่างจากกลุ่มผูท้ ี่ไม่ตอบแบบสอบถามกลับคืนมา ดังนั้นข้อมูลที่นามา
วิเคราะห์จะมีความลาเอียงอันเนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างได้
40
โครงสร้ างของแบบสอบถาม
• ประกอบไปด้ วย 3 ส่ วน ดังนี้
1. หนังสื อนาหรือคาชี้แจง ส่ วนแรกของแบบสอบถามจะเป็ นคาชี้แจง
ซึ่งอาจมีจดหมายนาอยูด่ า้ นหน้า พร้อมคาขอบคุณ ในคาชี้แจงนั้นมักจะ
ระบุถึงจุดประสงค์ที่ให้ตอบแบบสอบถาม การนาคาตอบที่ได้ไปใช้
ประโยชน์ คาอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม วิธีการตอบแบบสอบถาม
พร้อมตัวอย่าง พร้อมทั้งจบลงด้วยชื่อและที่อยูข่ องผูว้ ิจยั
2. ส่ วนทีเ่ ป็ นคาถามเกีย่ วกับข้ อมูลส่ วนตัว คาตอบที่ได้จะเป็ น
ข้อเท็จจริ งของผูต้ อบแบบสอบถาม เช่น คาถามเกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับ
การศึกษา อาชีพ ฯลฯ การที่จะถามข้อมูลส่ วนตัวอะไรบ้างนั้น ขึ้นอยูก่ บั
กรอบแนวความคิดในการวิจยั โดยดูวา่ ตัวแปรที่สนใจจะศึกษานั้นมี
อะไรบ้างที่เกี่ยวกับข้อมูลส่ วนตัว เพื่อที่จะถามเฉพาะข้อมูลส่ วนตัวในเรื่ อง
41
นั้นๆ เท่านั้น
โครงสร้ างของแบบสอบถาม (ต่ อ)
3. ชุ ดคาถามเกีย่ วกับความคิดเห็น หรือพฤติกรรมของผู้ตอบในเรื่อง
นั้นๆ เป็ นชุดคาถามที่ให้ผตู ้ อบบอกถึงพฤติกรรม หรื อปรากฏการณ์ หรื อ
ให้แสดงความคิดเห็นในด้านต่างๆ ซึ่งบางครั้งจะไม่สามารถทราบได้วา่
คาตอบนั้นเป็ นความจริ งมากน้อยเพียงใด เพราะเป็ นเพียงความคิดเห็นของ
ผูต้ อบในขณะนั้น คาถามในส่ วนนี้อาจเป็ นได้ท้ งั คาถามปลายปิ ดและ
ปลายเปิ ด
42
ตัวอย่ างแบบสอบถาม
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะบุคคล
1. วุฒิทางการศึกษา…………………………
2. สาขาที่สาเร็ จสาขาวิชาชีพ ( ) ขาดแคลน( ) ไม่ขาดแคลน
3. หน่วยงานที่สงั กัด คณะ………………………
4. อายุ…………ปี
5. ระยะเวลาในการทางานในมหาวิยาลัยรังสิ ต…………ปี
43
ตัวอย่ างแบบสอบถาม (ต่ อ)
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความรู้ สึกเกีย่ วกับงาน
ตอนที่ 2.1 ท่านมีความรู ้สึกพอใจเกี่ยวกับงาน มากน้อยเพียงใด โปรดขีดเครื่ องหมาย / ลงในช่องให้ตรงกับความรู ้สึกของท่านมากที่สุด
ประเด็น
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยที่สุด
1. ความมัน่ คงในงานข้าพเจ้าปฎิบตั ิอยู่
2. รายได้และผลประโยชน์ที่ขา้ พเจ้า
ได้รับจากการทางานที่นี่
3. ความเจริ ญก้าวหน้าในการทางานที่มหาวิทยาลัย
4.เพื่อนร่ วมงานที่ขา้ พเจ้าพูดคุยและทางานด้วย
5.การได้รับการยอมรับและความยุติธรรมจาก
ผูบ้ งั คับบัญชา
6. ความรู ้สึกถึงคุณค่าของความสาเร็จในงานที่ทา
7. โอกาสที่จะได้รู้จกั บุคคลอื่นขณะที่ทางาน
8. การได้รับความสนับสนุนและแนะนาจาก
ผูบ้ งั คับบัญชา
9. รายได้ที่ได้รับเมื่อเทียบกับเพื่อนร่ วมรุ่ น
10 ความเป็ นอิสระทั้งความคิดและการกระทา
44
ตัวอย่ างแบบสอบถาม
