การทาการรบทีร่ ะยะนอกสายตา(BVR Engagements) By Tomcat and Vulture, Updates by Marlin and Redeye Translated by Nuke]v[ Thai Version 1.0 จุดประสงค์ : ั  เพือ ่ เข้าใจวิธใี ชโ้ หมดเรดาห์

Download Report

Transcript การทาการรบทีร่ ะยะนอกสายตา(BVR Engagements) By Tomcat and Vulture, Updates by Marlin and Redeye Translated by Nuke]v[ Thai Version 1.0 จุดประสงค์ : ั  เพือ ่ เข้าใจวิธใี ชโ้ หมดเรดาห์

การทาการรบทีร่ ะยะนอกสายตา(BVR Engagements)
By Tomcat and Vulture, Updates by Marlin and Redeye
Translated by Nuke]v[
Thai Version 1.0
จุดประสงค์ :
ั
 เพือ
่ เข้าใจวิธใี ชโ้ หมดเรดาห์ A-A ทีเ่ หมาะสม, สญล
ักษณ์บน HUD , และ
RWR
 เพือ
่ เข้าใจสถานะทงั้ 6 ของการเข้ารบ BVR
้ าวุธของคุณอย่างมีประสท
ิ ธิภาพในการรบทีร่ ะยะนอกสายตา
 เพือ
่ รูว้ ธ
ิ ใี ชอ
(BVR) , รวมถึงเข้าใจขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ (Weapon
Envelope) , DLZ (Develop Launch Zone), และแนวคิดของ A-Pole
ก ับ E-Pole
 สามารถสาธิตความรูข
้ องคุณตามเรือ
่ งทีก
่ ล่าวข้างบนในการเข้ารบ 2v1
BVR
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
การสูร้ บทีร่ ะยะนอกสายตา
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
จุดประสงค์ในการเรียนรูท้ ่ีตอ้ งการ
2
© May 2004
้ อ
โหมดทีค
่ วรเลือกใชเมื
่ ต ้องการค ้นหาเป้ าหมายหรือคงรักษาการล็อคและติดตามดูข ้อมูลจาก
เป้ าหมายเดียว
Target designated
once
RWS Mode
Target designated twice.
Other contacts disappear.
RWS Mode ใชอั้ ตราการสแกนที่
เร็ว กวาดพืน
้ ทีก
่ ว ้าง และเป้ าหมาย
ทีถ
่ ก
ู ตรวจพบถูกนาแสดงได ้
เกือบจะทันที
© May 2004
RWS SAM (Situational
Awareness Mode)…เข ้าสูโ่ หมด
นีโ้ ดยการกาหนดเป้ าหมายหนึง่
ิ ธิภาพการ
ครัง้ ..รักษาประสท
ตรวจหา และนาแสดงข ้อมูลที่
ติดตามหนึง่ เป้ าหมาย
RWS STT (Single Target
Track) Mode.(เข ้าสูโ่ หมดนีโ้ ดย
การกาหนดเป้ าสองครัง้ ) โฟกัสเร
ดาห์ไปทีเ่ ป้ าหมายทีส
่ นใจเพียง
เป้ าหมายเดียว ผลทีไ่ ด ้คือข ้อมูล
เป้ าทีต
่ ด
ิ ตามทีแ
่ ม่นยากว่า และ
ึ ทีจ
การล็อคทีย
่ ากสาหรับข ้าศก
่ ะ
ทาลายด ้วย ECM หรือการบังคับ
บิน
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
RWS (Range While Search) Mode
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR: Radar Modes (RWS)
3
มุมตาแหน่งจากท ้าย
 TWS เป็ นโหมดทีม
่ ป
ี ระโยชน์ทส
ี่ ด
ุ
สาหรับติดตามข ้อมูลจากหลาย
เป้ าหมายและสลับการล็อคระหว่าง
เป้ าหมายเหล่านั น
้
 เป้ าหมายทีถ
่ ก
ู ตรวจจับได ้จะไม่ถก
ู นา
แสดงโดยทันทีเนือ
่ งจากเรดาห์
จาเป็ นต ้องทากระบวนการติดตาม
ก่อน และระยะทีต
่ รวจหาแคบกว่า
RWS เล็กน ้อย
 ต ้องการกระบวนการเพิม
่ เติมในการคง
รักษาการติดตามเป้ าหมายทัง้ หมด
สง่ ผลให ้มีความถีใ่ นการแสดงข ้อมูล
ใหม่น ้อยลงและยากขึน
้ ในการคง
รักษาการติดตามข ้อมูล ดังนั น
้ มันจะ
ี การล็อคจาก
ง่ายขึน
้ ทีจ
่ ะสูญเสย
เป้ าหมายทีก
่ าลังบังคับบิน หรือกาลัง
ใช ้ ECM
ทิศทางทีเ่ ป้ าหมายไป ความเร็วของเป้ าหมาย
อัตราเร็ว
เข ้าหา
คงรักษาข ้อมูลทิศทางและความสูงของ
หลายเป้ าหมาย
 Note that due to a bug in SP3
and SP4, TWS will usually maintain
track on a target even when lock
and track information has been
lost, and even when the target is
outside the gimbal limits of the
radar.
