อุทกภัย (Floods) • เป็ นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดสภาวะน้ าท่วมหรื อน้ าท่วมฉับพลัน • เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็ นเวลานาน บางครั้งทาให้เกิดแผ่นดินลล่ม อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุ มมีกาลังแรง ร่ องความกดอากาศ ต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวน น้ าทะเลหนุน แผ่นดินไหว เขื่อนพัง ทาให้เกิด อุทกภัยได้เสมอ • ทาให้เกิดความเสี.

Download Report

Transcript อุทกภัย (Floods) • เป็ นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดสภาวะน้ าท่วมหรื อน้ าท่วมฉับพลัน • เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็ นเวลานาน บางครั้งทาให้เกิดแผ่นดินลล่ม อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุ มมีกาลังแรง ร่ องความกดอากาศ ต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวน น้ าทะเลหนุน แผ่นดินไหว เขื่อนพัง ทาให้เกิด อุทกภัยได้เสมอ • ทาให้เกิดความเสี.

อุทกภัย (Floods)
• เป็ นภัยธรรมชาติที่ทาให้เกิดสภาวะน้ าท่วมหรื อน้ าท่วมฉับพลัน
• เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องกันเป็ นเวลานาน บางครั้งทาให้เกิดแผ่นดินลล่ม
อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตร้อนลมมรสุ มมีกาลังแรง ร่ องความกดอากาศ
ต่ามีกาลังแรง อากาศแปรปรวน น้ าทะเลหนุน แผ่นดินไหว เขื่อนพัง ทาให้เกิด
อุทกภัยได้เสมอ
• ทาให้เกิดความเสี ยหายในหลายพื้นที่ของโลกอันทาให้เกิดความเสี ยหายทั้งต่อ
ชีวติ ทรัพย์สินและสิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ รวมไปลึงความเสี ยหายทางด้าน
เศรษฐกิจด้วย การเกิดอุทกภัยมาจากหลายสาเหตุ โดยทางธรรมชาติ
สาเหตุ : น้ าท่วมจากฝน
90
25
95
100
105
110
115
25
สาเหตุของอุทกภัยในประเทศไทย
20
20
15
15
10
10
5
5
090
กรมอุตุนิยมวิทยา
Meteorological Department
95
100
105
110
• หย่อมความกดอากาศต่า
• พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ พายุดีเปรสชัน่ ,
พายุโซนร้อน, พายุไต้ฝนุ่
• ร่ องมรสุ มหรื อร่ องความกดอากาศต่า
• ลมมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้
• ลมมรสุ มตะวันออกเฉี ยงเหนือ
• เขื่อนพัง
0
115
Remarks 1. ITCZ may be nonexistent or apparently and may move in unexpected fashion and has
been variously positioned by various authorities
2. Source : “The Rainfall of Thailand”, A Study by Lawrence Sternstein, supported by
The U.S. Army Quartermaster Corps, Research and Engineering Command,
Project No. 7-83-01-006.
