ฝายต้ นนา้ ลาธาร CHECK DAM ฝาย (CHECK DAM) คือ สิ่งก่อสร้ างขวาง หรือกั้นทางนา้ ลาห้ วย ลาธารขนาดเล็กในบริเวณทีเ่ ป็ นต้ นนา้ หรือ พืน้ ทีท่ มี่

Download Report

Transcript ฝายต้ นนา้ ลาธาร CHECK DAM ฝาย (CHECK DAM) คือ สิ่งก่อสร้ างขวาง หรือกั้นทางนา้ ลาห้ วย ลาธารขนาดเล็กในบริเวณทีเ่ ป็ นต้ นนา้ หรือ พืน้ ทีท่ มี่

ฝายต้ นนา้ ลาธาร
CHECK DAM
ฝาย (CHECK DAM) คือ สิ่งก่อสร้ างขวาง หรือกั้นทางนา้
ลาห้ วย ลาธารขนาดเล็กในบริเวณทีเ่ ป็ นต้ นนา้ หรือ พืน้ ทีท่ มี่ คี วามลาด
ชันสู งให้ สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากช่ วงทีน่ า้ ไหลแรงก็สามารถ
ชะลอการไหลของนา้ ให้ ช้าลง และกักเก็บตะกอนไม่ ให้ ไหลลงไปทับถม
ลานา้ ตอนล่ าง ซึ่งเป็ นวิธีการอนุรักษ์ ดนิ และนา้ ได้ ดมี ากวิธีการหนึ่ง (กรม
ป่ าไม้ ได้ เริ่มดาเนินการตั้งแต่ ปี 2537)
“ เป็นแนวพระราชดำริ ทฤษฎีการพัฒนาและฟื้นฟูป่าไม้ โดยการใช้
ทรั พยากรที่เอื้ออานวยสัมพันธ์ ซึ่งกันและกันให้ เกิดประโยชน์ สูงสุด”
ป่ าต้ นน ้าสมบูรณ์
อาหาร
ป่ าต้ นน ้า
ใช้ สอย
สมุนไพร
1. ฝายต้ นน ้าลาธารแบบผสมผสาน
ปลูกเสริ ม
ฝายผสมผสาน
อุปโภค
บริ โภค
เลี ้ยงสัตว์
2. ฝายกึ่งถาวร 3 เมตร
3. ฝายต้ นน ้าลาธารแบบถาวร
ขนาด 5 เมตร
เกษตรสวนครัว
ระบบประปาชุมชน
1
1
3
มโนทัศน์ ในการสร้ างฝายต้ นนา้ ลาธาร เพื่อฟื ้ นฟูระบบนิเวศเสริ มสร้ าง
เศรษฐกิจชุมชน
2 3
1
1
3
2
2
11
1
1
1
2
1
2 2 2 2
1
1 1
1
1
พระราชดารัสเกีย่ วกับ CHECK DAM
“ ให้พิจารณาดำเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้วัสดุ
ราคาถกู และหาง่ ายในท้ องถิน่ เช่ น แบบหินทิง้ คลมุ ด้ วยตาข่ ายปิ ดกัน้
ร่ องน้ากับลาธารขนาดเล็กเป็ นระยะๆ เพือ่ ใช้ เก็บกักน้าและตะกอนดินไว้
บางส่ วน โดยน้าทีก่ กั เก็บไว้ จะซึมเข้ าไปในดินทาให้ ความช่ ุมชื้นแผ่ ขยาย
ออกไปทัง้ สองข้ าง ต่ อไปจะสามารถปลกู พันธ์ ไุ ม้ ป้องกันไฟ พันธ์ ไุ ม้
โตเร็ วและพันธ์ ไุ ม้ ไม่ ทิง้ ใบ เพือ่ ฟื้ นฟูพนื้ ทีต่ ้ นน้าลาธารให้ มสี ภาพ
เขียวชอ่ มุ ขึ้นเป็ นลาดับ ”
พระราชดารัสเกีย่ วกับ CHECK DAM
เมือ่ วันที่ 1 มีนาคม 2521 ณ อาเภอแม่ ลาน้ อย จังหวัดแม่ ฮ่องสอน
“… สำหรับต้นน้ำไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างลำห้วย จาเป็ นต้ อง
รั กษาไว้ ให้ ดี เพราะจะช่ วยเก็บรั กษาความช่ ุมชื้นไว้ ส่ วนตามร่ องน้าและ
บริ เวณทีน่ ้าซับก็ควรสร้ างฝายขนาดเล็กกัน้ น้าไว้ ในลักษณะฝายช่ ุมชื้น
แม้ จะมีจานวนน้ อยก็ตาม สาหรั บแหล่ งน้าทีม่ ปี ริ มาณน้ามาก จึงสร้ าง
ฝายเพือ่ ผันน้าลงมาใช้ ในพืน้ ทีเ่ พาะปลกู ”