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
TWS (Track While Scan) Mode
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR: Radar Modes (TWS)
4
© May 2004
 โหมดนีม
้ ค
ี า่ default ทีก
่ ารสแกนระยะ 80 nm และ
ตรวจหาเครือ
่ งบินทีม
่ ค
ี วามเร็วเข ้าหามาทางคุณ และ
ิ ค่าอัตราเร็วเข ้าหา ดังนัน
พิจารณาตัดสน
้ มันจะแสดงค่า
เครือ
่ งบินทีค
่ ณ
ุ กาลังบินเข ้าใกล ้และแซง
 เมือ
่ กาหนดเป้ าหมายจากโหมด VS จะเข ้าสู่ STT
โหมด
สเกลความเร็ว 1200 knots
ทิศทางทีเ่ ป้ าหมาย(เคอร์เซอร์)อยู่
อัตราเร็วเข ้าหา
 ตัวบอกสเกลความเร็วจะแทนทีส
่ เกลระยะทาง และ
แสดงเป็ น 1200 หรือ 2400 น็อต ความเร็วจะแสดงได ้
จากตาแหน่งของมันทีบ
่ นสเกล ถ ้าสเกลถูกเซตไว ้ที่
1200 น็อต ค่าทีไ่ ด ้รับทีบ
่ นสุดของจอจะมีคา่ 1200
น็อต ทีต
่ าแหน่งตา่ กว่านัน
้ บนจอแสดงว่ากาลังเข ้าใกล ้
ทีอ
่ ต
ั ราเร็วตา่ กว่า สเกลนีไ้ ม่ได ้ระบุถงึ ระยะเป้ าหมาย
้ อ
 ปกติโหมดนีจ
้ ะไม่ถก
ู ใชเนื
่ งจากข ้อมูลทีม
่ ันให ้มีจากัด
อย่างไรก็ตาม มันมีประโยชน์ในการตรวจจับเครือ
่ งบิน
เล็ก เร็ว มุง่ หน ้ามา หรือภัยคุกคาม ทีร่ ะยะไกลได ้ก่อน
โหมดอืน
่ บ่อยๆ ในสภาพแวดล ้อมทีม
่ ห
ี ลายเป้ าหมาย
การทีไ่ ด ้รู ้ว่าเครือ
่ งบินลาใดกาลังเข ้าใกล ้คุณทีค
่ วามเร็ว
สูงทีส
่ ด
ุ สามารถชว่ ยให ้ระบุชนิดและประเภทของสงิ่ ที่
น่าจะเป็ นภัยคุกคามได ้
สเกลความเร็ว 2400 knots
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
VS (Velocity Search) Mode
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR: Radar Modes (VS)
5
© May 2004
ิ ธิภาพในการตรวจหา
 LRS เป็ นโหมดทีม
่ ป
ี ระสท
่ เครือ
ิ ค ้า
เครือ
่ งบินขนาดใหญ่ (เชน
่ งบินบรรทุกสน
เครือ
่ งบินทิง้ ระเบิด) ทีร่ ะยะไกล
160nm Scan
 มีประโยชน์เป็ นพิเศษสาหรับการเข ้าปะทะหรือทา
บทบาท DCA
 การตรวจหาระยะให ้ได ้ไกลต ้องแลกกับอัตราการสแกน
เครือ
่ งบินถูกตรวจพบที่
ประมาณ 80nm
 ในรูปด ้านข ้าง มีเครือ
่ งบินได ้ถูกตรวจพบทีร่ ะยะ
ประมาณ 80 ไมล์
 วางเคอร์เซอร์ของเรดาห์บนเป้ าหมาย (บีบให ้มุมกวาด
แคบและเพิม
่ สแกนบาร์และนาแสดงข ้อมูลได ้รวดเร็วขึน
้
โดยทีต
่ ้องแลกกับพืน
้ ทีใ่ นการสแกน)
Angels 35
 เป้ าหมายอยูท
่ บ
ี่ ล
ุ อายส ์ 327 ระยะ 74 ไมล์ แองเจิล
้ 35
และสามารถพิสจ
ู น์มต
ิ รหรือศัตรูได ้ถ ้ามี AWACS อยู่
ถ ้าไม่ม ี กาหนดเป้ าหมายหนึง่ ครัง้ จะให ้ค่า ตาแหน่งที่
หัน ทิศทางทีไ่ ป ความเร็ว ความเร็วเข ้าใกล ้และระยะ
Bullseye, 327 for
74
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
Long Range Scan (LRS) Mode
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR: Radar Modes (LRS)
6
© May 2004
 Pulse Radars ตรวจจับเป้ าหมายโดยการตรวจด้วยข้อมูลดิบที่สะท้อนคืนมาจากสัญญาณที่ตวั เองส่ งไป
 เช่นนั้น จึงไม่มีความสามารถตรวจจับเป้ าหมายเมื่ออยูใ่ นสถานการณ์ที่มองลงมาเนื่องจากวัตถุที่อยูบ่ นพื้นดิน โดยทาให้ยากแก่การแยกความแตกต่าง
ระหว่างเป้ าหมายกับสิ่ งที่ลวงได้ ดังนั้นนักบินที่บินด้วยเครื่ องบินที่ใช้ระบบนี้มกั จะบินต่าๆ และใช้เรดาห์คน้ หาขึ้นที่สูง ตัวอย่างเครื่ องบินที่ใช้เร
ดาห์ระบบนี้มี Mig-19 ,Mig-21 and F-5
ั ญาณสงิ่ ทีเ่ คลือ
้
 เรดาห์ระบบนีไ้ ม่ถก
ู กระทบด ้วยการบีม เพราะว่ามันไม่มต
ี ัวกรองสญ
่ นทีช
่ าออกไป
Doppler Radars
 เรดาห์ชนิดนี้ตรวจจับเป้ าหมายโดยขึ้นอยูก่ บั การเปลี่ยนแปลงความถี่ตามความเร็ วที่เปลี่ยน(Doppler frequency) ตัวกรองจะตัดเอา
สัญญาณ Doppler ที่คืนมาที่ต่ากว่าค่าๆหนึ่งออกไป ซึ่ งทาให้สามารถมองลงเบื้องล่างได้โดยกรองเอาสิ่ งที่อยูบ่ นพื้นดินออกไป
 ผลดังนัน
้ เรดาห์ชนิดนีจ
้ งึ อ่อนไหวต่อการบีม(โดยเฉพาะเมือ
่ อยูใ่ นสถานการณ์ทต
ี่ ้องมองลงมา) ซงึ่
สามารถลดอัตราเร็วเข ้าหาจนถึงระดับทีแ
่ ยกไม่ออกจากวัตถุเบือ
้ งหลังบนพืน
้ ดินทีต
่ า่ กว่าค่าระดับ
การกรองออกไป
 เรดาห์ชนิดนี้ยงั มีความต้านทานต่อ Chaff (ซึ่ งลดความเร็ วอย่างรวดเร็ วหลังจากถูกปล่อย) ได้สูง
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
Pulse Radars
