Pneumonia - สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบำบัดวิกฤตในเด็ก

Download Report

Transcript Pneumonia - สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบำบัดวิกฤตในเด็ก

Slide 1

Pneumonia
aspect for nurses
ผศ.พญ.อาภัสสร วัฒนาศรมศิริ


Slide 2

อุบตั ิการณ์
• สาเหตุของการเสี ยชีวติ อันดับ1ของโรคติดเชื้อในเด็ก < 5 ปี
• พบ8-10% ของการติดเชื้อระบบหายใจ


Slide 3

คาจากัดความ
• pneumonia
– การอักเสบของเนื้อปอด
• Terminal, respiratory bronchiole
• Alveoli
• Interstitium
• Community acquired pneumonia
– ไม่ได้รับการรักษาในร.พ. 4-14 วันก่อนมีอาการ
• Typical
– ไข้ หนาวสัน่ ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก
• Atypical
– Gradual onset
– ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ไอแห้ง ไข้ต่า


Slide 4

พยาธิ กาเนิด
• เชื้อก่อโรค: อายุ, สภาพแวดล้อม, ภูมิตา้ นทาน

• ทางเข้าของเชื้อ
• Direct contact with respiratory
droplet

• Physical transfer of respiratory
secretion
• Aspiration of upper airway flora

• Hematogenous


Slide 5

พยาธิ กาเนิด
• ปั จจัยสนับสนุน
impair defense mechanism
– ตามหลังการติดเชื้อไวรัส
– ได้รับเชื้อปริ มาณมาก
– ได้รับเชื้อที่รุนแรง
• 25-75% ของการติดเชื้อ bacteria เกิดตามหลัง virus


Slide 6

การติดเชื้อไวรัส

การทาลายของciliated
epithelium

มีMononuclear cellและ
การบวมใน submucosa

debrisในท่อทางเดินหายใจ

มีPMNปริ มาณเล็กน้อย

debrisมากขึ้นจากmucousและเซลล์การอักเสบ
การอุดตันในท่อทางเดินหายใจ
atelectasis

air trapping

normal flora ในnasopharynx หรื อเข้าทางกระแสเลือดผ่านทางเยือ่ บุจมูก


Slide 7

S.aureus, K. pneumoniae

necrosis of intra alveolar septa

destruction

abscess


Slide 8

เชื้อก่อโรคจาแนกตามกลุ่มอายุ
เชื้อก่อโรค

< 3 เดือน

3 เดือน – 5 ปี

>5 ปี

Streptococcus
pneumoniae

+++

+++

+++

viruses

+++

+++

++

Enteric bacilli

+++

+

+

Gr.B streptococci

+++

Chlamydia
trachomatis

+++

+

++

+

+

+

+++

+

absent

+

+

Mycoplasma
pneumoniae

vary rare

++

+++

Chlamydia
pneumoniae

absent

+

++

Staphylococcus
aureus
Haemophilus
influenzae
Gr.A streptococci

absent

absent
very rare


Slide 9

สาเหตุจากเชื้อไวรัส
ไวรัส

อายุ

โรคที่พบร่ วม

หนาว

bronchiolitis

Parainfluenza ก่อนเข้าเรี ยน
virus 1 and 2

ใบไม้ร่วง

croup

Parainfluenza ทารก, ก่อนเข้าเรี ยน
virus 3

ใบไม้ผลิ

Bronchiolitis
croup

ก่อนเข้าเรี ยน
Influenza
viruses A and วัยเรี ยน
B
ทุกกลุ่มอายุ
adenovirus

หนาว

Flu

ตลอดปี

Pharyngitis,
bronchiolitis
bronchitis

RSV

ทารก, ก่อนเข้าเรี ยน

ฤดูกาล


Slide 10

Protective defense mechanism
• nose, nasopharynx :
filtration by nasal hair,
sneezing
• epipharynx : coughing
• vocal cord : expiration
• larynx : coughing( cough
reflex)