ลักษณะของอุทกภัย
มีความรุ นแรง และรู ปแบบต่างๆกัน ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะภูมิประเทศ และสิ่ งแวดล้อมของแต่ละ
พื้นที่โดยมีลกั ษณะดังนี้
1.น้ าป่ าไหลหลากหรื อน้ าท่วมฉับพลัน มักจะเกิดขึ้นในที่ราบต่าหรื อที่ราบลุ่มบริ เวณใกล้
ภูเขาต้นน้ า เกิดขึ้นเนื่องจากฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเนื่องเป็ นเวลานาน ทาให้จานวนน้ า
สะสมมีปริ มาณมากจนพื้นดินและต้นไม้ดูดซับไม่ไหวไหลบ่าลงสู่ ที่ราบต่าเบื้องล่างอย่าง
รวดเร็ วมีอานาจทาลายล้างรุ นแรงระดับหนึ่ง ที่ทาให้บา้ นเรื อนพังทลายเสี ยหายและอาจทา
ให้เกิดอันตรายลึงชีวิตได้
2.น้ าท่วมหรื อน้ าท่วมขัง เป็ นลักษณะอุทกภัยที่เกิดขึ้นจากปริ มาณน้ าสะสมจานวนมากที่
ไหลบ่าในแนวระนาบจากที่สูงไปยังที่ต่าเข้าท่วมอาคารบ้านเรื อน เรื อกสวนไร่ นาได้รับ
ความเสี ยหาย หรื อ เป็ นสภาพน้ าท่วมขังในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็ น
เวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบการระบายน้ าไม่ดีพอ มีสิ่งกีดขวางทางระบายน้ า หรื อเกิด
นาทะเลหนุนสูงกรณี พ้นื ที่อยูใ่ กล้ชายฝั่งทะเล
3.น้ าล้นตลิ่ง เกิดขึ้นจากปริ มาณน้ าจานวนมากที่เกิดจากฝนหนักต่อเนื่อง ที่ไหลลงสู่ ลาน้ า
หรื อแม่น้ ามีปริ มาณมากจนระบายลงสู่ ลุ่มน้ าด้านล่างหรื อออกสู่ ปากน้ าไม่ทนั ทาให้เกิด
สภาวะน้ าล้นตลิ่งเข้าท่วมเรื อกสวนไร่ นาตามสองฝั่งน้ า จนได้รับความเสี ยหาย ลนนหรื อ
สะพานอาจชารุ ดทางคมนาคมลูกตัดขาดได้
การเกิดน้ าท่วมที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด
สงขลา เนื่องจากหย่อมความกดอากาศต่า
กาลังแรงเคลื่อนผ่าน
www.tmd.go.th/ ~rwcsw/diaster.html
น้ าป่ าจากภูหลวงไหลทะลักเข้าท่วมพื้นที่อ.ภู
หลวง จ.เลย ช่วงเช้าวันที่ 27 ก.ค. 47 สร้าง
ความเสี ยหายแก่ประชาชน ต้องไร้ที่อยูอ่ าศัย
นับร้อยครอบครัว เช่นเดียวกับอีกหลาย
จังหวัดทางภาคอีสานที่ลกู น้ าท่วมหนัก
เช่นกัน
สภาพน้ าท่วม อ.เมือง จังหวัดสุ โขทัย
ระหว่างวันที่ 6-9 ก.ย.47
ที่มา กรมอุตุนิยมวิทยา
สาเหตุ (ต่อ)
• นำ้ ท่ วมจำกหิ มะ
– กำรละลำยของหิ มะอย่ ำงรวดเร็ วเป็ นสำเหตุสำคัญของนำ้ ท่ วม เมื่อถึงฤดู
หนำวหิ มะตกหนักตำมด้ วยสภำวะอำกำศอุ่นจนหิ มะละลำย (thaw) ทำ
ให้ นำ้ ที่เกิดจำกหิ มะละลำยไหลลงสู่ แม่ นำ้ เช่ นเดียวกับฝนหนัก หิ มะ
ละลำยจะเกิดบ่ อยในฤดูใบไม้ ผลิ แต่ หิมะละลำยในฤดูหนำวไม่ ได้ เป็ นสิ่ ง
ผิดปกติ ถ้ ำหิ มะละลำยตำมด้ วยฝนตกเบำๆ ก็อำจเกิดนำ้ ท่ วมได้
สาเหตุ (ต่อ)
• นำ้ ไหลทิง้
– กำรเกิดนำ้ ท่ วมขึน้ อยู่กับชนิดของพืน้ ดินที่ฝนตกหรื อหิ มะละลำยและปริ มำณ