ตอนที่ 2.2 ท่านเห็นด้วยกับข้อความต่อไปนี้มากน้อยเพียงใด โปรดขีดเครื่ องหมาย / ลงในช่องให้ตรงกับความรู้สึกท่านมากที่สุด
ประเด็น
มากที่สุด
มาก
ปานกลาง น้อย
น้อยที่สุด
1.โดยทัว่ ไปข้าพเจ้ามีความพึงพอใจกับงานที่ทาอยูใ่ นขณะนี้อย่างมาก
2.แม้จะมีรายได้นอ้ ย ข้าพเจ้าก็รู้สึกภูมิใจที่ได้ทางานเพื่อสังคม
3.บางครั้งข้าพเจ้าอยากไปทางานที่อื่น หากเป็ นไปได้
4.ข้าพเจ้ารู้สึกผูกพันและเป็ นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย
5.ข้าพเจ้าแนะนาให้ญาติพี่นอ้ งมาทางานเช่นเดียวกับข้าพเจ้า
6.ข้าพเจ้ารู้สึกไม่มีความสุขเมื่อพบว่าทางานผิดพลาด
7.ข้าพเจ้าไม่นาความรู้สึกส่วนตัวมาเป็ นตัวกาหนดวิธีการทางาน
8. คนส่วนใหญ่มีความสุขกับการทางานในมหาวิทยาลัยนี้
9. ข้าพเจ้าสนใจติดตามและร่ วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
10. บุคลากรในสถาบันมีความคิดที่จะไปทางานที่อื่น
45
แบบสั มภาษณ์ (Overview form)
46
แบบสั มภาษณ์ (Overview form)
• การสั มภาษณ์ (Interview)
การสัมภาษณ์คือการสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมายตามวัตถุประสงค์ที่เรา
กาหนดไว้ล่วงหน้า เป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ส่วนใหญ่จะใช้ในงานวิจยั
เชิงคุณภาพ ลักษณะเด่นของการสัมภาษณ์กค็ ือ เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย
การสื่ อความหมายด้วยคาพูดโดยตรง ซึ่งเป็ นการสื่ อสารทางตรง (Face to
Face) ข้อดีกค็ ือได้ขอ้ มูลที่ลึกซึ้งกว่าการใช้แบบสอบถาม สามารถติดตาม
ข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์หรื อไม่ชดั เจน โดยสามารถสอบถามได้เพิ่มเติมได้ ส่ วน
ข้อเสี ยของการสัมภาษณ์กค็ ือเสี ยเวลาและค่าใช้จ่ายสูง เหมาะสาหรับการเก็บ
ข้อมูลในกลุ่มที่มีขนาดเล็ก ผูส้ มั ภาษณ์ตอ้ งฟังมากกว่าที่จะพูดเอง
47
หลักการเตรียมการสั มภาษณ์
•
•
•
•
•
สร้างข้อคาถามสาหรับการสัมภาษณ์ คาถามที่จะใช้ในการสัมภาษณ์
อาจจะใช้คาถามที่มีโครงสร้างที่แน่นอนหรื อคาถามที่มีโครงสร้างไม่
แน่นอนก็ได้
การตัดสิ นใจเกี่ยวกับวิธีการบันทึกข้อมูล
สร้างคู่มือแนะนาสาหรับการสัมภาษณ์
ฝึ กอบรมผูส้ ัมภาษณ์
ทดลองปฎิบตั ิก่อนการไปสัมภาษณ์จริ ง
48
แบบสั งเกต (Observation form)
49
แบบสั งเกต (Observation form)
• การสั งเกต (Observation) เป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งสามารถใช้ได้กบั
งานวิจยั เชิงสารวจและงานวิจยั เชิงทดลอง ข้อดีของการสังเกตเป็ นการจัดเก็บ
ข้อมูลโดยตรง ส่ วนข้อด้อยก็คือยากที่จะจัดการกับเวลาการสังเกต และการ
สร้างเครื่ องมือในการการจดบันทึกข้อมูล
• หลักเกณฑ์ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยการสั งเกต
1. กาหนดเป้ าหมายให้ชดั เจนว่าต้องการผลอะไรหรื อต้องการจะเก็บ
ข้อมูลอะไร
2. วางแผนอย่างชัดเจนว่าจะมีข้นั ตอนในการดาเนินการอย่างๆไร ควร