Slide 11

mucous blanket
1 mm/min in peripheral airways
2 cm/min in the trachea

pharynx

mucociliary system

swallowed


Slide 12

alveolar macrophage
macrophage
phagocytose FB
mucociliary escalator

leave the lung by lymphatics or blood


Slide 13

bacteria

kill by macrophage

IgA in the mucous


Slide 14

Host defense disorders leading to pneumonia
Host defense
Upper airway
turbinate
epiglottis
Mucociliary clearance
cilia
mucous blanket
cough
Immunoglobulin
IgA
IgG and subclass
IgE

defective in
Intubation
tracheostomy
Infection, ciliary dyskinesia
Bronchitis, cystic fibrosis
Muscle weakness, sedation
IgA deficiency
A(hypo)gammaglobulinemia,IgG
subclass deficiency
hyperIgE


Slide 15

Host defense disorders leading to pneumonia
Host defense
Cellular
alveolar macrophage
PMN
number
motility
function
lymphocyte
number
function
Other
surfactant
complement

Defective in
Steroid, chemotherapy
Chemotherapy, congenital neutropenia
Motility disorder
Chronic granulomatous disease (CGD)
HIV
Severe combined
immunodeficiency(SCID)
Edema
C3, C5 deficiency


Slide 16

ปัจจัยเสี่ ยง
• การติดเชื้อในระบบหายใจส่ วนบน

• เข้ารับการรักษาในร.พ.ในช่วง3เดือน

• อยูใ่ นบริ เวณที่มีผสู้ ูบบุหรี่

• การขาดสารอาหาร

• อยูใ่ นสถานรับเลี้ยงเด็กอ่อน

• มีความผิดปกติของหัวใจ ปอด ภูมิ
ต้านทาน หรื อระบบประสาท

• สถานะทางเศรษฐกิจ
• การคลอดก่อนกาหนด(โดยเฉพาะใน1
ปี แรก)
• Cystic fibrosis


Slide 17

bronchospasm

infection

retained secretion

chronic lung disease
increased work of
breathing

diaphragm fatigue
hypercapnia

hypoxemia


Slide 18

อาการและอาการแสดง
• ขึ้นอยูก่ บั
– อายุ
– เชื้อก่อโรค
– ความรุ นแรงของโรค
• หลายรู ปแบบหรื อไม่มีอาการโดยเฉพาะเด็กเล็ก
• เด็กเล็ก
– ไข้สูง หนาวสัน่ อ่อนเพลีย กระวนกระวาย
– ระบบทางเดินอาหาร: อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด


Slide 19

อาการและอาการแสดง
• ไข้
• ไอ
• หายใจเร็ ว(นับครบ1นาที)
– <2 เดือน >60 ครั้ง
2-12 เดือน >50 ครั้ง
– 1-5 ปี >40 ครั้ง
5-16 ปี >28 ครั้ง
• การหายใจลาบาก (dyspnea)
• เจ็บหน้าอก
• การขาดสารน้ า
• เด็กเล็ก
– อาจตรวจไม่พบcrackles
• ระยะของการนาผ่านของเสี ยงสั้น
• ทรวงอกมีขนาดเล็กและมีปริ มาณของของเหลวในปอดน้อย


Slide 20

อาการและอาการแสดง
• เด็กโต
– เคาะทึบ
– Vocal fremitus

Breath sound
– Bronchial breath sound (consolidation)
– Fine crackles(อาจไม่ได้ยนิ ), rhonchi
• การระคายเคืองบริ เวณ pleura
– เจ็บหน้าอก
– Refer pain: คอ ไหล่ ท้ อง ต้นคอ( meningism)


Slide 21

อาการและอาการแสดง
• Consolidation
– การคลา
• chest expansion


tactile vocal
fremitus

– การเคาะ
• Localized dullness
– การฟัง
• air entry
- localized crackles
• Bronchial breath
sound - Pleural rub


