Breast Board

Download Report

Transcript Breast Board

Slide 1


Slide 2

Breast Contour Technique
คือ การทาการวางแผนการรักษาผูป้ ่ วยมะเร็ ง
เต้านม เพื่อประกอบการฉายรังสี ซ่ ึงแบ่ง
ออกเป็ น 2 วิธี คือ
1. แบบ SSD Technique
2. แบบ SAD Technique


Slide 3

Breast Contour Technique
อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการวางแผนการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้ านม ประกอบด้ วย
- Breast Board คือ อุปกรณ์ช่วยจัดตาแหน่ง (Position) ของผูป้ ่ วยที่ฉายรังสี
บริ เวณหน้าอกที่นอนราบไม่ได้หรื อผูป้ ่ วยที่เป็ นมะเร็ งเต้านม และช่วยลด Overlap
กับ Inberior Supraclaricular
- เส้ นตะกัว่ ยาวประมาณ 25 นิ้ว หรื อจะใช้ Flexible Curve สาหรับทา Contour
- กระดาษเขียนแบบ สำหรับลอกลำยเส้นจำกเส้นตะกัว่
หรื อ Flexible Curve
- ดินสอ ไม้ บรรทัด
- สี สาหรับแต้ ม คือ สี สำหรับแตมลงบนตั
วผู้ป่วย เมือ


แพทย์กาหนดขอบเขตแล้ว
- Colipper คือ อุปกรณ์สาหรับวัดความหนาของผูป้ ่ วย


Slide 4

Breast Contour Technique


Slide 5

Breast Contour Technique
อุปกรณ์ ประกอบการฉายรังสี ผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้ านม ประกอบด้ วย
- Wedge คือ อุปกรณ์รูปลิ่มใช้สาหรับกรองลารังสี เพื่อให้บริ เวณ
หรื อขอบเขตที่ทาการฉายรังสี ได้รับรังสี กระจายสม่าเสมอ โดย
องศาของ Wedge แบ่งออกเป็ น 15, 30, 45, 60 องศา ขนาด
แบ่งเป็ น A, B, C, D เป็ นต้น
- ตะกัว่ คือ อุปกรณก
์ ำบังรังสี ใช้สำหรับ
ปิ ดกั้นบริ เวณอวัยวะสาคัญที่ไม่ตอ้ งการให้โดนรังสี เช่น
หลอดลม หัวไหล่ เป็ นต้น


Slide 6

Breast Contour Technique
ขั้นตอนการทา Contour Breast
เมื่อผูป้ ่ วยผ่านการทาประวัติและรวบรวมผลการตรวจต่างๆ เรี ยบร้อยแล้ว
แพทย์ทาการประเมินการรักษาว่าต้องทาการรักษาโดยการฉายรังสี ให้ยาเคมี หรื อ
การผ่าตัด เพื่อให้ได้การรักษาดีที่สุดเมื่อแพทย์เลือกวิธีการรักษาโดยใช้การฉายรังสี
ผูป้ ่ วยมะเร็ งเต้านม แพทย์กก็ าหนดค่าต่าง ๆ สาหรับการวางแผนการรักษา ดังนี้
1. ระยะของโรค (Staging) T.M.N.
2. ขอบเขตที่จะทาการฉายรังสี เช่น SPC, Chest Wall, Boost Scar, Boost PA Axilla
3. ปริ มาณรังสี (Dose) เช่น Dose / day, Total Dose เป็ น 200 CGy/day = 50 Gy เป็ นต้น
4. จานวนครั้งที่จะทาการฉายรังสี ประมาณ 20 - 25 ครั้ง
5. กาหนดอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จะใช้ร่วมด้วย เช่น Wedge Bolus