พระราชดารัสเกีย่ วกับ CHECK DAM
เมือ่ วันที่ 11 มีนาคม 2532 ณ ดอยอ่ างขาง อาเภอฝาง จังหวัดเชี ยงใหม่
“ ควรสร้างฝายลำธารตามร่องน้ำเพื่อช่วยชะลอกระแสน้ำและ
เก็บกักน้าสาหรั บสร้ างความช่ ุ มชื้ นให้ กบั บริ เวณต้ นน้า …”
วัตถุประสงค์ การสร้ าง
1. เพื่อชะลอการไหลและลดความรุนแรงของกระแสน้ำในลำธาร
ไม่ ให้ ไหลหลาก อย่ างรวดเร็วและทาให้ นา้ ซึมลงสู่ ดนิ ได้มากขึน้ เพิม่ ความ
ชุ่มชืน้ ส่ งผลให้ เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ ป่ าต้ นนา้
ลาธาร
2. เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดการชะล้างพังทลายของดิน
และสามารถกักเก็บตะกอนและเศษซากพืชทีไ่ หลลงมากับนา้ ในลาธารบนพืน้ ที่
ต้ นนา้ ลาธารซึ่งจะช่ วยยืดอายุ ของแหล่ งนา้ ตอนล่ างให้ ตนื้ เขินช้ าลง และ
ทาให้ มปี ริมาณและคุณภาพของนา้ ที่ดขี นึ้
วัตถุประสงค์ การสร้ าง(ต่ อ)
3. เพื่อกักเก็บน้ำไว้เป็นแหล่งน้ำสำหรับใช้ในการ
อุปโภคบริโภคของมนุษย์ และสั ตว์ ป่าตลอดจนการเกษตรกรรม
รู ปแบบของ CHECK DAM
1. ชนิดผสมผสาน
2. ชนิดกึง่ ถาวร
3. ชนิดถาวร
รูปแบบของการก่ อสร้ าง
แบบที่ 1 ฝายต้ นนา้ ลาธารแบบผสมผสาน
เป็ นโครงสร้ างที่สร้ างขึน้ เป็ นการชั่วคราว เพือ่ ขวางทางเดินของนา้ ในลาธาร หรือ
ร่ องนา้ อายุของโครงสร้ างประเภทนีข้ นึ้ อยู่กับวัสดุที่ใช้ เป็ นสาคัญ โดยทั่วไปควร มีอายุการ
ใช้ งานประมาณ 3-5 ปี และเป็ นโครงสร้ างที่สามารถทาได้อย่างรวดเร็วด้วยวัสดุที่ หาง่าย
และราคาถูก โดยใช้ วสั ดุที่มีอยู่ในท้ องที่น้นั ได้แก่ กิ่งไม้ ใบไม้ เสาไม้ ก้ อนหิน กระสอบทราย
ผสมซีเมนต์ หรือลวดตาข่าย หรือวัสดุที่คล้ ายคลึงกันที่สามารถสร้ างโครงสร้ างชั่วคราวนีไ้ ด้
ความสู งทั้งหมดของโครงสร้ างประมาณ 1 เมตร ราคาแห่ งละ 5,000 บาท เป็ นค่ าจ้ างแรงงาน
3,500 บาท และค่ าวัสดุ 1,500 บาท อาจมีชื่อเรียกตามวัสดุทใี่ ช้ หรือลักษณะทีส่ ร้ าง อาทิ ฝาย
ผสมผสานแบบไม้ไผ่ ฝายผสมผสานแบบคอกหมู ฝายผสมผสานแบบกระสอบ ฝายผสมผสาน
แบบหินทิง้ และฝายผสมผสานแบบลวดตาข่าย เป็ นต้ น
รูปแบบของการก่ อสร้ าง
แบบที่ 1 ฝายต้ นนา้ ลาธารแบบผสมผสาน (ต่อ)
ตาแหน่ งของโครงสร้ างควรจะเป็ นบริเวณตอนบนของลาห้ วย
หรือร่ องนา้ (first order) และสร้างห่างกันโดยให้สันของฝายที่ต่ำกว่า
อยู่สูงเท่ ากับฐานของฝายทีอ่ ยู่ถัดขึน้ ไป แต่ อย่ างไรก็ตามก็ขนึ้ อยู่กบั
การตัดสิ นใจในพืน้ ทีเ่ ป็ นสาคัญโดยจะสามารถดักตะกอน ชะลอการ
ไหลของนา้ และเพิม่ ความชุ่ มชื้นบริเวณรอบฝาย
รูปแบบของการก่ อสร้ าง
แบบที่ 2 ฝายต้ นนาลาธารแบบกึง่ ถาวร ขนาดประมาณ 3 ม.