Slide 22

อาการและอาการแสดง
• Hypoxemia
– hyperventilation
– ระบบประสาท: ปวดศีรษะ ง่วงนอน ชัก
– หัวใจ: หัวใจเต้นเร็ ว,ความดันโลหิตสูง
– หัวใจเต้นช้า, ความดันโลหิตต่า
– pulmonary hypertension
• Hypercapnia
– เส้นเลือดที่สมองขยาย
• ปวดศีรษะ
– กระวนกระวาย
– พูดช้าสับสน


Slide 23

อาการและอาการแสดง

• ข้อควรระวัง
– หายใจเร็ว หายใจลาบาก
• Pulse oximetry ติดตามอาการก่อนจะเขียว
– Poor peripheral perfusion, mottling, shock
• การติดเชื้อที่รุนแรง


Slide 24

flaring of alae nasi
suprasternal notch retraction


Slide 25

subcostal retraction


Slide 26

intercostal retraction


Slide 27

อาการและอาการแสดง
อายุ
มีการติดเชื้อในครอบครัว
เริ่ มมีอาการ
ไข้
การหายใจเร็ว
ไอ
อาการร่ วม
การตรวจร่ างกาย

bacterial

viral

ทุกอายุ
พบน้อยกว่า

ทุกอายุ
พบได้บ่อย
ไม่แน่นอน
ไม่แน่นอน
พบได้บ่อย

ฉับพลัน, รุ นแรง
สูง
พบได้บ่อย
มีเสมหะ
Mild coryzaปวดท้อง
Consolidation, few
crackles

ไม่มีเสมหะ
coryza
ไม่แน่นอน,
wheezing


Slide 28

CXR: alveolar( consolidation)
Infected
mucous

acinus
Alveolar wall injury

hematogenous

Edema fluid leak
Rapid spread from pore of Kohn
bronchiole
Adjacent lobules

Terminal airspace

Spare: bronchial wall
Interstitial


Slide 29

CXR: alveolar( consolidation)

• Homogenous opacity
fluffy margin except
fissure


Slide 30

CXR: interstitial(viral)


Slide 31

Bronchovascular
bundle

Interlobular
septa

Increase bronchovascular marking


Slide 32

interstitial+
hyperaeration

Virus, aspiration


Slide 33

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ

– Bacterial: Alveolar infiltration: consolidation
• Lobar, segmental
• Air bronchogram
• Diffuse bilateral bronchopneumonia


Slide 34

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
– Virus, Mycoplasma:
Interstitial infiltration


Bronchovascular
marking

• Peribronchial cuffing การหนา
ตัวของเนื้อเยือ่ รอบถุงลม ผนังกั้นระหว่าง
ถุงลม หลอดเลือด
• Hyperaeration

• Linear, nodule,
honeycomb
• Patchy consolidation
from atelectasis

• Bronchopneumonia (การ
อักเสบเกิดที่ถุงลมด้วย)


Slide 35

consolidation

interstitial


Slide 36

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
• ภาพรังสี ทรวงอก
– Pneumatocele: S. aureus
– Reticulonodular ที่ปอดกลีบเดียว: M.pneumonia
– Round pneumonia: ขนาดใหญ่ มีที่เดียว ขอบไม่ชดั คล้ายเนื้องอก
• คงอยูห่ ลายสัปดาห์แม้อาการปกติแล้ว
– ไม่ตรวจภาพรังสี ทรวงอกซ้ า: นอกจากยังมีอาการ


Slide 37

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
• การเพาะเชื้อจากเลือด
– ผลบวกร้อยละ3-25
– S.aureus
• ร้อยละ33: primary ร้อย
ละ89: disseminated
– การติดเชื้อในร.พ. ผลบวกร้อยละ25
• ส่ องกล้องและทา
bronchoalveolar lavage
– กรณี ที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
• การเก็บสิ่ งส่ งตรวจจากกระเพาะอาหาร
– ไม่มีnormal flora: TB