Slide 7

Breast Contour Technique
เมื่อแพทย์เขียนคาสัง่ ต่างๆ ครอบคลุมหมดแล้ว ก็จะส่ งผูป้ ่ วยพร้อมกับแฟ้ มประวัติการ
รักษามาที่หอ้ งจาลองการวางแผนการรักษา โดย
1. เตรียมอุปกรณ์ การวางแผนการรักษาต่างๆ ให้พร้อม ตรวจสอบแฟ้ มประวัติรวมชื่อ
ผูป้ ่ วยให้ตรงกันแล้วพาผูป้ ่ วยเข้าห้องจาลองการวางแผนการรักษา พร้อมทั้งอธิบายขั้นตอนการ
ทาการวางแผนการรักษาต่างๆให้ผปู้ ่ วยเข้าใจ และให้ความร่ วมมืออย่างเต็มที่
2. จัดปรับ Breast Board ให้ผปู้ ่ วยนอนให้ได้ระดับความลาดชัน โดยสังเกตจากแนว
หน้าอกของผูป้ ่ วยเทียบกับแนวของ Laser ให้อยูท่ ี่ Field จะไม่ Overlap กัน พร้อมกับจัดท่าผูป้ ่ วย
ให้นอนในท่าพร้อมที่จะวางแผนการรักษา เช่น ถ้าต้องขีดเส้นบริ เวณ AP SPC บริ เวณ Lt หรื อ
Rt ก็ให้ผปู้ ่ วยหันหน้าไปฝั่งตรงข้ามเพื่อให้หลอดลมหลอดอาหาร กล่องเสี ยงของผูป้ ่ วยพ้นหรื อ
หลบบริ เวณที่จะทาการขีดเส้น เพื่อไม่ให้โดนรังสี โดยไม่จาเป็ น และก็จดั ลาตัวของผูป้ ่ วยให้นอน
ตัวตรง โดยใช้การ Fluoroscopy เพื่อดูแนวของ Spineทั้งหมดและจัดให้ตรง
3. การกาหนดขอบเขตของการรักษา แพทย์จะทาการกาหนดขอบเขตการรักษาอย่างคร่ าว
ๆ มาก่อนแล้วนักรังสี การแพทย์จะทาการวางแผนการรักษา โดยเปิ ด Field Size ให้พอดีกบั แนว
เส้นที่แพทย์กาหนดมาแล้วทาการ Fluortoscopy ดูแนวขอบเขต ดังนี้


Slide 8

Breast Contour Technique
AP SPC
ขอบเขตการวางแผนการรักษา
แพทย์จะเป็ นผูม้ าตรวจเช็คอีกที ขณะทาการ Fluortoscopy นักรังสี การแพทย์
จะทาการยันทึกข้อมูล Field Size คือ X,Y,depht ลงในแฟ้ มประวัติให้เรี ยบร้อย
พร้อมกับถ่ายภาพ X-ray เก็บไว้ดว้ ยChest Wall จะทาการวางแผนการรักษาโดย
ฉายแบบ Field TangentialSSD Both Tanguntial แพทย์จะกาหนดขอบด้าน
Median, Lateral, In Feroir นักรังสี การแพทย์จะทาการวัดขนาดของความกว้างยาว
ของเส้นที่แพทย์กาหนดมาด้วย ความยาว คือ จากขอบล่างของราวเต้านม ถึงขอบ
ล่างของ Field AP SPC แล้วแบ่งครึ่ งหาจุดกึ่งกลาง ความกว้ าง คือ จากด้าน
Median ถึง Lateral


Slide 9

Breast Contour Technique
SSD
Both Tangential
แพทย์จะกาหนดขอบด้ าน Median, Lateral, In Feroir นักรังสี การแพทย์
จะทาการวัดขนาดของความกว้ างยาวของเส้ นทีแ่ พทย์กาหนดมาด้ วย ความยาว
คือ จากขอบล่างของราวเต้ านม ถึงขอบล่างของ Field AP SPC แล้วแบ่ งครึ่งหาจุด
กึง่ กลาง ความกว้ าง คือ จากด้ าน Median ถึง Lateral


Slide 10

Breast Contour Technique
เส้ นแบ่ งกึง่ กลาง
+
Medline

Interal

นาเส้นตะกัว่ หรื อ Flexible Curve วางแนบกับ
เส้นแบ่งครึ่ งความยาวตรงหน้าอกของผูป้ ่ วยเพื่อทาเป็ น
แบบเส้น จาลองหน้าอกของผูป้ ่ วย แล้วใช้ปากกาสี จุดบน
เส้นตะกัว่ ให้ตรงกับจุดที่แพทย์กาหนดมาคร่ าว ๆ 2 จุด
คือ จุดด้าน Median และด้าน Lateral แล้วยกออกวัดความ