มีลกั ษณะฝายทีส่ ร้ างด้ วยคอนกรีตเสริมเหล็ก คอนกรีตอัดแรง หรือ
ก่ ออิฐถือปูน สร้ างทีล่ าธารกว้ างไม่ เกิน 3 เมตร ราคาแห่ งละ 25,000
บาท แยกเป็ นค่ าจ้ างแรงงาน 10,000 บาท และค่ าวัสดุ 15,000 บาท
ตาแหน่ งโครงสร้ างควรสร้ างบริเวณตอนกลาง และตอนล่ าง
ของลาธารหรือร่ องนา้ (second order) โดยจะสามารถดักตะกอน
และเก็บกักนา้ ได้ บางส่ วนในช่ วงฤดูแล้ ง
รูปแบบของการก่ อสร้ าง
แบบที่ 3 ฝายต้ นนา้ ลาธารแบบถาวร ขนาดความกว้ าง
ประมาณ 5 เมตร มีลกั ษณะฝายทีส่ ร้ าง ด้ วยคอนกรีตเสริม
เหล็ก คอนกรีตอัดแรง หรือก่ ออิฐถือปูน สร้ างทีล่ าธารกว้ าง
ไม่ เกิน 5 เมตร ราคา แห่ งละ 50,000 บาท แยกเป็ นค่ าจ้ าง
แรงงาน 12,500 บาท และค่ าวัสดุ 37,500 บาท
รูปแบบของการก่ อสร้ าง
แบบที่ 3 (ต่อ) ตำแหน่งโครงสร้ำงควรสร้ำงบริ เวณตอนปลำย
ของลำธำรหรื อร่ องน้ ำ (second or third order) โดยจะสามารถดักตะกอน
และเก็บกักนา้ ในฤดูแล้งได้ดี สามารถอานวยประโยชน์ เป็ นแหล่งนา้ ของ
ชุมชนได้อกี ทางหนึ่งด้วย แต่ตอ้ งระมัดระวังในกำรกำหนดตำแหน่งของ
โครงสร้ำงและระดับของโครงสร้ำงแต่ละแห่งให้เหมำะสมกัน กล่ำวคือ
สันของโครงสร้ างทีอ่ ยู่ต่ากว่าจะต้ องสู งเสมอฐานของโครงสร้ างทีอ่ ยู่
เหนือขึน้ ไป ซึ่งมีแบบโครงสร้ำงมำตรฐำนในกำรก่อสร้ำง สำมำรถ
ประสำนในรำยละเอียดที่หน่วยงำนสนำมในพื้นที่
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยจัดการต้ นนา้ ทุ่งลุยลาย อาเภอคอนสาร
จังหวัดชัยภูมิ
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ ลาพระเพลิง อาเภอปากช่ อง จังหวัดนครราชสีมา
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยจัดการต้ นนา้ แม่ ซ้าย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยจัดการต้ นนา้ ห้ วยจะค่ าน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยจัดการต้ นนา้ เขามดแดง อาเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยจัดการต้ นนา้ ขุนแม่ แตง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ คลองอู่ตะเภา อาเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ คลองอู่ตะเภา อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ คลองอู่ตะเภา อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ชนิดผสมผสาน
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ คลองอู่ตะเภา อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ชนิดกึง่ ถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ ภูไท อาเภอท่ าตะเกียบ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ชนิดกึง่ ถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ ขุนแม่ แจ่ ม อาเภอแม่ แจ่ ม จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดกึง่ ถาวร
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ พะโต๊ ะ อาเภอพะโต๊ ะ จังหวัดชุมพร
ชนิดกึง่ ถาวร
หน่ วยจัดต้ นนา้ ปางเสด็จ อาเภอแม่ แตง จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดกึง่ ถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ แม่ อวม อาเภอแม่ แจ่ ม จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดกึง่ ถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ แม่ ต๋า อาเภอดอกคาใต้ จังหวัดพะเยา
ชนิดถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ หลังสัน อาเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
ชนิดถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ แม่ งา อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
ชนิดถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ แม่ ศึก อาเภอแม่ แจ่ ม จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ สบสาย อาเภอท่ าวังผา จังหวัดน่ าน
ชนิดถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ สบสาย อาเภอท่ าวังผา จังหวัดน่ าน
ชนิดถาวร
หน่ วยจัดการต้ นนา้ ขุนคอง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
ชนิดถาวร
หน่ วยอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้ แม่ เสริม อาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง
ข้ อควรคานึงในการสร้ างฝายต้ นนา้ ลาธาร
1. ควรสารวจสภาพพืน้ ที่ วัสดุก่อสร้ างตามธรรมชาติ และรู ปแบบ
ของฝายต้ นนา้ ลาธารทีเ่ หมาะสมกับภูมปิ ระเทศให้ มากทีส่ ุ ด
2. ต้ องคานึงถึงความแข็งแรงให้ มากพอทีจ่ ะไม่ เกิดการพังทลาย
เสี ยหายยามทีฝ่ นตกหนักและกระแสนา้ ไหลแรง
3. ควรก่ อสร้ างในบริเวณลาห้ วยทีม่ คี วามลาดชั นต่าและแคบ เพือ่
จะได้ ฝายต้ นนา้ ลาธารในขนาดทีไ่ ม่ เล็กเกินไป อีกทั้งยังสามารถกักนา้
และตะกอนได้
4. สาหรับฝายกึง่ ถาวรและฝายถาวรควรก่ อสร้ างฐานให้ ลกึ ถึง หิน
ดานร่ องห้ วย (bedrock)
ข้ อควรคานึงในการสร้ างฝายต้ นนา้ ลาธาร (ต่อ)
5. วัสดุก่อสร้ างฝายต้นนา้ ลาธาร ประเภทกิง่ ไม้ ท่อนไม้ ทีน่ ามาใช้
ในการสร้ างจะต้องระมัดระวังใช้ เฉพาะไม้ ล้มขอนนอนไพรเป็ นลาดับ
แรก ก่ อนทีจ่ ะใช้ กงิ่ ไม้ ท่ อนไม้ จากการริ ดกิง่ ถ้ าจาเป็ นให้ ใช้ น้อยทีส่ ุ ด
6. จัดลาดับความสาคัญของลาห้ วย และต้ องพิจารณาสภาพ
แวดล้ อมและความรุ นแรงของปัญหาในพืน้ ทีเ่ ป็ นสาคัญ หากมีสภาพป่ า
ทีค่ ่ อนข้ างสมบูรณ์ หรือมีต้นไม้ หนาแน่ น ความจาเป็ นก็จะลดน้ อยลง
อาจจะสร้ างบางจุดเสริมเท่ านั้น
การบารุ งรักษาฝายต้ นนา้ ลาธาร
เนื่ องจำกฝำยแต่ละชนิ ดมีกำรใช้วสั ดุและมีอำยุกำรใช้งำนต่ำงกัน
วัสดุ แต่ละอย่ำงที่ใช้อำจเสื่ อมสลำยตำมธรรมชำติ ฉะนั้นควรมีกำรบำรุ ง
รักษำให้อยูใ่ นสภำพที่สมบูรณ์ และเป็ นปกติในแต่ละปี ก่อนฤดูฝนจะมำ
ถึง เช่น ถ้ำหำกเป็ นฝายเศษไม้ หรือฝายกระสอบทรายควรมีการซ่ อมแซม
เสาหลักและเพิ่มเติมส่ วนประกอบทีช่ ารุด ส่ วนฝายกึง่ ถาวรและฝายถาวร
นั้น ควรหมัน่ ตรวจรอยรั่วซึมของนา้ บนตัวฝายตลอดจนสิ่ งกีดขวางทาง
นา้ เป็ นประจาทุกปี ส่ วนฝำยที่มีวตั ถุประสงค์ในกำรเก็บกักน้ ำเพื่อ
ประโยชน์ดำ้ นใดด้ำนหนึ่ง ถ้ำหำกมีตะกอนทับถมมำกควรมีกำรขุดลอก
เพื่อให้มีพ้นื ที่กกั เก็บน้ ำได้เพียงพอ
ประโยชน์ ของฝายต้ นนา้ ลาธาร
1. ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน และลดความรุนแรงของ
กระแสนา้ ในลาธาร ทาให้ ระยะเวลาการไหลของนา้ เพิม่ มากขึน้ ความ
ชุ่ มชื้นเพิม่ ขึน้ และแผ่ ขยายกระจายความชุ่ มชื้นออกไปเป็ นวงกว้ างใน
พืน้ ทีท่ ้งั สองฝั่งของลาห้ วย
2. ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่าง ๆ ที่ไหลลงมากับน้ำในลำห้วย
ได้ ดี เป็ นการช่ วยยืดอายุแหล่ งนา้ ตอนล่ างให้ ตนื้ เขินช้ าลง คุณภาพของ
นา้ มีตะกอนปะปนน้ อยลง
3. ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ และการทดแทนของ
สั งคมพืชให้ แก่ พนื้ ทีโ่ ดยรอบ
ประโยชน์ ของฝายต้ นนา้ ลาธาร
4. ทำให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ และใช้เป็นแหล่งน้ำ
เพือ่ การอุปโภคบริโภคของมนุษย์ และสั ตว์ ป่าต่ าง ๆ ตลอดจนนาไปใช้
ในการเกษตรได้ อกี ด้ วย
5. ช่ วยลดความรุ นแรงของการเกิดไฟป่ าในฤดูแล้ ง