วางแผนอย่างมีระบบจะทาให้ไม่เสี ยเวลาเกิดข้อผิดพลาด
3. ทาการจดบันทึกอย่างระเอียดทุกขั้นตอน
50
4. ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตสามารถทาซ้ าและตรวจสอบกับคนอื่นๆได้
ผู้สังเกตทีด่ คี วรมีคุณสมบัตดิ งั นี้
•
•
•
•
•
เป็ นผูท้ ี่ได้ผา่ นการอบรมมาเป็ นอย่างดี ในการสังเกตและการบันทึก
ข้อมูล
มีความตั้งใจในการสังเกต และมีประสาทสัมผัสที่ดี ไวต่อการสัมผัส
กับสิ่ งที่ตนเองสังเกต
มีความสามารถจดจาและบันทึกรายละเอียดในสิ่ งที่สงั เกตได้ดี
มีการรับรู ้ที่ดี เมื่อรับรู ้แล้วสามารถแปลความหมายได้อย่างรวดเร็ ว
และถูกต้อง
เข้าใจพฤติกรรมและวัฒนธรรมของสิ่ งที่สงั เกต
51
การสั งเกตส่ วนใหญ่ จะใช้ เครื่องมือประกอบการสั งเกต
•
•
•
•
•
•
รายการตรวจสอบ ( Checklist)
มาตรส่ วนประมาณค่า ( Rating Scale)
ตารางจดบันทึกข้อมูล (Data Gathering Schedule)
ระเบียบพฤติกรรม (Anecdotal Record)
สังคมมิติ (Sociometric)
การถ่ายภาพ การถ่ายวิดีทศั น์และการบันทึกเสี ยง
52
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
ในการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ส่วนใหญ่กใ็ ช้แบบทดสอบและ
แบบสอบถาม แต่การศึกษาส่ วนใหญ่เป็ นการศึกษาคุณลักษณะที่อยู่
ในตัวของมนุษย์ซ่ ึงมีความซับซ้อน และสังเกตได้ยาก จึงมีขอ้ กังขาว่า
เครื่ องมือที่สร้างนั้นมีความน่าเชื่อถือได้มากเพียงใด มีคุณภาพดี
เพียงใด สามารถวัดได้ถูกต้อง เที่ยงตรงเชื่อถือได้หรื อไม่ และมี
ประสิ ทธิภาพเพียงพอหรื อไม่ การพิจารณาความเชื่อถือได้จากปัจจัย
ต่อไปนี้
53
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
ความเที่ยงตรง (Validity) ส่ วนใหญ่ใช้กบั แบบทดสอบ ความเที่ยงตรงนับว่า
เป็ นคุณลักษณะที่สาคัญมาก ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามหมายถึง
ความสามารถของแบบทดสอบในการที่จะวัดในสิ่ งที่ตอ้ งการวัดได้สิ่งที่
ต้องการวัด วัดในทุกสิ่ งที่เราต้องการให้วดั ในปัจจุบนั นิยมแบ่งความ
เที่ยงตรงออกเป็ น 3 ชนิดคือ
1.ความเที่ยงตรงในเนื้อหา (Content Validity)
2. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity)
3.ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criteion -Related Validity) ซึ่ง
แบ่งออกเป็ น 2 อย่างคือ
4. ความเที่ยงตรงตามสภาพ (Concurrent Validity)
54
5. ความเที่ยงตรงตามการพยากรณ์ (Predictive Validity)
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
ความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึงความคงที่แน่นอนของคะแนนซึ่งได้จาก
การวัด ถ้าแบบทดสอบที่มีความเชื่อมัน่ สูง ไม่วา่ จะวัดซ้ ากี่ครั้งก็ตามก็จะ
ได้ผลคงเดิม ในปัจจุบนั มีการวิเคราะห์ความเชื่อมัน่ ตามแนวอิงกลุ่ม
และการหาค่าความเชื่อมัน่ ตามแนวอิงเกณฑ์
ความเป็ นปรนัย (Objectivity) ข้อสอบที่มีความเป็ นปรนัยต้องมีคุณสมบัติ 3
