ผลการประชุม ACCSQ ครั้งที่ 24 และ การประชุมทีเ่ กีย่ วข้ อง ระหว่ างวันที่ 2-6 สิ งหาคม 2547 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 11/6/2015 กท สมอ.

Download Report

Transcript ผลการประชุม ACCSQ ครั้งที่ 24 และ การประชุมทีเ่ กีย่ วข้ อง ระหว่ างวันที่ 2-6 สิ งหาคม 2547 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย 11/6/2015 กท สมอ.

ผลการประชุม ACCSQ ครั้งที่ 24 และ
การประชุมทีเ่ กีย่ วข้ อง
ระหว่ างวันที่ 2-6 สิ งหาคม 2547
ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
11/6/2015
กท สมอ
1
หัวข้ อนาเสนอ
• ทิศทางของอาเซียนในปัจจุบัน
• ผลการประชุม ACCSQ ครั้งที่ 24 และการ
ประชุมทีเ่ กีย่ วข้ อง
11/6/2015
กท สมอ
2
ประชาคมอาเซียน
อาเซียนเริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2510
ในการประชุ มสุ ดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 9 ระหว่ างวันที่
7-8 ตุลาคม 2546 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผู้นาอาเซียนได้ ลงนาม
แถลงการณ์ ทเี่ รียกว่ า Bali Concord II ซึ่งเป็ นการประกาศเจตนารมย์
ในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ประกอบด้ วย 3 ด้ านหลัก ภายในปี 2020 (พ.ศ.
2563) ได้ แก่
1. ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community - ASC)
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC)
3. ประชาคมสั งคม-วัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC)
11/6/2015
กท สมอ
3
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เป้ าหมายของ AEC
อาเซียนจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ
โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่ วมกัน
(single market and single production base)
และจะมีการเคลือ่ นย้ ายสิ นค้ า บริการ การลงทุน เงินทุน
และแรงงานฝี มืออย่ างเสรี
(free flows of goods, services, investment, and
skilled labors, and freer flow of capital)
11/6/2015
กท สมอ
4
แนวทางดาเนินงาน ไปสู่ AEC
สาขาสิ นค้ าและบริการสาคัญ 11 สาขาทีจ่ ะดาเนินการโดยเร่ งด่ วน
(priority sectors) ทั้งในด้ านการเปิ ดเสรีและขยายความร่ วมมือระหว่ างกัน
และให้ มปี ระเทศผู้ประสานงาน (Country Coordinators) ดังนี้
ยานยนต์ และผลิตภัณฑ์ ไม้ (Automotive and Wood-based products)
อินโดนีเซีย
ผลิตภัณฑ์ ยางและสิ่ งทอ (Rubber-based products and Textiles/Apparels) มาเลเซีย
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics)
ฟิ ลิปปิ นส์
สิ นค้ าเกษตรและประมง (Agro-based products and Fisheries)
พม่ า
เทคโนโลยีสารสนเทศและผลิตภัณฑ์ สุขภาพ (e-ASEAN and Healthcare) สิ งคโปร์
ท่ องเทีย่ วและการบิน (Tourism and Air Travel)
ไทย
11/6/2015
กท สมอ
5
Roadmaps
1. จัดทา Roadmaps เพือ่ กาหนดเป้ าหมายและแนวทางการรวมกลุ่มสิ นค้ า
และบริการทั้ง 11 สาขา
2. ผู้นาอาเซียนจะลงนามกรอบความตกลง (ASEAN Framework Agreement)
และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนจะลงนามพิธีสาร (Protocol) สาหรับ Roadmaps
ในการประชุ มสุ ดยอดอาเซียนทีจ่ ะจัดขึน้ ในเดือนพฤศจิกายน 2547
ณ กรุ งเวียงจันทน์ ประเทศลาว
11/6/2015
กท สมอ
6
Roadmaps กาหนดมาตรการหลักต่ างๆ ดังนี้
1. การลดภาษีสินค้ า
2. มาตรการที่มิใช่ ภาษี
3. กฎว่ าด้ วยแหล่งกาเนิดสิ นค้ า
4. พิธีการด้ านศุลกากร
5. มาตรฐานและการรับรอง
6. การเคลือ่ นย้ ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ
แรงงานฝี มือ และผู้มีความสามารถพิเศษ
11/6/2015
กท สมอ
7
Recommendation of High Level Task Force
on ASEAN Economic Integration
HLTF ประกอบด้ วยผู้แทนระดับปลัดประทรวงการค้ าของทุกประเทศ
โดยประธาน HLTF คือ นายการุ ณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์
(i) Accelerate the completion and implementation of the Mutual Recognition
Arrangements (MRAs) for the five identified priority sectors (electrical and
electronic equipment, cosmetics, pharmaceuticals, telecommunications
equipment and prepared foodstuff) within 2004/2005; and other sectors with
significant potential for trade;
(ii) Set specific targets for the harmonization of standards and technical
regulations to trade focusing on sectors with significant trade value and
those with potential for trade in the future; and
(iii) Develop ASEAN technical regulations, where possible, for national
applications.