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
Radar Types
7
© May 2004
‘ จงอย่าสลายรูปขบวนไปเป็ นหมูท
่ น
ี่ ้อยกว่า หมูอ
่ ล
ี เี มนต์สองลา จงอยูเ่ ป็ นคู่ ๆไว ้ คนคน
Falcon 4.0 Manual PP26-7 to 26-10
ิ ทีมสองลาจะเป็ นทรัพย์ทวีคา่ ถ ้าคุณหลุดออกไปจากกลุม
เดียวเป็ นภาระหนีส
้ น
่ จงรีบเข ้า
ร่วมกับเครือ
่ งบินฝ่ ายเดียวกันทันที ’
Major Thomas B. "Tommy" McGuire, USAAF
รูปขบวนก่อนเข ้าต่อตี:
ั พันธ์ทเี่ ข ้มงวดระหว่างลีด
หลักการบินแบบ ‘Fighting Wing’ ชว่ ยกาหนดให ้มีความสม
เดอร์และวิงแมน
ั รูซก
ี
หน ้าทีร่ ับผิดชอบหลัก ๆของผู ้นาหมู(่ ลีดเดอร์)คือการนาร่อง ค ้นหาศต
ด ้านหน ้า วางแผนจูโ่ จม บังคับบินเข ้าต่อตี
วิงแมนบินเข ้ารูปขบวนกับผู ้นาหมูห
่ ลวมๆ ปกติคอ
ื รูปขบวน ‘Echelon’ (ดูตามรูป)
เข้าต่อตีรป
ู ขบวน ‘โอบ
ล้อม’
ี ด ้านหลัง และหน ้าทีร่ องคือ
หน ้าทีห
่ ลักของวิงแมนคือต ้องคงรักษาการระมัดระวังซก
ี ด ้านหน ้า
ต ้องตรวจหาศัตรูซก
ิ
โดยทีร่ ป
ู ขบวนนีท
้ าให ้ลดพืน
้ ทีก
่ ารมองเห็นครอบคลุมด ้านหลัง(6นาฬกา)ของวิ
ง
แมน แต่ข ้อได ้เปรียบของมันคือได ้ทัง้ ความง่ายในการคงรักษาการติดตามมองผู ้นา
หมู่ และง่ายในการคงรักษารูปขบวนในขณะบังคับบิน
สาหรับวิงแมนทีม
่ ป
ี ระสบการณ์ รูปขบวน ‘combat-spread’’ (หน ้ากระดาน 1-2 nm)
ี ด ้านหลังและประสท
ิ ธิภาพการรุกได ้ดีขน
ชว่ ยทาให ้ครอบคลุมซก
ึ้ แต่ทาให ้ยากในการคง
รักษารูปขบวนถ ้าหากต ้องทาการบังคับบินอย่างทันทีทันใด
รูปขบวน
‘Echelon’ ก่อน
เข้าต่อตี
รูปขบวน ‘Echelon’ (ขัน
้ ๆ)ก่อนการเข ้าต่อตี
้
ซงึ่ นามาใชแปรเข
้าต่อตีในรูปขบวน ‘โอบ
ล ้อม’
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
รูปขบวน
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
Formations
8
© May 2004
Fighter Combat: Tactics and Maneuvering, by Robert Shaw
หลักการ ‘Fighting wing’ โดยทีม
่ ป
ี ระโยชน์สาหรับเริม
่ การฝึ กวิงแมนและรูปขบวนก่อนการเข ้าต่อตี มักไม่
้ บัตเิ มือ
สามารถนามาใชปฏิ
่ เข ้าต่อตีในสถานการณ์อน
ื่ ทีน
่ อกเหนือจาก 2v1 ได ้อยูเ่ สมอ (มีหลายเหตุผลซงึ่ ได ้
ครอบคลุมไว ้ในบทเรียนการรบ ACR) และก็ยังละทิง้ การได ้เปรียบทีไ่ ด ้รับจาก 2v1 เนือ
่ งมาจากลีดของ
้
ั
หลักการ fighting wing จาเป็ นทีจ
่ ะต ้องเข ้าต่อสูกับศตรู แบบ 1v1 ขณะทีว่ งิ แมนพยายามติดตามและ
ึ ลาอืน
ป้ องกันลีดจากข ้าศก
่ ไปพร ้อมกัน
ิ ธิผลและสามัญทีส
บางทีรป
ู ขบวนเข ้าต่อตีทม
ี่ ป
ี ระสท
่ ด
ุ คือรูปขบวนตีโอบ
ึ หรือกลุม
ึ อยูร่ ะหว่าง
ล ้อม ‘bracket’ ซงึ่ กลุม
่ เทีย
่ วบินพยายามให ้ข ้าศก
่ ข ้าศก
แขนทีต
่ โี อบ
รูปขบวนนีม
้ ข
ี ้อดีในด ้านการรุกและรับหลายข ้อดังนี้:
ิ ของหมูบ
มันทาให ้ง่ายขึน
้ แก่สมาชก
่ น
ิ ในการคงรักษาการติดตามมอง
เป้ าหมายทัง้ หมด ระบุกลยุทธ์ทพ
ี่ วกมันใช ้ และตอบสนองในขณะทีพ
่ ร ้อม
ึ ในการทาแบบเดียวกันนี;้
กันนัน
้ ก็ทาให ้ยากขึน
้ แก่ข ้าศก
มันทาให ้ง่ายขึน
้ ในการจาแนกออกได ้ด ้วยสายตาว่าใครทีถ
่ ก
ู ยิง ทาให ้
เกิดการสนองตอบแบบป้ องกันทันเวลา;
ั รูให ้บังคับบินออกไปจากกันและกัน และ
มันชว่ ยกระตุ ้นหมูบ
่ น
ิ ของศต
่ กันกับ การทาลาย SA และความสามารถ
กลายมาเป็ นเป้ าหมายโดดๆ เชน
ในการสนับสนุนซงึ่ กันและกันของพวกมัน
ึ ลาเดียวถูก
 โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในฉากเหตุการณ์แบบ 2v1 , ทีซ
่ งึ่ ข ้าศก
บีบให ้เลือกเป้ าหมายเข ้าต่อตี ดังนัน
้ จึงปล่อยให ้ตนเองถูกโจมตีได ้ง่ายจาก
อีกคน
Falcon 4.0 Manual PP26-7 to 26-10
รูปขบวนโอบล้อม
ั เจน หลักการ fighting wing ยังไม่เหมาะสมต่อรูปขบวนนี้ เนือ
ั รูจะตัดสน
ิ ว่า
สาหรับเหตุผลทีช
่ ด
่ งจากการตอบสนองของศต
ั พันธ์ระหว่างลีดกับวิงแมนทีย
ใครจะกลายมาเป็ นผู ้เข ้าต่อตี ฉะนัน
้ ความสม
่ ด
ื หยุน
่ กว่าจึงเป็ นทีต
่ ้องการ กลยุทธ์สนับสนุนซงึ่
กันและกันเมือ
่ เข ้าต่อตีถก
ู ใชต่้ อกับรูปขบวนต่างๆจะถูกนามากล่าวในบทเรียนอืน
่ ต่อไป
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
รูปขบวนเมือ
่ ได้เข้าต่อตี:
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
Formations (cont.)