Slide 38

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
• ESR, CRP: ไม่จาเพาะ
• โซเดียมต่าจากการเพิ่มของ antidiuretic hormone
• การตรวจเสมหะ
– ไม่น่าเชื่อถือโดยเฉพาะต่ากว่า 10 ปี
– อาจมีประโยชน์
• >25 PMN/high power field
• <10 squamous cell
• พบเชื้อเพียงชนิดเดียว
– ใช้ Hypertonic salineร่ วมด้วย


Slide 39

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
• ET tube aspiration
– ภายใน1 ชัง่ โมงแรกหลังจากนั้น
• Floraจาก upper airway
• Inflammatory response จากET tube
• การตรวจหาแอนติเจนของแบคทีเรี ย
– Capsular polysaccharide antigen
– ปั สสาวะ เลือด nasopharynx effusion
• การตรวจหาแอนติเจนของไวรัส
– Nasopharynx: PCR
– Culture
– Serology:IgG, IgM
• M.pneumoniae: cold agglutinin,IgM,IgG, PCR


Slide 40

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
bacteria
เม็ดเลือดขาว

สูง >15,000

virus
ไม่แน่นอน

PMN,toxic granule
ต่ามากกรณี รุนแรง

lymphocyte

ภาพรังสี ทรวงอก

consolidation

ภาวะน้ าในช่องปอด

พบได้บ่อย, เจ็บหน้าอก

bilateral diffuse
interstitial
พบได้นอ้ ย

ESR

สูง

ปกติ


Slide 41

ภาวะแทรกซ้อน
• pleural effusion
• empyema


Slide 42

S.pneumoniae
• เฉี ยบพลัน ไข้ หนาวสัน่ หายใจลาบาก
• Pleural effusion ร้อยละ 20,
empyema
• CXR
– Lobar
– Bulging if fissure
(inflammatory exudate
ปริ มาณมาก)
• แยกจาก Klebsiella
pneumoniae


Slide 43

H. influenzae
• Unilateral consolidation แต่ bilateral ได้
• Pneumatocele พบน้อย
• Pleural effusion: 26-76%
• ที่มีอาการรุ นแรงคือ type b


Slide 44

S.aureus
• อายุเฉลี่ย4.3+/- 2.5 ปี , 32%: ทารก
• อาการรุ นแรงรวดเร็ ว

• Primary: ไม่มีตุ่มหนองหรื อฝี ที่ผวิ หนัง
– Unilateral lobar
• Secondary: มีตุ่มหนองหรื อฝี ที่ผวิ หนัง

– Diffuse bilateral
• Effusion:15% -ระยะแรก 75%-ระยะหลัง
• Pneumatocele 45-68%
• Empyema ,Pneumothorax


Slide 45

S.aureus
• การศึกษาที่สถาบันสุ ขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 1986-1995
– รวบรวมได้27 รายที่สาเหตุเป็ น primary
– 92.6% < 2 ปี (1เดือน-14ปี )
– Lobar consolidation 96.3% Multiple lobe 40.7%
– ตรวจเสี ยงปอดไม่พบความผิดปกติ 11.1%
– ตับโต24.6% ม้ามโต 14.8% ซีด 33.3%
– WBC
• 20,344 +/- 10,266 cell/mm3
• < 15,000: 33.3%
• PMN< 50% : 22.2%


Slide 46

Aspiration pneumonia
• เด็กเล็ก: นม, กรดในกระเพาะอาหาร
• ไข้
• Wheezing: edema,mucous
• การติดเชื้อ แบคทีเรี ยแทรกซ้อน
– Anaerobe จากช่องปาก
• CXR
– ภายใน2 ช.ม.