11/6/2015
กท สมอ
8
ความรับผิดชอบของ ACCSQ
คณะกรรมการทีป่ รึกษาด้ านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน
(ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality - ACCSQ)
ซึ่งดูแลกิจกรรมด้ านการมาตรฐาน คุณภาพ และการรับรองของอาเซียน
ได้ รับมอบหมายจากเจ้ าหน้ าทีอ่ าวุโสทางเศรษฐกิจอาเซียน (SEOM)
ให้ เป็ นผู้พจิ ารณาในรายละเอียดของมาตรการ/กิจกรรมด้ านมาตรฐาน
และการรับรองทีจ่ ะดาเนินงานสาหรับสิ นค้ าและบริการทั้ง 11 สาขา
11/6/2015
กท สมอ
9
ผลจากการประชุม ACCSQ ครั้งที่ 24
Roadmap ด้ านมาตรฐาน สาขาสิ นค้ าเกษตรและประมง
มีมติว่าคณะทางานด้ านผลิตภัณฑ์ อาหารสาเร็จรู ป (ACCSQ PF PWG)
จะรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ ใน HS Chapter 15-23* เท่ านั้น
ผลิตภัณฑ์ นอกเหนือจากนั้น ขอให้ อยู่ภายใต้ การดูแลของ Senior Officials
Meeting of the ASEAN Ministers on Agriculture and Forestry (SOM AMAF)
*Chapter 15 - Animal and Vegetable fats and oils and their cleavage products; prepared edible fats;
animal or vegetable waxes
Chapter 16 - Edible preparations of meat, fish, crustaceans, molluscs or other aquatic invertebrates
Chapter 17 - Sugars and sugar confectionery
Chapter 18 - Cocoa and cocoa preparations
Chapter 19 - Preparations of cereals, flour, starch or milk; bakers wares
Chapter 20 - Preparations of vegetables, fruit , nuts or other plant parts
Chapter 21 - Miscellaneous edible preparations
Chapter 22 - Beverages, spirits and vinegar
Chapter 23 - Food industry residues & waste; prepared animal feed
11/6/2015
กท สมอ
10
การดาเนินงานของคณะทางานด้ าน
ผลิตภัณฑ์ อาหารสาเร็จรู ป (PF PWG)
ทีป่ ระชุ มรับทราบ
1. คณะทางานด้ านผลิตภัณฑ์ อาหารสาเร็จรู ป (PF PWG) อยู่ระหว่ างการรวบรวม
ข้ อมูลด้ านมาตรฐานและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้ องกับอาหารสาเร็จรู ปของสมาชิกอาเซียน
(Transparency of Prepared Food Regulatory Regimes) เพือ่ เผยแพร่ บน
เว็บไซต์ ASEAN Food Safety Network
2. ได้ เริ่มจากศึกษาเปรียบเทียบข้ อกาหนดในการนาเข้ า-ส่ งออกสิ นค้ าของทุกประเทศ
เพือ่ การทา MRA ด้ านอาหารสาเร็จรู ป
11/6/2015
กท สมอ
11
Roadmap ด้ านมาตรฐาน
สาขายานยนต์
มีมติให้ มีการจัดตั้งคณะทางานด้านผลิตภัณฑ์ ยานยนต์ (Product Working Group on
Automotive) เพือ่ ดาเนินงานตามมาตรการที่กาหนด โดยมีประเทศอินโดนีเซียเป็ นประธาน
และไทยเสนอรับเป็ นประธานร่ วม (รอไทยยืนยัน)
มาตรการ
1. Harmonize ASEAN safety standard for automotive operating in ASEAN to
a common regulatory framework based on UN ECE Regulation
2. Harmonize ASEAN emission and fuel property standard based on UN ECE
Regulation
3. Study of current ASEAN practices on Standards and Conformance in
Automotive sector and pursuing for ASEAN Mutual Recognition Agreement
11/6/2015
กท สมอ
12
Roadmap ด้ านมาตรฐาน สาขาอิเล็กทรอนิกส์
ปรับมาตรการใน Roadmap ให้ สอดคล้องกับการดาเนินงานตาม ASEAN EE MRA
ทีม่ กี ารดาเนินงานอยู่แล้ วภายใต้ ACCSQ ได้ แก่
1. Accelerate the implementation of the ASEAN MRA on Electrical and Electronic
Equipment (ASEAN EE MRA)
2. Harmonize technical regulations for electrical and electronic sector in ASEAN