ประการดังนี้
1. คาถามชัดเจน ผูส้ อบเข้าใจคาถามตรงกัน
2. การตรวจให้คะแนนเป็ นมาตรฐานคือถ้าตอบคาถามอย่างเดียวกัน
จะต้องให้คะแนนเท่ากัน
3. แปลความหมายคะแนนเป็ นอย่างเดียวกัน
55
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
อานาจจาแนก (Discrimination) หมายถึงความสามรถในการจาแนกผูส้ อบ
ข้อสอบที่ดีจะต้องมีอานาจจาแนกสูงตามทฤษฎีการวัดผลแบบอิงกลุ่ม (
Norm Reference Measurement) อานาจจาแนกของข้อสอบหมายถึง
ความสามารถของข้อสอบในการจาแนกผูส้ อบออกเป็ นกลุ่มสูง/กลุ่มต่า
ส่ วนทฤษฎีการวัดผลแบบอิงเกณฑ์ (Criterion Reference Measurement)
หมายถึงความสามารถของข้อสอบนั้นในการจาแนกผูส้ อบออกเป็ น 2
กลุ่มคือกลุ่มรอบรู ้ และกลุ่มยังไม่รอบรู ้
56
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
ความยาก (Difficulty) ตามทฤษฎีการวัดผลแบบอิงกลุ่ม ข้อสอบที่ดีคอื
ข้อสอบที่ไม่ยากเกินไป หรื อไม่ง่ายเกินไป เพราะข้อสอบนั้นๆจะ
สามารถจาแนกผูส้ อบได้วา่ ใครเก่งใครอ่อน ข้อสอบที่ยากหรื อง่าย
เกินไปจึงไม่มีคุณค่าในการจาแนก ส่ วนทฤษฎีการวัดผลแบบอิงเกณฑ์
นั้น ถือว่าการสร้างข้อสอบก็เพื่อที่จะวัดว่าผูเ้ รี ยนได้บรรลุจุดประสงค์
หรื อไม่ การที่ทุกคนทาข้อสอบได้ถูก แสดงว่าเขาบรรลุจุดประสงค์ตาม
ต้องการจะว่าข้อสอบไม่ดีกไ็ ม่ได้ ดังนั้นเรื่ องความยากง่ายจึงไม่ใช่เรื่ อง
สาคัญ สิ่ งสาคัญอยูท่ ี่ขอ้ สอบนั้นได้วดั ในจุดประสงค์ที่ตอ้ งการวัดว่าวัด
ได้จริ งหรื อไม่ ถ้าวัดได้จริ งก็นบั ว่าเป็ นข้อสอบที่ดีได้ แม้วา่ จะเป็ น
ข้อสอบที่ง่ายก็ตาม
57
หมายเหตุ การเก็บรวบรวมข้ อมูล
• ข้อมูลคือข้อเท็จจริ งที่เราสนใจจะศึกษาและทาวิจยั เป็ นข้อเท็จจริ งที่ช่วย
ให้เห็นประเด็นและเป็ นตัวชี้ให้เห็นปัญหาการวิจยั
• ลักษณะของข้อมูลที่ดีคือ มีความถูกต้อง ให้ขอ้ เท็จจริ งที่สามารถศึกษา
ได้ มีความทันสมัยเป็ นปัจจุบนั มีความสมบูรณ์ครบถ้วน มีความชัดเจน
เป็ นรู ปธรรม มีภาวะวิสยั คือเข้าใจตรงกันไม่คลุมเครื อ และมีความ
สอดคล้องกับปัญหาการวิจยั
58
หมายเหตุ การเก็บรวบรวมข้ อมูล
วิธีการในการเก็บข้อมูล ซึ่งมีความสาคัญมากเนื่องจากเป็ นการตอบสนอง
การวิจยั ในทุกมิติน้ นั มีข้นั ตอนสาคัญคือ
1. การวางแผนเก็บข้อมูล โดยคานึงถึงปัญหาและวัตถุประสงค์ การวิจยั
ทฤษฎี ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
2.การเลือกวิธีการในการเก็บข้อมูลอย่างเหมาะสม เช่น การเก็บ
รวบรวมจากเอกสารการสัมภาษณ์ การสังเกต การใช้แบบสอบถาม
การสัมมนากลุ่มและการทดลอง
3.การติดตามรวบรวมข้อมูล และการประเมินผล
59
ที่มา
• ผศ. ดร. ชัชวาล วงษ์ประเสริ ฐ, การเก็บรวบรวมข้ อมูลและเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการ
วิจัย ,
• .............., เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
http://web.udru.ac.th/~sutad18/new2/10.html
60