– Lower lobe, diffuse bilateral
– Perihilar: recurrent microaspiration


Slide 47

posterior

Superior
segment

Basilar
segment


Slide 48

Nasopharyngeal aspiration


Slide 49

TE fistula


Slide 50

ไวรัส
• RSV
– ไข้ต่า
– อาการURI ไอมากและนาน
– Wheezing, rales
– แยกยากจากbronchiolitis
• Influenza
– เด็กโต
– รุ นแรงกว่าไวรัสชนิดอื่น
– ฉับพลัน ไข้สูง 2-3วัน หนาวสัน่ ปวด
กล้ามเนื้อ ปวดศรี ษะ เจ็บคันคอ ตา
อักเสบ ไอแห้งต่อมามีเสมหะ
– เด็กเล็ก: ปวดท้อง อาเจียน
• Adenovirus
– อาจมีbronchiolitis obliteran
ตามมา


Slide 51

Chlamydia trachomatis
• จากgenitalia ของมารดา
• Conjuntivitis ใน10 วันแรก
• ไอมากเมื่อ 3-6สัปดาห์; staccato
cough

• Wheezing
• CXR: perihilar infiltration
• eosinophilia> 300
cell/mm3


Slide 52

M. pneumoniae
• ไอแห้ง ต่อมามีเสมหะ และไออีกนานเป็ น
สัปดาห์
• Wheezing
• CXR:ไม่สมั พันธ์กบั อาการ

– interstitial,
– One lower lobe 50%
bilateral 10-40%
– ต่อมน้ าเหลืองที่ข้วั ปอดโต34%
– Effusion<10%


Slide 53

Immunodefiency
disorder
antibody

infection

Sinopulmonary
:pyogenic,encapsulated
bacteria
GI
:enterovirus,Giardia lamblia
cell mediated Pulmonary
immunity
:pyogenic, P. carinii,virus
Skin, mucous
: fungi

other
autoimmune
disease:
inflammatory
bowel
disease


Slide 54

Immunodeficiency
disorder

infection

other

complement

sepsis

autoimmune
disease: SLE

phagocytosis

cellulitis, deep
seated abscess


Slide 55

การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
ความผิดปกติ

การตรวจเพิ่มเติม

antibody

IgG, IgA, IgM
การตอบสนองต่อ immunization

cell-mediated

Lymphocute count, CD4 CD8
HIV
Delay type hypersensitivity test
Total hemolytic complement(CH50)

complement
phagocytosis

PMN count
Nitroblue tetrazolium dye test


Slide 56

ภูมิคุม้ กันบกพร่ อง:antibody
• Recurrent+ severe URI/LRI
• ติดเชื้อจากEncapsulated bacteria
• โรคที่พบ
– X-linked agammaglobulinemia
• เริ่ มอาการ9-18เดือนเมื่อantibody จากแม่หมดไป
• ตรวจไม่พบ ทอนซิลและต่อมน้ าเหลือง

IgG
– Common variable immunodeficiency(CVID)
• เริ่ มอาการ10-30 ปี
• พบอุบตั ิการณ์ของ มะเร็งทางเดินอาหารและต่อมน้ าเหลือง

IgA
CD4/CD8 ratio


Slide 57

ภูมิคุม้ กันบกพร่ อง:antibody
• IgGsubclass deficiency
– IgG2 deficiency พบได้บ่อย โดย total IgG ปกติ
– อาจร่ วมกับIgG4 ,IgA deficiency
– มักมีถ่ายเหลว
– Atopic disease: asthma, allergic rhinitis


Slide 58

ภูมิคุม้ กันบกพร่ อง:T cell
• SCID:severe combined immunodeficiency
– X-linked, AR(การแต่งงานในเครื อญาติ)
– อาการผิดปกติเริ่ มตั้งแต่อายุ4-6เดือน
– การติดเชื้อระบบหายใจอย่างรุ นแรง
– ท้องเสี ยเรื้ อรัง
– เจริ ญเติบโตต่ากว่าเกณฑ์
– เชื้อราในปาก
– ผืน่ ผิวหนัง
– Lymphopenia
– CD3 T cell ต่า
– Immunoglobulin ต่ามาก


Slide 59

แนวทางการรักษา
• Monitoring: HR, SpO2
• การให้ออกซิเจนถ้ามีhypoxemia
• ให้สารน้ าและความชื้น
• ยาขยายหลอดลมถ้ามีการตอบสนอง
• กายภาพบาบัด??
• ยาลดไข้
• ไม่ให้ยากดอาการไอ
• การให้ยาปฏิชีวนะ


Slide 60

การพิจารณารับไว้รักษาในร.พ.