3. Ensure transparency of regulatory schemes in ASEAN
4. Cooperate in capacity-building of ASEAN countries in terms of testing and
accreditation
11/6/2015
กท สมอ
13
การดาเนินงาน ASEAN EE MRA
- ปัจจุบันประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศแจ้ งเข้ าร่ วม ASEAN EE MRA แล้ ว
โดยมี 6 ประเทศยอมรับร่ วมในผลการทดสอบและผลการรับรองผลิตภัณฑ์
ขณะที่ 4 ประเทศ (มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ไทยและเวียดนาม) ยอมรับร่ วมเฉพาะ
ผลการทดสอบ
- ที่ประชุมได้ อนุมัติในหลักการให้ ห้องปฏิบัติการทดสอบและหน่ วยรับรองที่
เสนอโดยสิ งคโปร์ และไทยขึน้ บัญชีตาม ASEAN EE MRA หากไม่ มีประเทศใด
คัดค้ านภายในวันที่ 18 สิ งหาคมศกนี้ จากนั้นสานักเลขาธิการอาเซียนจะนา
ข้ อมูลของห้ องปฏิบัติการทดสอบและหน่ วยรับรองดังกล่ าวเผยแพร่ บน
เว็บไซต์ อาเซียนต่ อไป
ไทยเสนอห้ องปฏิบัติการทดสอบของสถาบันไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ขึ้น
บัญชีตาม ASEAN EE MRA
11/6/2015
กท สมอ
14
การดาเนินงาน ASEAN EE MRA
- ที่ประชุมได้ แลกเปลีย่ นข้ อคิดเห็นเกีย่ วกับการจากัดสิ ทธิประโยชน์ ของ
ASEAN EE MRA ให้ อยู่เฉพาะประเทศในอาเซียนหรือประเทศนอกอาเซียนด้ วย
ทั้งนี้ สมาชิกหลายประเทศเกรงว่ าสิ นค้ าจากประเทศนอกอาเซียนจะใช้ ประโยชน
จาก ASEAN EE MRA เป็ นช่ องทางการเข้ าสู่ ตลาดอาเซียน ซึ่งอาจจะส่ งผลกระทบ
ต่ อผู้ผลิตภายในประเทศและในภูมิภาค
- ที่ประชุมจึงขอให้ แต่ ละประเทศศึกษาในรายละเอียดว่ าหากมีการจากัดการดาเนิน
งานของ ASEAN EE MRA เฉพาะประเทศในอาเซียนเท่ านั้น จะขัดกับหลักการของ
WTO หรือไม่ และมอบหมายให้ คณะกรรมการร่ วมรายสาขา (JSC EE MRA) ร่ วมกับ
คณะทางานคณะที่ 1 พิจารณาผลกระทบที่อาจจะเกิดขึน้ จากประเด็นดังกล่ าว และ
จัดทาข้ อเสนอแนะให้ ACCSQ พิจารณาในการประชุมครั้งต่ อไป
11/6/2015
กท สมอ
15
Roadmap ด้ านมาตรฐาน สาขา Healthcare
ที่ประชุมมีมติให้ จัดตั้งคณะทางานใหม่ 2 คณะ โดยประเทศอินโดนีเซียรับเป็ น
ประธานคณะทางานด้ านยาพืน้ บ้ านและอาหารเสริม (Product Working Group
on Traditional Medicines and Health Supplement)
ประเทศสิ งคโปร์ รับเป็ นประธาน และมาเลเซียเป็ นประธานร่ วมใน
คณะทางานด้ านเครื่องมือแพทย์ (PWG on Medical Device and Equipment)
มาตรการที่กาหนด
Form a Product Working Group to explore all appropriate measures to
facilitate the integration of traditional medicines and health supplement /
medical device and equipment
11/6/2015
กท สมอ
16
Roadmap ด้ านมาตรฐาน สาขาผลิตภัณฑ์ ยาง
มีมติให้ จัดตั้งคณะทางานใหม่ เพือ่ ดาเนินการตามมาตรการที่กาหนด
โดยมีประเทศมาเลเซียรับเป็ นประธาน และไทยเสนอรับเป็ นประธานร่ วม
มาตรการ
1. Encourage rubber manufacturers to make use of available accredited testing facilities
within ASEAN which are recognized and accepted by ASEAN domestic regulators
2. ASEAN Domestic regulators to accept or recognize test reports issued by testing
facilities accredited by national accreditation bodies who are signatories of the APLAC
on Mutual Recognition Arrangements
3. Accelerate the harmonization of standard among member countries for rubber products
through adoption of international standards.