9
© May 2004
Fighter Combat: Tactics and Maneuvering, by Robert Shaw
 ตรวจจับ (Detection)
 คัดแยก (Sorting)
 กาหนดเป้ าหมาย (Targeting)
 บินเข ้าปะทะ (Intercept)
 เข ้าทาการรบ (Engage)
 แยกตัวออก (Seperate)
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
้ ฐานการเข้ารบ BVR :
สถานะภาพพืน
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Detection)
10
© May 2004
้
ึ
 ใชโหมด
RWS เพือ
่ เริม
่ ตรวจจับข ้าศก
ั ทีด
 RWS โหมดใชอั้ ตราการสแกนทีเ่ ร็ว พืน
้ ทีก
่ ารสแกนทีก
่ ว ้าง มีพส
ิ ย
่ ี และ เป้ าหมายทีต
่ รวจพบจะถูกนา
แสดงเกือบจะในทันที
 ตัง้ ค่าบาร์และมุมกวาด เพือ
่ จะได ้พืน
้ ทีค
่ ้นหาทีค
่ รอบคลุมพืน
้ ทีก
่ ว ้างทีส
่ ด
ุ
 เสริมสร ้างสภาพการรับรู ้สถานการณ์ ( SA )
ี และไอทีเ่ กาะกลุม
 ให ้ความสนใจ HSD, RWR และ เรดาห์ สแกนท ้องฟ้ าด ้วยสายตาเพือ
่ หาลาไอเสย
่
ื่ สารทีด
 รักษารูปขบวนและการสอ
่ :ี
 “Falcon11, Falcon12, bogeys at 10 o'clock, bullseye 048 for 78, angles 16"
 จงนิง่ รับไม่แสดงตัวและลองพยายามหลบหลีกการตรวจจับจากคูต
่ อ
่ สู ้
่ นัน
 อย่าใช ้ ECM นอกจากว่าอยูใ่ นภาวะแวดล ้อมทีม
่ ภ
ี ัยคุกคามสูงหรือไม่เชน
้ คุณถูกตรวจจับไปแล ้วหรือจวน
จะถูกตรวจจับได ้แล ้ว
 อย่าล็อคเป้ าหมายด ้วยเรดาห์ของคุณ จงรับข ้อมูลความสูงโดยการวางเคอร์เซอร์บนเป้ าหมาย
และวิทยุถาม AWACS ให ้ระบุแจ ้งฝ่ าย
 เข ้าใจวิธก
ี ารทางานของ Doppler และ Pulse เรดาห์ รู ้จุดอ่อนและจุดแข็งของมัน และวิธท
ี าให ้ได ้เปรียบมัน
่ อนแทคอย่างตรงๆ
 อย่าขับตรงเข ้าใสค
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
1. ตรวจจ ับ
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Detection)
11
© May 2004
 จงตอบคาถามต่อไปนี:้ พวกมันเป็ นมิตรหรือศัตรู? พวกมันอยูใ่ นรูปขบวนใด? พวกมันกาลังทา
อะไร?
้
 ใชโหมด
RWS หรือ TWS สาหรับการคัดแยกเป้ าหมาย – ใช ้ โหมดขยาย( Expanded) ถ ้าจาเป็ น
 อย่าล็อคเป้ าหมายจนกระทั่งพร ้อมเข ้าต่อตีกบ
ั มัน และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ ้าน่าจะ/ปรากฏว่ามีหลาย
้
เป้ าหมาย จงอย่าใชโหมด
STT นอกจากว่าจะเข ้าต่อตีทรี่ ะยะในสายตา (WVR) เพราะคุณจะไม่เห็น
เป้ าหมายอืน
่ ๆนอกจากเป้ าหมายทีถ
่ ก
ู ล็อคเท่านัน
้
 จากข ้อมูลจากแหล่งข่าวในบรรยายสรุป คุณควรรู ้ว่ากลุม
่ เทีย
่ วบินมิตรอืน
่ ใดทีข
่ น
ึ้ บินบ ้าง
ั รู
 รู ้ว่ากลุม
่ เทีย
่ วบินใดอยูข
่ ้างหน ้าคุณ รอบๆคุณ เป็ นพวกใหน กลุม
่ ใหนมิตรหรือศต
 คัดแยกมิตรออกจากศัตรูด ้วยการระบุแจ ้งฝ่ ายด ้วย AWACS (และ RWR ถ ้าเป็ นไปได ้ – AWACS
ื่ สารกับกลุม
บางครัง้ อาจผิดพลาดได ้) และสอ
่ (flight)และชุด(package)เทีย
่ วบินของคุณ
 เสริมสร ้าง SA แก่คณ
ุ เองและกลุม
่ เทีย
่ วบินของคุณโดยการวิทยุบอกสงิ่ ทีค
่ ณ
ุ เห็น และยืนยันการได ้เห็นสงิ่ ที่
คนอืน
่ วิทยุบอกสงิ่ ทีเ่ ห็นมา:
 “Falcon 1 has a two ship, line abreast, high aspect. Left target at angels 16. Right target at angels 17.”