ฝนกับหิ มะละลำย เปอร์ เซ็นต์ ของกำรไหลทิง้ จะเกิดในหิ นดำนและดินเหนียว
มำกกว่ ำในดินทรำยและเกิดในที่ ชันมำกกว่ ำที่รำบ พืน้ ที่ว่ำงเปล่ ำมำกกว่ ำพืน้ ที่
ปกคลุมด้ วยพืช นำ้ ไหลทิง้ ยิ่งมำก นำ้ ท่ วมจำกฝนยิ่งมำก ในฤดูหนำวและปลำย
ฤดูใบไม้ ผลิมีหลำยส่ วนของโลกที่ พืน้ ดินเป็ นนำ้ แข็งซึ่ งหมำยถึงพืน้ ดินที่
ช่ องว่ ำงระหว่ ำงอนุภำคหิ นเต็มไปด้ วยนำ้ แข็ง เมื่อฝนตกหรื อหิ มะละลำยบน
พืน้ ผิวชนิดนี ้ นำ้ ไม่ สำมำรถซึ มเข้ ำไปได้ นำ้ จึ งต้ องไหลทิ ้งไป ในกรณี นีถ้ ้ ำฝน
น้ อยหรื อหิ มะละลำยเล็กน้ อยจะเป็ นสำเหตุให้ เกิดนำ้ ท่ วมได้
สาเหตุ (ต่อ)
• นำ้ ท่ วมจำกสำเหตุอื่น
– กำรสร้ ำงเขื่อนธรรมชำติ ซึ่ งปิ ดกั้นแม่ นำ้ ทำให้ นำ้ ไหลล้ นตลิ่งเหนือเขื่อนเป็ น
สำเหตุให้ เกิดนำ้ ท่ วม เขื่อนธรรมชำติขนำดเล็กเกิดจำกกำรสร้ ำงบ้ ำนของบี
เวอร์ เขื่อนธรรมชำติขนำดใหญ่ เป็ นผลจำกกำรไหลของลำวำหรื อแผ่ นดินถล่ ม
– เขื่อนธรรมชาติที่มีอยูท่ วั่ ไปคือน้ าแข็งซึ่ งเป็ นผลจากน้ าในแม่น้ าแข็งตัว ก้อน
น้ าแข็งกองสู งในที่แคบหรื อแม่น้ าที่กน้ แม่น้ าหักศอกทาให้เป็ นเขื่อนกั้นแม่น้ า
เมื่อเกิดเขื่อนชนิดนี้ข้ ึนทาให้เกิดน้ าท่วมแบบฉับพลันตามลาธารที่ไหลลงล่าง
กำรป้ องกันนำ้ ท่ วม
1. วิธีแรกไม่ตอ้ งลดปริ มาณน้ าในแม่น้ าแต่พยายามกันน้ าออกจากพื้นที่ราบน้ า
ท่วมลึงโดยการสร้างคันกั้นน้ า (Levees) ด้วยการใช้ลุงทราย, คอนกรี ตหรื อ
วัสดุอื่นๆ ควรระวังคือ คันกั้นน้ าพัง เมื่อคันกั้นน้ าพัง แม่น้ าจะไหลผ่านรอย
แตก (Crevass) ในคันกั้นน้ า ซึ่งจะทาให้น้ าท่วมเลวร้ายกว่าเดิม หรื อคันกั้น
น้ าจะต้องสร้างสูงขึ้นสูงขึ้นทุกปี เพราะตะกอนสะสมที่กน้ แม่น้ าระหว่าง
ช่วงน้ าท่วมทาให้กน้ แม่น้ าตื้นเขิน คันกั้นน้ ายิง่ สู งความเสี ยหายเมื่อแม่น้ า
ท่วมท้นก็ยงิ่ มาก
2. ทาให้ระดับน้ าลดลงต่าลงโดยขุดร่ องน้ าคู่ขนานลาน้ า เมื่อน้ าขึ้นในระยะน้ า
ท่วม น้ าจะผ่านไปทางน้ าล้นไหลเข้าไปในร่ องน้ าที่ขนานกัน ลงสู่หนอง
น้ าด้านหลัง ลงสู่อ่าวหรื อทะเลสาป
กำรป้ องกันนำ้ ท่ วม (ต่ อ)
3. พยายามลดปริ มาณน้ าไหลลงสู่แม่น้ าหลังฝนตกหนักหรื อหิ มะ
ละลาย โดยการสร้างเขื่อนกั้นต้นน้ าและสาขาของแม่น้ าแล้วเก็บน้ า
ไหลล้นที่มากเกินลงสู่อ่างเก็บน้ า
4. พยายามลดน้ าไหลลงบ่อจากอ่างระบายน้ าของแม่น้ าโดยปลูกป่ า
ทดแทนพืชธรรมชาติที่มนุษย์ทาลาย การปลูกป่ าทดแทน
(Reforestation) คือการปลูกต้นไม้แทนที่ตน้ ไม้ที่ลูกตัดฟัน
ไปหรื อการเผาป่ า แต่วิธีการนี้ไม่สมบูรณ์สาหรับการอนุรักษ์ป่าใน
อนาคต โดยจากัดปริ มาณไม้ที่ตดั ฟันและปลูกทดแทนโดยไม้อ่อน
