การประเมินผล สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการ บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” โดย รจนา สินที หัวหน้ากลุ่มโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ สานักกิจการพิเศษ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่สถานศึกษา (๒๕๕๐-๒๕๕๔) เป้าหมาย ระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๐ กาหนดให้มีสถานศึกษาที่สามารถ เป็ นแบบอย่างในการจัดกระบวรการเรียนการสอนและ การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ไม่ต ่ากว่า ๘๐ แห่ง ผล ๑๓๕ แห่ง.

Download Report

Transcript การประเมินผล สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการ บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” โดย รจนา สินที หัวหน้ากลุ่มโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ สานักกิจการพิเศษ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่สถานศึกษา (๒๕๕๐-๒๕๕๔) เป้าหมาย ระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๐ กาหนดให้มีสถานศึกษาที่สามารถ เป็ นแบบอย่างในการจัดกระบวรการเรียนการสอนและ การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ไม่ต ่ากว่า ๘๐ แห่ง ผล ๑๓๕ แห่ง.

การประเมินผล
สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการ
บริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“สถานศึกษาพอเพียง”
โดย
รจนา สินที
หัวหน้ากลุ่มโครงการอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ
สานักกิจการพิเศษ
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์ขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่สถานศึกษา (๒๕๕๐-๒๕๕๔)
เป้าหมาย
ระยะที่ ๑ ปี ๒๕๕๐ กาหนดให้มีสถานศึกษาที่สามารถ
เป็ นแบบอย่างในการจัดกระบวรการเรียนการสอนและ
การบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ไม่ต ่ากว่า ๘๐ แห่ง ผล ๑๓๕ แห่ง
ระยะที่ ๒ ปี ๒๕๕๑-๒๕๕๒ กาหนดให้มีสถานศึกษาที่
สามารถเป็ นแบบอย่างในการจัดกระบวรการเรียนการ
สอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ทุกจังหวัด ๘๐๐ แห่ง
ผล ๑,๑๒๖ แห่ง
ระยะที่ ๓ ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๔ พัฒนาให้สถานศึกษา
สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ใน
การจัดกระบวรการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ
ที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้ครบทุก
แห่งทั ่วประเทศ
ผลการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภาคการศึกษา
เห็นชอบให้มีการขยายผลการประเมินสถานศึกษา
เพื่อเป็ นสถานศึกษาพอเพียง โดย
๑. ใช้เครื่องมือและเกณฑ์การประเมิน ๕ ด้าน
๒.ให้มีคณะกรรมการประเมินที่ผ่านการอบรมและได้รบั
แต่งตัง้ จากกระทรวง จานวน ๒ใน ๓
๓. ให้มีการสุม่ ตรวจผลการประเมินจากคณะกรรมการจาก
ส่วนกลาง
๔. ศธ. ประกาศให้เป็ นสถานศึกษาพอเพียง
วิธีการ
๑. ศธ. อบรมผูท้ ี่จะเป็ นกรรมการประเมินเป็ นโดยให้แต่
ละเขตส่งผูท้ ี่จะทาหน้าที่ประเมิน
๒. ศธ.แต่งตัง้ ผูผ้ ่านการอบรมเป็ นรายจังหวัด
๓. สถานศึกษาที่สมัครใจรับการประเมิน ประเมินตนเอง
๔. แต่ละจังหวัดประเมินโดยไขว้เขตพื้นที่
๕. ศธ. จัดทาประกาศสถานศึกษาพอเพียง รับเกียรติบตั ร
จัดทาป้าย สถานศึกษาพอเพียง ....
หน่วยประสานงาน
ศูนย์ขบั เคลื่ อนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ
สานักกิจการพิเศษ (อาคารเสมารักษ์ช้นั ๓)
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ถนนราชดาเนินนอก เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๖๒๘ ๖๓๙๘-๙ ๐ ๘๙๙๖๕ ๖๕๔๖
โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๖๔๐๐
๐ ๒๖๒๘ ๖๓๙๖
www.moe.go.th subschool.net
E-Mail:[email protected]