 “Falcon 2 has a single high aspect target at angels 17”
 การรบอากาศต่ออากาศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาวะแวดล ้อมทีม
่ ห
ี ลายเป้ าหมาย มีความเปลีย
่ นแปรมาก SA
ต ้องคงรักษาและเสริมสร ้างไว ้ตลอด อย่าวางใจในข ้อมูลเก่าๆ
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
2. การค ัดแยก
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Sorting)
12
© May 2004
 Switch to TWS Radar Mode เปลีย
่ นโหมดเรดาห์เป็ น TWS
 นีจ
่ ะชว่ ยให ้คุณคงรักษาการติดตามข ้อมูลจากเป้ าหมายทัง้ หมด คอยรักษาสภาพ SA ให ้สูงขึน
้
และทาการระบุตัวและทาให ้ได ้มาซงึ่ กาหนดเป้ าหมายทีร่ ับผิดชอบได ้ง่ายขึน
้
ิ ว่าใครจะจัดการเป้ าหมายใด
 ลีดจะเป็ นคนพิจารณาตัดสน
ึ หลายลาในรูปขบวนแบบชด
ิ และทาให ้ไม่
 มันยากในการคัดแยกและกาหนดเป้ าหมายข ้าศก
้
สามารถใชการวิ
ทยุแบบตาแหน่งอ ้างอิง(bulleye)ในทางปฏิบัตไิ ด ้ ในกรณีนี้ มันง่ายกว่าทีจ
่ ะ
้
ระบุและกาหนดแต่เป้ าหมายในรูปแบบของตาแหน่งในกลุม
่ ต.ย. ลีด/ลาตาม(Trail) , ซาย/
ขวา , เหนือ/ใต ้/ออก/ตก หันตรง/หันข ้าง ความสูง หรืออืน
่ ๆ
 “Falcon 12, Falcon11, target bandit bullseye 043 for 74, angels 16”; or
 “Falcon 12, Falcon11, target bandit lead left, angels 16”
 ถ ้าจาเป็ นให ้สวิทชไ์ ปเป็ นโหมดขยาย (ดูหน ้าต่อไป) เพือ
่ ชว่ ยให ้ระบุคอนแทคทัง้ หมดและ
ั เจนขึน
เป้ าหมายทีร่ ับผิดชอบได ้ชด
้
 ถ ้าคุณไม่สามารคัดแยกเป้ าหมายทีไ่ ด ้รับผิดชอบได ้ ให ้ระบุเป้ าหมายทีค
่ ณ
ุ คัดแยกได ้และ
้ ธ
รายงานต่อลีดโดยทันที ควรทีจ
่ ะมีการบรรยายสรุปล่วงหน ้าไว ้ถึงระยะทีค
่ ณ
ุ จะสามารถใชอาวุ
ได ้เองเลยหากอยูใ่ นเหตุการณ์ทค
ี่ ณ
ุ ไม่สามารถคัดแยกเป้ าหมายทีร่ ับผิดชอบได ้
 แบ่งเป้ าหมายด ้วยมุมกวาดเรดาห์(Azimuth) แบนด์วธิ และระดับสูงตา่
้
 พิสจ
ู น์เป้ าหมายและรับข ้อมูลเสนทางเข
้าปะทะจากเรดาห์
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
3. ค ัดแยก / กาหนดเป้าหมาย
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Sorting / Targeting)
13
© May 2004
Expanded
Mode
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
BVR Engagements: 6 Phases (Sorting / Targeting cont.)
TWS Expanded Mode
14
่ อนแทคบนเรดาห์
โหมดขยายมีประโยชน์มากในการคัดแยกและกาหนดเป้ าหมายใสค
้
ในตัวอย่างข ้างล่างนี้ การวิทยุแบบอ ้างอิงตาแหน่งไม่สามารถใชในการคั
ดแยกและกาหนดเป้ าหมายได ้
ใน (A) มันยากในการคัดแยกจานวนของคอนแทค ข ้อมูลและความสูงของพวกมัน และดังนัน
้ มันยังยากที่
จะกาหนดและได ้มาซงึ่ เป้ าหมายทีร่ ับผิดชอบอีกด ้วย
ั เจนขึน
ในโหมด TWS แบบโหมดขยาย (B) มันกลับชด
้ บอกได ้ว่าอยูใ่ นรูปขบวนแบบ 2 อีลเี มนต์ มีลด
ี
้
และลาตาม โดยทีล
่ ด
ี ของแต่ละอีลเี มนต์อยูท
่ ด
ี่ ้านซายและล
ารองอยูด
่ ้านขวา ลารองของลีดอยูท
่ ค
ี่ วามสูง
แองเจิล
้ 17 และลาอืน
่ ทัง้ หมดอยูท
่ แ
ี่ องเจิล
้ 16
โดยทีไ่ ด ้รับข ้อมูลเหล่านี้ มันทาให ้ง่ายขึน
้ มากในการคัดแยก กาหนดหน ้าที่ และกาหนดเป้ าหมาย
Normal Mode
B
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
A
TWS Mode
© May 2004
เค ้าโครงการเข ้าปะทะถูกออกแบบเพือ
่ ชว่ ยให ้กลุม
่ เทีย
่ วบินได ้รับค่าทีเ่ หมาะสมในการใช ้
ึ โอกาสแบบเดียวกันนี้
อาวุธในขณะทีพ
่ ยายามปฏิเสธข ้าศก
 เลือกอาวุธ
 อาวุธทีอ
่ ยูใ่ นความสนใจตอนนีก
้ ็คอ
ื AIM-120 AMRAAM (ARH BVR Missile)
 คุณควรเข้าใจสงิ่ เหล่านี:้