ต้นไม้น้ ีตอ้ งใช้เวลานานกว่าจะเป็ นไม้ที่ใช้งานได้
การป้ องกันและลดความเสี ยหายจากอุทกภัย
• ติดตามฟังข่าวอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา
เมื่อกรมอุตุนิยมวิทยาเตือนให้อพยพ ควรรี บอพยพไปอยูใ่ นที่สูง อาคารที่มนั่ คง
แข็งแรง ทั้งคนและสัตว์เลี้ยง
• ล้าอยูท่ ี่ราบให้ระมัดระวังน้ าป่ าหลากจากภูเขาที่ราบสู งลงมา กระแสน้ าจะรวดเร็ วมาก
ควรสังเกตเมื่อมีฝนตกหนักติดต่อกันบนภูเขาหลายๆ วัน ให้เตรี ยมตัวอพยพขนของ
ไว้ที่สูง
• ล้าอยูร่ ิ มน้ าให้เอาเรื อหลบเข้าฝั่งไว้ในที่จะใช้งานได้ เมื่อเกิดน้ าท่วม เพื่อการคมนาคม
ควรมีการวางแผนอพยพว่าจะไปอยูท่ ี่ใด พบกันที่ไหน อย่างไรเมื่อมีกระแสน้ าหลาก
จะทาลายวัสดุก่อสร้าง เส้นทางคมนาคม ต้นไม้ พืชไร่ ได้ ให้ระวังกระแสน้ าพัดพา
ไป
• อย่าขับรลยนต์ฝ่าลงไปในกระแสน้ าหลาก แม้บนลนนก็ตามอย่าลงเล่นน้ า อาจพบ
อุบตั ิภยั อื่นๆ อีกได้
• หลังจากน้ าท่วมจะมีขงั จะเกิดโรคระบาดในระบบทางเดินอาหารทั้งคนและสัตว์ ให้
ระวังน้ าบริ โภค ควรสะอาด ต้มสุ กเสี ยก่อน
(ข้อมูล: กรมอุตุนิยมวิทยา)
3.2 ปรากฏการณ์ ธรรมชาติทางทะเลและบรรยากาศ
3.2.2 ปรากฎการณ์ เอลนิโญ
ในภาษาสเปน el niño ซึ่งแปลว่า “เด็ก” หรื อ “เด็กผูช้ าย” หากใช้อกั ษรตัวใหญ่นาหน้าซึ่ งก็คือ
El Niño จะหมายลึงบุตรของพระเยซู
http://www.pmel.noaa.gov/tao/elnino/el-nino-story.html
ปรากฎการณ์ เอลนิโญ
• ในปลายศตวรรษที่ 19 นักคณิ ตศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ Gilbert Walker ได้ให้
นิยาม Southern Oscillation ว่าเป็ นการหมุนเวียนของความกดอากาศเหนือ
พื้นน้ าทะเลที่เปลี่ยนแปลงในพื้นที่ต่าง ๆ ตลอดเขตร้อนของมหาสมุทรแปซิ ฟิก ซึ่ งใน
ขณะนั้นเขาได้ทาการบันทึกข้อมูลความกดอากาศในหลายตาแหน่งเช่น ดาร์ วิน
ประเทศออสเตรเลีย, เกาะแคนตัน บริ เวณตอนกลางของมหาสมุทรแปซิ ฟิก และ
ซานติเอโก ประเทศชิลี เป็ นต้น
• ต่อมานักวิจยั ได้เลือกศึกษาการเปลี่ยนแปลงเพียงสองตาแหน่งคือที่ตาฮิติและดาร์วิน
โดยการหาความแตกต่างของความกดอากาศของทั้งสองตาแหน่งนี้
• ที่ความกดอากาศที่ตาฮิติลบด้วยความกดอากาศที่ดาร์วิน และแปลงให้เป็ นค่าดัชนีแล้ว
เรี ยกว่า Southern Oscillation Index (SOI) ซึ่ งเมื่อค่าดัชนี้มีคา่ ลบจะ
พบว่าในขณะที่เกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ (El Nino) หรื อหากค่าดัชนีมีคา่ บวกจะ
พบว่าเกิดปรากฏการณ์ลานิญา (La Nina) ซึ่ งเป็ นปรากฏการณ์เกิดลักษณะอากาศ
ที่มีความผิดปกติตรงข้ามกับปรากฏการณ์เอลนิโญ
SOI = PTahiti - PDarwin
www.usda.gov/oce/ waob/jawf/enso/forum.htm