อายุ < 6เดือน : diaphramatic fatigue
อาการรุ นแรง
หอบมาก hypoxemia
ขาดสารน้ า อาเจียน
ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะโดยการรับประทาน
ภูมิคุม้ กันต่า
ภาวะแทรกซ้อน: empyema


Slide 61

กายวิภาคของทารกที่ทาให้ถุงลมแฟบได้ง่าย
• Collateral channels of
ventilationไม่สมบูรณ์ท้ งั จานวน
และขนาด

Paediatr Respir Rev 2004;5 Suppl A:S77-9.


Slide 62

กายวิภาคของทารกที่ทาให้หลอดลมตีบได้ง่าย: wheezing
• กล้ามเนื้อบริ เวณหลอดลม
– เรี ยงตัวเป็ นเกลียว
– ไปถึงหลอดลมส่ วนปลาย
– การตอบสนองที่ไวต่อการ
กระตุน้

Paediatr Respir Rev 2004;5 Suppl A:S77-9.


Slide 63

กายวิภาคของทารกที่ทาให้การหายใจล้มเหลวได้ง่าย
การหดตัวของกะบังลมไม่มีประสิ ทธิ ภาพ
-horizontal insertion of
diaphram
fatigue-resistant
muscles

Paediatr Respir Rev 2004;5 Suppl A:S77-9.


Slide 64

cannula


Slide 65

Oxygen hood


Slide 66


Slide 67

Endtidal CO2


Slide 68

positioning
• Unilateral lung lesion (children and adult)
– Lie down on an unaffected side (normal lung)
• Better ventilation on the dependent lung
matching with more perfusion also on the
dependent lung (less ventilation- perfusion
mismatch)
• Secretion drainage by gravitation
• Easy to do chest PT
• Always monitoring
Prasad SA, Hussey J. Chest physiotherapy techniques and adjuncts to chest physiotherapy. In:
Prasad SA, Hussey J, Campling J, editors. Pediatric respiratory care: a guide for
physiotherapists and health professionals. London: Hapman & Hall; 1995. p. 67-97.


Slide 69

ข้ อบ่งชี ้ในการใส่ทอ่ หลอดลมคอ
• PaO2 < 60 mmHg ขณะที่ให้ FiO2 > หรื อ = 0.6
• PaCO2 > 50 – 60 mmHg โดยที่เป็ นภาวะเฉียบพลัน ไม่เคยมี
CO2 สูงเรื อ้ รังมาก่อน ,PH < 7.3
• การอุดตันทางเดินหายใจส่วนบน
• การอ่อนแรงของกล้ ามเนื ้อ (negative inspiratory pressure < 20 cmH2O หรื อ vital capacity < 12-15 มล./กก.)
• ไม่มี protective airway reflex ได้ แก่ การไอ, gag reflex
• ภาวะ shock หัวใจหยุดเต้ น หยุดหายใจ



Slide 70

ข้ อบ่งชี ้ในการใส่ทอ่ หลอดลมคอ






hyperventitation เช่น กรณีที่ผ้ ปู ่ วยมีความดันในสมองเพิ่มขึ ้น
เพื่อกาจัดเสมหะจากหลอดลม
การให้ ยาฉุกเฉินทางหลอดลม
ภาวะที่มีการกดการหายใจ
ภาวะไฟไหม้ น ้าร้ อนลวกบริ เวณใบหน้ า