้
 เรดาห์ ECM และความสามารถของอาวุธของคุณ อีกทัง้ ความสามารถของคูต
่ อ
่ สูของคุ
ณ สงิ่
ิ วิธใี นการเข ้าปะทะและดาเนินกลยุทธ์ตอ
เหล่านีจ
้ ะชว่ ยพิจารณาตัดสน
่ เป้ าหมายของคุณ
 แนวความคิดของขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ ; Rmax และ Rmin; A-Pole และ E-Pole ;
และเหตุทเี่ ป้ าหมายทีบ
่ ังคับบินสามารถมีผลต่อค่าเหล่านี้ แล ้วก็เทคนิคในการเข ้าปะทะและเข ้า
ทาการรบ
 (การเข ้าปะทะแบบหลายลาและเทคนิคการสนับสนุนซงึ่ กันและกันจะถูกกล่าวถึงในบทเรียน
เรือ
่ งการเข ้าโจมตีขน
ั ้ สูง)
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
4. & 5. บินเข้าปะทะและเข้าทาการรบ
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
15
© May 2004
 เพือ
่ ให ้ได ้ผลตามนัน
้ นักบินจะต ้อง:
 เข ้าไปใกล ้เป้ าหมาย
 เริม
่ ทาการระบุและคงรักษาผลการระบุทด
ี่ ี
 ถ ้าหากจาเป็ นต ้องทาการบีมหรือปรับเปลีย
่ นทิศทาง หาระยะทีเ่ พียงพอจาก
เป้ าหมาย (พืน
้ ทีส
่ าหรับการเลีย
้ วปรับทิศทาง)
้
 ไปตามเสนทางเข
้าหาตัวโดยตรง
 หาจุดสาหรับติดตามมอง
 เริม
่ ทาการระบุด ้วยสายตา (หากจาเป็ น)
 บังคับบินเพือ
่ ให ้ได ้ค่าทีเ่ หมาะสมของอาวุธ
 เทคนิคในการทาขัน
้ ตอนเหล่านีใ้ ห ้สาเร็จคือแบบพืน
้ ฐานของการเข ้าปะทะ
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
้
การจูโ่ จมเข ้าปะทะเกีย
่ วข ้องกับการใชเรดาห์
ในการตรวจจับเป้ าหมายเฉพาะ
้
้
หลังจากนัน
้ ใชเรขาคณิ
ตการวางแนวเสนทางเข
้าปะทะเพือ
่ มาถึงยังตาแหน่งที่
ซงึ่ เป้ าหมายสามารถถูกระบุ(ถ ้าจาเป็ น)และยิงอาวุธได ้
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
16
© May 2004
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
มี 6 ขัน
้ ตอนในแบบพืน
้ ฐานการเข ้าปะทะ:
้
1. ไปตามเสนทางดั
กหน ้าจนกระทั่งเหลือ
ระยะ 20 nm
้ อ
ี้ อกบังคับทิศทางเข ้า
 โดยใชเครื
่ งหมายชบ
ปะทะ (intercept steering cue)
2. เริม
่ ทาการ offset (หักหัวออก) ที่ 20 nm
ึ (มุมหัน)มากกว่า 120
 ถ ้ามุมจากท ้ายข ้าศก
องศา ให ้เลีย
้ วออก 40°-50° ในทิศ
ทางตรงข ้ามกับทิศทีเ่ ป้ าหมายหันไป
้
3. ใชความเร็
วให ้ได ้เปรียบและพืน
้ ทีใ่ นการ
เลีย
้ ว (ขึน
้ ข ้างบนหรือลงข ้างล่าง)
 เฝ้ าติดตามดูมม
ุ หันของเป้ าหมาย
้
5. เริม
่ ไปตามเสนทางเข
้าหาตัวตรงๆทีม
่ ม
ุ หัน
จากท ้ายเป็ น 120° (ระยะ 6 - 8 nm
สาหรับการเริม
่ จากมุมหันมาตรงๆ)
้
 ไม่วา่ มุมหันเท่าใด ไปตามเสนทางเข
้าหา
ตัวที่ 5 nm หรือน ้อยกว่า
้ ธ
6. ใช ้ BFM บังคับบินเพือ
่ ใชอาวุ
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
้
4. ใชโหมดติ
ดตามเป้ าหมายเดียว(STT) ที่
10 miles
จงรู ้ไว ้ว่าจุดมุง่ หมาย(ขึน
้ อยูก
่ บ
ั อาวุธ A–A และปฏิกริ ย
ิ า
ิ้ และ
ตอบโต ้จากเป้ าหมาย) คือทาการเข ้าปะทะทีเ่ สร็จสน
เข ้าต่อตีทส
ี่ าเร็จก่อนขัน
้ ตอนที่ 4 (โดยไม่จาเป็ นต ้องเข ้า
่ ารรบทีร่ ะยะภายในสายตา)
สูก
17
© May 2004
From MCH 11-F16 Vol 5 10 May 1996
็ หน ้าที่ NCTR ใน TWS หรือ STT และทาการยืนยันสุดท ้ายว่าได ้เข ้าทาการรบกับ
 ตรวจเชค
เป้ าหมายทีถ
่ ก
ู ต ้อง
 เอาเป้ าหมายให ้มาอยูใ่ นค่าทีเ่ หมาะสม จงแน่ใจว่าคุณเข ้าใจขอบเขตการมีอานุภาพของอาวุธ
และ DLZ กาลังบอกอะไรคุณ จงให ้ความสนใจระยะ ความเร็ว และด ้านทีเ่ ห็นของเป้ าหมาย
ของคุณ
 กดปุ่ มปล่อยอาวุธและวิทยุแจ ้งการปล่อยอาวุธของคุณ:
i.e. “Falcon 12, Fox 3, Bullseye 160 for 22, angels 25”