www.icess.ucsb.edu/ esrg/el_nino_events/start.html
ปรากฎการณ์ เอลนิโญ
• ตัวอย่างภัยพิบตั ิที่เกิดจากปรากฏการณ์เอลนิโญที่รุนแรงคือ การเกิดสภาวะภัยแล้ง
อย่างรุ นแรงใน ออสเตรเลีย ในปี 1982-1983 และ ปี 1997-1998 ซึ่ งการเกษตรเสี ยหาย
มากทั้งพืชและสัตว์เศรษฐกิจ ขณะเดียวกันกับที่ออสเตรเลียประสบภัยแล้งในอีกซึ ก
หนึ่งของโลกกลับเกิดสภาวะฝนตกหนักผิดปกติทาให้น้ าท่วมรุ นแรงเสี ยหายใน
อเมริ กาใต้ดว้ ยสาเหตุจากปรากฏการณ์เอลนิโญเช่นเดียวกัน
• ส่ วนชีวภาคของโลกเราลูกผลกระทบจากเอลนิโญอย่างมากมายรุ นแรงสิ่ งที่ตอ้ ง
คานึงลึงและเห็นได้ชดั เจนที่สุดคือ มวลชีวติ เล็กๆ ที่อาศัยอยูท่ ี่พ้นื ผิวน้ า
(Planktonic Organiams และอื่นๆ) ที่เป็ นตัวสาคัญของฐานปิ
รามิด ห่วง
Trough
โซ่อาหาร ลูกทาลายลงส่ วนอื่นๆ ก็จะพิบตั ิตามไปด้วย สัตว์น้ าใหญ่ข้ ึนมา นกทะเล
ตลอดจนมวลมนุษย์กล็ กู กระทบอย่างเลี่ยงไม่ได้ ในปี 1972 อุตสาหกรรม การประมง
ของเปรู เกือบลึงภัยพิบตั ิเพราะปรากฏการณ์เอลนิโญนี้
www.usda.gov/oce/ waob/jawf/enso/forum.htm
หลังจากที่มีการค้นพบปรากฏการณ์เอลนิโญ ประมาณ 20 ปี (1990’s) นักวิทยาศาสตร์ได้พบ
ปรากฏการณ์ที่มีลกั ษณะตรงกันข้ามกับปรากฏการณ์เอลนิโญ กล่าวคืออุณหภูมิที่ผวิ น้ าทะเล
เย็นกว่าปกติ และเรี ยกปรากฏการณ์น้ ีวา่ La Nina
http://www.pmel.noaa.gov/tao/elnino/el-nino-story.html
3.2.2 ภาวะเรือนกระจก
• สภาวะเรื อนกระจก หรื อ Greenhouse Effect อัน
เนื่องมาจากบรรยากาศชั้นใกล้ผวิ โลกร้อนขึ้น (Global
Warming)
ภาวะเรือนกระจก (ต่ อ)
เรื อนกระจกโดยทั่วไป (Greenhouse)
• โรงเรื อนสาหรับปลูกพืชเฉพาะอย่างโดยทัว่ ๆ ไป มุงและล้อมด้วยกระจกใส หรื อแผ่น
พลาสติกใสหรื อวัตลุโปร่ งใสอื่นๆ โรงเรื อนเหล่านี้สร้างขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ
กิจ เพื่อต้องการให้อุณหภูมิภายในเรื อนกระจกนั้นสู งกว่าภายนอก
• การที่ภายในเรื อนกระจกมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าภายนอกได้กเ็ พราะแสงอาทิตย์ซ่ ึ งส่ วน
ใหญ่เป็ นรังสี คลื่นสั้น (Short Wave Radiation) ส่ องผ่านเรือนกระจกเข้ ามาได้
แต่เมื่อรังสี คลื่นสั้นนี้กระทบต้นไม้หรื อสิ่ งต่างๆ ภายในตัวเรื อน รังสี บางส่ วนจะ
สะท้อนกลับออกมาเป็ นรังสี คลื่นยาว (Long Wave Radiation) และมันไม่
สามารถผ่านสิ่ งปกคลุมโปร่ งใสเหล่านั้นได้ รังสี คลื่นยาวนี้กจ็ ะลูกสะสมในตัวเรื อน
ทาให้ภายในมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิภายนอก
ปรากฏการณ์เรื อนกระจก
• ก๊าซเรื อนกระจกจะยอมให้รังสี แสงอาทิตย์ผา่ นเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลก (รังสี คลื่น