ยาวของเส้นแบ่งครึ่ งความยาวจากจุด Median ถึง Lateral ลงบนกกระดาษเขียนแบบ
แทรก แล้วแบ่งครึ่ งของความยาวจาก Median ถึง Lateral แล้วลากเส้นตั้งฉากและเอา
ตะกัว่ ที่วางแนบหน้าอก ผูป้ ่ วยมาวางทับจุดที่ขีดบนกระดาษแล้วลากเส้นตามรู ปของ
เส้นตะกัว่ ดังรู ป


Slide 11

Breast Contour Technique

d
Median

Latera
Y=2d

หาได้ จาก

Y = 2d
(d = ความสู งของเส้ นแบ่ งครึ่งของ Median ถึง Lateral)
Field X หาได้ จาก วัดจากความยาวจากขอบล่างของ Field Anterior
SPC ถึงขอบล่างใต้ ราวเต้ านมทีแ่ พทย์ กาหนดไว้


Slide 12

Breast Contour Technique
เมื่อได้ตาแหน่งจุดหมุน Field ขนาดของ Field X และ Field Y และ
เลื่อน Center ของกึ่งกลาง Field มาแตะจุดหมุนที่ได้กาหนดไว้ที่ตวั
ผูป้ ่ วยที่ Marked เอาไว้ โดยให้แนวของ Laser แตะที่ Skin ตรง
ตาแหน่ง Center บนตัวผูป้ ่ วย เอาเส้นตะกัว่ ติดที่ขอบด้าน Lateral
ก่อนจะหมุน Gantry ไปทางด้าน Median ให้แตะกับเส้นจาลองที่
แพทย์ได้กาหนดไว้ก่อนหน้านี้ แล้วทาการ Fluoroscopy ดูขอบ Field
ด้าน Median ให้ทบั ซ้อนกับเส้นตะกัว่ ที่ติดไว้ดา้ น Lateral แล้วตาม
แพทย์มาทาการตรวจเช็คอีกครั้ง


Slide 13

Breast Contour Technique
เมื่อได้ตามต้องการแล้วจึงบันทึกข้อมูล คือ Gantry Angleแล้วทาการ X-ray
Film เก็บไว้ในแฟ้ มประวัติของผูป้ ่ วย ก็จะได้ Field ด้าน Median Tangential แล้ว
จึงเอาปากกาสี แต้มตามเส้นของขอบ Field บนตัวผูป้ ่ วย ส่ วน Field Lateral
Tangential ที่อยูด่ า้ นตรงข้ามก็ทาในลักษณะเดียวกันคือ เอาเส้นตะกัว่ ติดที่ขอบ
Field ด้าน Median Tangential แล้วหมุน Gantry ไปทางด้าน Lateral ให้แตะกับ
เส้นจาลองด้าน Lateral แล้วทาการ Fluoroscopy ดูขอบ Field ด้าน Median จึงทา
การบันทึกข้อมูล Gantry Angleแล้ว X-ray Film เก็บไว้ในแฟ้ มประวัติของผูป้ ่ วย
แล้วทาการขีดเส้นขอบ Field ด้วยปากกาสี ตามเส้น Field ที่ตวั ของผูป้ ่ วย


Slide 14

Breast Contour Technique
เมื่อได้ขอบ Field ทั้ง 2 ข้าง คือ Median Tangential
และ Lateral Tangential แล้ ว ก็นาสี แต้ม (Gentian) แต้มลง
ตามเส้นที่ใช้ปากกาสี ขีด เพื่อความคงทน ก่อนจะบันทึก
ข้อมูลของ Breast Board ที่จดั ให้ผปู้ ่ วย นอนลงในแฟ้ ม
ประวัติการรักษาของผูป้ ่ วย


Slide 15

Breast Contour Technique


Slide 16

Breast Contour Technique


Slide 17