 วางเป้ าหมายบนขอบเรดาห์ด ้านข ้างเพือ
่ คงรักษาความเร็วเข ้าหาเป้ าหมายทีน
่ ้อยทีส
่ ุด และ
่ ต
สนับสนุนมิสไซล์ของคุณจนกระทั่งเข ้าสูอ
ั โนมัต(ิ pitbull) ข ้อสงั เกต: มิสไซล์ทไี่ ม่ถก
ู
สนับสนุนจนถึงระยะอัตโนมัตอ
ิ าจจะไม่ได ้ติดตามเป้ าหมายทีต
่ ัง้ ใจไว ้(มองหาเป้ าเอง)
่ การบังคับบินเร่งอัดเข ้าใสค
่ วรถูกวางแผนไว ้ก่อน นั่นคือ ได ้รับบรรยาย
 กลยุทธ์ทั่วไปอย่างเชน
่ ระยะของเป้ าหมาย
สรุปมาก่อนทีจ
่ ะทาเมือ
่ ได ้รับค่าทีเ่ หมาะสมแล ้ว อย่างเชน
้
 ถ ้าจาเป็ นต ้องต่อสูแบบ
WVR จงแน่ใจว่าได ้เลือกอาวุธและเรดาห์โหมดทีเ่ หมาะสม และ
จัดเตรียม การเข ้าปะทะระยะใกล ้ซงึ่ ชว่ ยให ้ได ้ค่าทีเ่ หมาะสมของอาวุธในขณะทีก
่ าลังพยายาม
ึ โอกาสแบบเดียวกัน
ปฏิเสธข ้าศก
 อย่ายิงมิสไซล์และลืมมันนอกจากว่าจะหลีกเลีย
่ งไม่ได ้ มันสาคัญทีจ
่ ะยืนยันผลจากการยิง
ึ ขณะนัน
เพือ
่ ทีก
่ ลุม
่ เทีย
่ วบินของคุณจะได ้รู ้ว่าข ้าศก
้ เหลืออยูเ่ ท่าไหร่
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
 เข ้าทาการรบ(ต่อตี):
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
18
© May 2004

ี หายได ้รูปกรวยของฝ่ ายป้ องกันถูก
พืน
้ ทีท
่ ท
ี่ าให ้เสย
กาหนดจากระยะ มุมตาแหน่งจากท ้าย มุมทิศทาง
้
ทีท
่ ากับเราและวิธต
ี ด
ิ ตามเสนทาง
เพือ
่ ประมาณชว่ ง
ขอบเขตการปล่อยอาวุธของอาวุธเฉพาะชนิดหนึง่

้ อ
BFM ถูกนามาใชเมื
่ จาเป็ นเพือ
่ ลดระยะทาง มุม
ตาแหน่งจากท ้าย และมุมทิศทางทีท
่ ากับเรา
่ อบเขตการมีอานุภาพของอาวุธนี้
เพือ
่ ทีจ
่ ะเข ้าสูข

แผนภาพด ้านข ้างคือขอบเขตการมีอานุภาพของ
อาวุธสาหรับมิสไซล์ทย
ี่ งิ ได ้จากรอบด ้านของ
้
เป้ าหมายโดยทีเ่ ป้ าหมายกาลังบินในแนวเสนตรง
และอยูใ่ นแนวระดับเข ้ามาทีค
่ ณ
ุ

ึ มากกว่า
ระยะปฏิบต
ั ก
ิ ารมีผลต่อด ้านหน ้าของข ้าศก
ข ้างหลังมาก สะท ้อนความจริงทีว่ า่ เป้ าหมายกาลัง
บินตรงมาทีม
่ ส
ิ ไซล์ทถ
ี่ ก
ู ยิงมาด ้านหน ้าและ
่ เดียวกับกาลังหนีจากมิสไซล์ทย
เชน
ี่ งิ จากข ้างหลัง
มิสไซล์ชนิดเข ้าด ้านหลังจะไม่มส
ี ว่ นด ้านหน ้าของรูป
ไข่อย่างนี้
แนวห่อหุ ้มการมีอานุภาพของปื นแคนนอนจะกลม เป็ น
การแสดงถึง Rmax โดยทีไ่ ม่ม ี Rmin
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
แนวห่อหุ ้มการมีอานุภาพของอาวุธ( Weapons
Envelope) คือพืน
้ ทีท
่ ซ
ี่ งึ่ อาวุธเฉพาะชนิดหนึง่ มี
ิ ธิผลต่อเป้ าหมายนัน
ประสท
้ ๆ
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
19
© May 2004
Diagram from: How to Live and Die in the Virtual Sky by Dan "Crash" Crenshaw
ขอบเขตนอกคือระยะมากทีส
่ ด
ุ แบบอากาศพลศาสตร์ ที่
ซงึ่ มิสไซล์สามารถนาวิถเี ข ้าภายในระยะพลาดเป้ าทีท
่ า
อันตรายได ้ (Rmax) มันสะท ้อนให ้เห็นความสามารถ
ของแรงขับดันของมิสไซล์ การนาวิถ ี และระบบควบคุม
่ เดียวกับความเร็วของเครือ
เชน
่ งบินทีย
่ งิ และเป้ าหมาย
และด ้านทีม
่ ส
ิ ไซล์ถก
ู ยิงเข ้าใส่

ขอบเขตในรอบเป้ าหมายคือระยะจากัดทีน
่ ้อยทีส
่ ด
ุ
(Rmin) ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ด ้าน นีอ
่ าจจะเป็ นผลของชว่ งเวลา
จุดชนวน ความสามารถในการเลีย
้ วของมิสไซล์
ชว่ งเวลาปฏิกริ ย
ิ าการนาวิถ ี หรือขอบการมองของเรดาห์

รูปร่างของแนวห่อหุ ้มการมีผลของอาวุธเปลีย
่ นแปลงได ้
เมือ
่ เป้ าหมายบังคับบินและเลีย
้ วดึงหลาย G ทีแ
่ นว
ห่อหุ ้มระยะไกลสุดของการบังคับบินไม่สมมาตรกันมาก
โดยทีร่ ะยะของด ้านทีห
่ น
ั เข ้าหามีมากกว่าด ้านทีห
่ น
ั ออก
่ ต
มาก ใน B) เป้ าหมายทาการบังคับบินเลีย