สั้น) แต่จะดูดกลืนรังสี คลื่นยาว (อินฟราเรด) เอาไว้ในชั้นบรรยากาศ ดังนั้นชั้นบรรยากาศ
จึงกระทาตัวห่อหุม้ หรื อเก็บความร้อน
• ก๊าซเรื อนกระจก ประกอบด้วย CO2, CH4, N2O (Nitrous Oxide), O3, CFC
(Chloroflourocarbons or Freons) และน้ า เป็ นต้น
• CFC นอกจากจะเป็ นกาซเรื อนกระจกแล้ว CFC ยังทาลายปริ มาณโอโซนในบรรยากาศ ซึ่ ง
ผลที่ตามมาคือรังสี UV ซึ่งลูกดูดซับในบรรยากาศชั้นที่มีโอโซนน้อยลง ในขณะเดียวกัน
โอโซนสามารลลดปริ มาณรังสี คลื่นสั้นที่ทะลุผา่ นเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลก ดังนั้น
การลดปริ มาณโอโซนในบรรยากาศทาให้ปรากฏการณ์เรื อนกระจกมีความรุ นแรงขึ้น จึ้งมี
การเสนอในสนธิสญ
ั ญามอนทริ ออลในการยกเลิกการใช้สาร CFC ในปี ค.ศ. 1997 (The
Montreal protocol 1997)
http://www.john-daly.com/)
ภาวะโลกร้อน
• อุณหภูมิเฉลี่ยในบริ เวณเขตอาร์คติกกาลังเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าเมื่อเทียบ
กับส่ วนอื่นของโลก
• ภูเขาน้ าแข็งบริ เวณอาร์คติกกาลังบางลงเรื่ อย ๆ นัน่ คือมีการละลาย
และแยกออกจากกัน
• ภูเขาน้ าแข็งบริ เวณขั้วโลกกาลังลดขนาดลงเรื่ อย ๆ จากภาพล่ายจาก
ดาวเทียมของ NASA แสดงให้เห็นบริ เวณที่มีน้ าแข็งปกคลุมตลอด
ทั้งปี กาลังลดขนาดลงด้วยอัตรา 9% ในระยะเวลา 10 ปี ล้าแนวโน้ม
นี้ยงั คงดาเนินต่อไป ฤดูร้อนในอาร์คติจะปราศจากน้ าแข็งภายใน
ปลายศตวรรษนี้
(http://www.nrdc.org/globalwarming/qthinice.asp)
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1979 ขนาดของน้ าแข็งที่ปกคลุมบริ เวณขั้วโลกเหนือ ลดลงมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์
(ภาพจาก NASA)
สาเหตุของการเกิดสภาวะโลกร้ อน
• Carbon dioxide และสารมลพิษต่าง ๆ ที่สะสมอยูใ่ นชั้นบรรยากาศ จะเป็ นกัก
ความร้อนจากแสงอาทิตย์ทาให้มีการสะสมความร้อนในชั้นบรรยากาศ ซึ่ ง
เป็ นสาเหตุทาให้อุณหภูมิเพิ่มสู งขึ้น ตัวอย่างของแหล่งที่ผลิตมลพิษ เช่น
โรงงานล่านหิ นของสหรัฐอเมริ กา เป็ นแหล่งที่ปลดปล่อยปริ มาณก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ที่ใหญ่ที่สุด โดยมีปริ มาณ 2.5 พันล้านตันต่อปี
โรงงานผลิตรลยนต์เป็ นแหล่งปลดปล่อยที่ใหญ่อนั ดับที่สอง คือประมาณ 1.5
พันล้านตันต่อปี
• แต่ในปั จจุบนั ด้วยเทคโนโลยีที่ทนั สมัยมากขึ้นอุตสาหกรรมการผลิตรลยนต์
ทาให้มีการเผาไหม้นอ้ ยลง และโรงงานไฟฟ้ าที่ทาการผลิตกระแสไฟฟ้ า
ก่อให้เกิดมลพิษเข้าสู่ ช้ นั บรรยากาศน้อยลง
ภาวะเรือนกระจก (ต่ อ)
ที่มา : ดัดแปลงจาก Climate Change 2001: Scientific Basis