4. Develop Mutual Recognition Arrangements on specific rubber products amongst ASEAN
countries
11/6/2015
กท สมอ
17
Roadmap ด้ านมาตรฐาน สาขาผลิตภัณฑ์ ไม้
มีมติให้ จัดตั้งคณะทางานใหม่ เพือ่ ดาเนินการตามมาตรการที่กาหนด
โดยมีประเทศอินโดนีเซียรับเป็ นประธาน และมาเลเซียเป็ นประธานร่ วม
มาตรการ
1. Assessment of the need for harmonized standards and conformity assessment
2. Development of harmonized wood-based standards amongst member countries
based on international standards
3. Harmonization on conformity assessment procedures for wood-based products
4. Establishment of MRAs for specific wood-based products wherever applicable
5. Harmonization of specific wood-based technical regulatory regime wherever
applicable
11/6/2015
กท สมอ
18
Roadmap ด้านมาตรฐาน สาขาสิ่ งทอ การบิน และท่ องเทีย
่ว
มีมติไม่ เสนอมาตรการด้ านมาตรฐานและการรับรองสาหรับ 3 สาขานี้
ภายใต้ กรอบ ACCSQ อย่ างไรก็ดี ทีป่ ระชุ มรับทราบว่ าในกรอบอาเซียน
มี ASEAN National Tourism Organizations (ASEAN NTOs) รับผิดชอบ
การจัดทามาตรฐานโรงแรมอาเซียนตาม Roadmap สาขาท่ องเทีย่ วอยู่แล้ ว
จึงเห็นควรให้ การสนับสนุนการดาเนินงานหาก ASEAN NTOs ต้ องการ
11/6/2015
กท สมอ
19
คณะทางานใหม่ 5 คณะ
1. Product Working Group on Automotive
ประธาน: อินโดนีเซีย ประธานร่ วม: ไทย?
2. Product Working Group on Medical Device and Equipment
ประธาน: สิ งคโปร์
ประธานร่ วม: มาเลเซีย
3. Product Working Group on Traditional Medicines
and Health Supplements
ประธาน: อินโดนีเซีย
4. Product Working Group on Rubber Based Products
ประธาน: มาเลเซีย ประธานร่ วม: ไทย?