Slide 71

การให้ยาปฏิชีวนะ
แม้สาเหตุส่วนมากเกิดจากไวรัส

แยกยากจากแบคทีเรี ย

ถ้าอาการรุ นแรงพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ


Slide 72

การให้ยาปฏิชีวนะ
เชื้อก่อโรค

ยาปฏิชีวนะ

แกรมบวกทรงกลม, แกรมลบรู ปแท่ง

PenicillinG, ampicillin+
aminoglycosides or 3rd
Cephalosporin

C. trachomatis

S. aureus

Or cloxacillin( evidence)
Erythromycin(10-14)
Clarithromycin (10-14)
Azithromycin 10MKD then
5MKD(4)
Cloxacillin or cefazolin,
Clindamycin (allergic)
Vancomycin( resistant)


Slide 73

การให้ยาปฏิชีวนะ
เชื้อก่อโรค

ยาปฏิชีวนะ

H. influenzae

Amoxicillin
2nd, 3rd cephalosporin( β
lactamase)
PenicillinG
3rd cephalosporin(DRSP)
Clindamycin

S. pneumoniae

anaerobe

PenicillinG, clindamycin

M. pneumoniae,
C. pneumoniae

Erythromycin,Clarithromycin
Azithromycin


Slide 74

การให้ยาปฏิชีวนะ
เชื้อก่อโรค

ยาปฏิชีวนะ

gr.A streptococus

Penicillin
Clindamycin(not response,
severe)

anaerobic

:Penicillin, clindamycin,
amoxcicillin-clavulanate
: Nosocomial- aminoglycoside,
3rd cephalosporin


Slide 75

การให้ยาปฏิชีวนะ
• ระยะเวลา
– ผูป้ ่ วยนอก: 5-7-10วัน
– ผูป้ ่ วยใน: 10-14 วัน หรื อ3วันหลังจากไข้ลง
– S. aureus, แกรมลบรู ปแท่ง, gr.A streptococcus: 2-3-4
สัปดาห์
– S. aureus: ไข้มกั มีอยูน่ าน 10-14 วัน
– S.pneumoniae
• การตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ24-48ชัว่ โมง
• Empyema: ไข้นาน7วันแม้อาการดีข้ ึน
– gr.A streptococcus : ไข้ลงช้า


Slide 76

การให้ยาปฏิชีวนะ
• เด็กเล็กที่มีอาการรุ นแรง สงสัย
H. influenzae/S.pneumiae/ S. aureus
– 2nd, 3rd cephalosporin +cloxacillin
– หรื อ ampicillin with clavulanate+cloxacillin
• เด็กโตที่สงสัย S.pneumiae/M. pneumoniae
– 2nd, 3rd cephalosporin+erythromycin


Slide 77

Chest physiotherapy


Slide 78

Incentive spirometry


Slide 79

Positive end expiratory pressure


Slide 80


Slide 81

EzPAP


Slide 82

การป้ องกัน
• Hib vaccine
– สถานรับเลี้ยงเด็กอ่อน ไปในที่ชุมชนบ่อยๆ
– 2-4-6 เดือน
• Pneumococal vaccine
– Conjugate: 2-4-6-15 เดือน
– โรคปอด หรื อหัวใจเรื้ อรัง ภูมิคุม้ กันบกพร่ อง


Slide 83

การป้ องกัน
• วัคซีนไข้หวัดใหญ่
– โรคปอด หรื อหัวใจเรื้ อรัง ภูมิคุม้ กัน
บกพร่ อง บุคลากรทางการแพทย์
ผูด้ ูแลเด็กเล็กและคนชรา
– ไม่ป้องกันไข้หวัดนก
– ไม่ให้บุคลากรทางการแพทย์ ติดเชื้อ
2 สายพันธุ์
• แลกเปลี่ยนสารพันธุกรรม

• > 6 เดือน
• < 9 ปี : 2เข็มทุก 1 เดือน จากนั้นทุก
1 ปี
– การเปลี่ยนแปลงของ surface
glycoprotein(hemagglu
tinin+ neuraminidase)
– Antigenic variation


Slide 84

การป้ องกัน
• นมแม่
• ลดการสัมผัสบุหรี่
• ล้างมือลดการแพร่ กระจายของเชื้อ