การเพิ่มของระดับน้ าทะเล
• ล้าสภาวะเรื อนกระจกเกิดขึ้นจริ งๆ น้ าทะเลจะท่วมไปลึงแค่ไหนใน
แผ่นดินเป็ นสิ่ งที่ทุกคนอยากทราบ เพราะจะมีผลกระทบต่อลิ่นที่อยู่
อาศัย โดยเฉพาะแลบชายทะเล อีกสิ่ งหนึ่งที่เป็ นผลกระทบโดยรวม
ก็คือระบบชีวภาค โดยเฉพาะพืชที่วิ่งหนีไม่ได้หรื อสัตว์บางชนิดที่
ปรับตัวไม่ได้ การศึกษาเรื่ องยุคน้ าแข็ง ทาให้เราพอจะทราบได้บา้ ง
ว่าล้าสภาวะเรื อนกระจกเกิดจริ งน้ าจะท่วมไปแค่ไหน
การเพิ่มของระดับน้ าทะเล (ต่อ)
• ในช่วงเวลา 20,000 ปี ที่อยูใ่ นยุคน้ าแข็ง ระดับน้ าทะเลมีการเพิ่ม-ลด
อยูห่ ลายครั้ง ตอนที่มีน้ าแข็งมากที่สุดคือ ประมาณ 18,000 ปี มาแล้ว
(ตอนต้นๆ ยุค) ระดับน้ าทะเลต่ากว่าระดับปัจจุบนั ลึง 100 เมตร
http://freespace.virgin.net/mark.davidson3/sea_level_rise/past.htm
ระดับน้ าทะเลในช่วง 300 ปี (ค.ศ. 1700-2000) ที่ผา่ นมาในสลานที่ต่าง ๆ
หน่วยที่ใช้คือ ± 100 มม. (ดัดแปลงจาก woodworth, 1999a)
การประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงระดับน้ าทะเลจากแบบจาลองโดยใช้ค่าความเข้มข้นของแก๊สเรื อน
กระจกในศตวรรษที่ 20 เพื่อประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงระดับน้ าทะเลในศตวรรษที่ 21
(ดัดแปลงจาก IPCC: Climate Change 2001)
Sea Level Rise
Modeling the glacial isostatic adjustment yields present-day rates of relative sea-level
(RSL) rise for the whole globe (central panel). Surrounding the panel are plots of RSL
records at eight geographical locations. In each plot, the records are determined by
carbon-14 dating of individual geological indicators of past sea level and are compared
with the RSL history predicted by the model.
(American Institute of Physics)
U.S. East Coast
20,000 years ago
(400 feet/170m
below today)
Northern Europe
20,000 years ago
(400 feet/170m
below today)
U.S. East Coast
if West sheet melted
(17-foot/5m rise)
Northern Europe
if West sheet melted
(17-foot/5m rise)
U.S. East Coast
if East sheet melted
(170-foot/50m rise)
Northern Europe
if East sheet melted
(170-foot/50m rise)
Southeast Asia
20,000 years ago (400 feet/170m below today)
Southeast Asia
if West sheet melted (17-foot/5m rise)
Southeast Asia
if East sheet melted (170-foot/50m rise)
William Haxby,Adjunct Research Scientist
Lamont-Doherty Earth Observatory
Images: William Haxby http://www.pbs.org/wgbh/warming/waterworld/