5. Product Working Group on Wood Based Product
ประธาน: อินโดนีเซีย ประธานร่ วม: มาเลเซีย
11/6/2015
กท สมอ
20
คณะทางานของ ACCSQ
ACCSQ
WG 1
on
Standards
and
Mutual
Recognition
Arrangement
WG 2
on
Accreditation
and
Conformity
Assessment
Product
Working
Group
on
Automotive
11/6/2015
WG 3
on
Legal
Metrology
Product
Working
Group
on
Medical
Device
and
Equipment
Joint
Sectoral
Committee
for
ASEAN
EE
MRA
Product
Working
Group
on
Traditional
Medicines &
Health
Supplement
กท สมอ
ASEAN
Cosmetic
Council
(ACC)
Product
Working
Group
on
Rubberbased
Products
Product
Working
Group
on
Pharmaceutical
Product
Working
Group
on
Woodbased
Products
Product
Working
Group
on
Prepared
Foodstuff
New
PWGs
21
ร่ าง ASEAN Policy on Standards and Conformance
ทีป่ ระชุ มพิจารณาเรื่องการจัดทา นโยบายด้ านมาตรฐานและการรับรอง
ของอาเซียน (ASEAN Policy on Standards and Conformance) เพือ่ ตอบสนอง
การดาเนินงานเพือ่ การรวมกลุ่มเศรษฐกิจของอาเซียน โดยพิจารณาร่ างนโยบายดังกล่ าว
ซึ่งจัดทาโดยประเทศอินโดนีเซีย และมีมติให้ ทุกประเทศพิจารณาให้ ข้อคิดเห็นต่ อร่ าง
ดังกล่าวและแจ้ งให้ สานักเลขาธิการอาเซียนทราบและรวบรวม เพือ่ นาเสนอให้ ACCSQ
พิจารณาต่ อไป
11/6/2015
กท สมอ
22
หัวข้ อสาคัญในร่ างนโยบายด้ านมาตรฐานและการรับรองของอาเซียน
1. การปรับมาตรฐานของสมาชิกแต่ ละประเทศให้ สอดคล้ องกับมาตรฐานสากล
2. การรับ (adoption) มาตรฐานมาใช้ เป็ นกฎระเบียบทางวิชาการ
3. ศึกษากระบวนการตรวจสอบรับรองและการรับรองผลการตรวจสอบรับรอง
4. การทาความตกลงยอมรับร่ วม (MRA) รายสาขา
5. การแลกเปลีย่ นข้ อมูล
6. การหารือและการระงับข้ อพิพาท
7. รู ปแบบการดาเนินงานตามนโยบายที่กาหนด
สมอ ควรพิจารณาร่ วมกับหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้ องทั้งภายในและภายนอก
เพื่อสรุ ปเป็ นท่ าที ของไทยในการประชุมครั้ งต่ อไป
11/6/2015
กท สมอ
23
ผลจากการประชุม ACCSQ-Japan
ACCSQ และประเทศญี่ปุ่นมีความร่ วมมือกันในโครงการ ASEAN-Japan TQM
(Total Quality Management) ซึ่งเป็ นโครงการความช่ วยเหลือที่ญี่ปนให้
ุ่ อาเซียน
โครงการ TQM ระยะที่ 1 ได้ สิ้นสุ ดลงเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2543 และได้ ดาเนิน
โครงการ ระยะที่ 2 ตั้งแต่ ปี 2543-2547 โดยมีกจิ กรรมหลัก ดังนี้
- ฝ่ ายญี่ปุ่นส่ งผู้เชี่ยวชาญมาถ่ ายทอดเทคโนโลยีให้ แก่ โรงงานต้ นแบบ เพือ่ พัฒนา
โครงสร้ างพืน้ ฐานด้ าน TQM และให้ ความช่ วยเหลือโรงงานในการนา TQM ไปใช้
- การจัดทาคู่มือ TQM
- การฝึ กอบรม การสั มมนา และการประชุม
11/6/2015
กท สมอ
24
ผลจากการประชุม ACCSQ-Japan
ฝ่ ายญี่ปุ่นแจ้ งว่ า แม้ ว่าคณะทางานประเมินนโยบาย (Policy Evaluation Scheme)
ของญี่ปุ่นพิจารณาให้ เงินสนับสนุนโครงการ TQM ถึงแค่ ปี 2547 แต่ กย็ นิ ดีพจิ ารณา
ให้ ความช่ วยเหลือเป็ นรายประเทศต่ อไป
ACCSQ มีความเห็นว่ าความร่ วมมือระดับภูมิภาคจะส่ งผลดีต่อการดาเนินงาน
ในภาพรวมของอาเซียนมากกว่ าระดับทวิภาคี
ACCSQ จะรายงานผลสาเร็จของโครงการ TQM เพือ่ ให้ ฝ่ายญี่ปุ่น
ทราบและพิจารณาจัดกิจกรรมโครงการ TQM ต่ อเนื่องไปอีก โดยฝ่ ายญี่ปุ่นจะแจ้ ง
รายละเอียดและเกณฑ์ ในการประเมินให้ ACCSQ ทราบและดาเนินการต่ อไป
11/6/2015
กท สมอ
25
End of presentation
Thank you
11/6/2015
กท สมอ
26