้ วเข ้าใสค
ู่ อ
่ สู ้
้
้
ทางด ้านซายของมั
น และออกจากคูต
่ อ
่ สูทางด
้านขวา
เฝ้ าดูวา่ DLZ ตอบสนองต่อการบังคับบินของเป้ าหมาย
ได ้อย่างไร

้ ว
โดยการเลือกทิศทางและอ ัตราเร็วในการเลีย
เป้าหมายสามารถทาให้มผ
ี ลอย่างมากต่อแนว
ห่อหุม
้ ระยะทีม
่ ากทีส
่ ด
ุ นี้ อย่างทีไ่ ด้บอกไว้ใน DLZ
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment

Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
20
© May 2004
Diagram from: Fighter Combat: Tactics and Maneuvering, by Robert Shaw
ถ ้าเป้ าหมายบังคับบินไปสู่
มุมหันทีต
่ า่ (หันแนว
เดียวกับเรา) ระยะทีม
่ ี
ิ ธิผลสูงสุดจะลดลง
ประสท
และในทานองเดียวกัน
Dynamic Launch Zone เขตระยะการยิงผ ันแปร
DLZ ขอบระยะทัง้ หมด
R1Max
- ระยะไกลสุดทีม
่ ส
ิ ไซล์จะไปได ้ถ ้าถูกยิงใสเ่ ป้ าหมาย
ทีบ
่ น
ิ ไปตรงๆ( 1g)
R2Max – ระยะไกลสุดทีย่ งิ ใสเ่ ป้ าหมายทีเ่ ลีย้ วคงที่ 6 g
่ ม
ไปสูม
ุ หันที่ 0 องศา (หันหลังให ้เรา) แล ้วเร่งความเร็ว
เพิม
่ อีก300 น็ อต
ี้ ง่ ระยะ
ตัวชบ
(เครือ
่ งหมาย ^)
R2Min –ระยะทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีย่ งิ ใสเ่ ป้ าหมายทีเ่ ลีย้ วคงที่ 6 g
หันมาใสเ่ รา (มุมหัน 180 องศา)
ความเร็วเข ้าหา
R1Min –ระยะทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีย่ งิ ใสเ่ ป้ าหมายทีบ่ นิ ไปตรงๆ
(1 g)
ี้ อกระยะทางานด ้วย
ตัวชบ
ตัวเอง (วงกลม)
ี้ อกเวลาเข้าสูก
่ ารทางานด้วยต ัวเอง
ต ัวชบ
A = เวลาเป็ นวินาทีทม
ี่ ส
ิ ไซล์ลก
ู ต่อไปจะทางานด ้วยตัวเอง
T = เวลาจนกระทั่งมิสไซล์ลก
ู ทีแ
่ ล ้วจะกระทบเป้ า
© May 2004
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
เมือ
่ เป้ าหมายเปลีย
่ น
ความเร็วและมุมทีห
่ น
ั ไป
DLZ จะสะท ้อนผลการ
เปลีย
่ นทีเ่ ราเห็นจาก
ขอบเขตการมีอานุภาพ
ของอาวุธ สาหรับ
เป้ าหมายทีก
่ าลังบังคับบิน
ตามหน ้าทีแ
่ ล ้ว
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
21
“รูปเพชรมีขน” ห ัว
มองหาเป้าของ
AIM-120 โดยทีไ่ ม่ม ี
การล็อค ด ังนนให้
ั้
วางเป้าทีต
่ รงกลางวง
บอกเป้า (reticle)
Reticle
เป้าหมายอยูท
่ ี่ R2min ของอาวุธที่
เลือก จงจาไว้วา่ DLZ มาจาก
ขอบเขตการมีอานภาพของอาวุธ
สามารถเปลีย
่ นได้กะท ันห ันถ้าหาก
เป้าหมายนนท
ั้ าการบ ังค ับบิน
เป้าหมายโดนล็อค
เครือ
่ งหมายบอกมุมห ัน : ยิง่ ใกล้
ิ (0 องศา - ห ันไปทาง
6 นาฬกา
เดียวก ับเรา) ยิง่ มีมม
ุ ห ันน้อยลง
(มุมห ันตา
่ )
© May 2004
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
จานวน MRM บน
เครือ
่ ง/ HUD โหมด
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
ระยะเป้าหมาย
MRM โหมด เป้าหมายโดนล็อค
22
Attack Steering Cue
เมือ
่ เป้าหมายอยูน
่ อกระยะยิงไกลสุดของ
AIM-120 (R1max) วงบอกเป้าของ
AIM-120 จะเป็นวงเล็กๆ ใน HUD
เป้าหมายมีมม
ุ ห ันทีส
่ ง
ู (ห ันเข้าหาเรา)
R2max
กล่องกาหนดเป้าหมาย (TD Box)
่ ายในระยะ R1max
พอเมือ
่ เป้าหมายเข้าสูภ
วงบอกเป้าของ AIM-120 จะขยายใหญ่ เมือ
่
เป้าหมายเข้าสูร่ ะยะ R2max วงบอกเป้าจะ
กระพริบ บอกให้รถ
ู ้ งึ ค่าทีเ่ หมาะสมทีด
่ ใี นการ
ยิง
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
ี้ อกบ ังค ับทิศทางเข้าจูโ่ จม
ต ัวชบ
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
23
© May 2004
ั เจนว่า เครือ
ิ ธิภาพล็อคได ้ก่อนยิงได ้ก่อนจะมี A-Pole ทีไ่ ด ้เปรียบ ต.ย. เครือ
่
 ชด
่ งบินทีม
่ ป
ี ระสท
่ งบินอย่างเชน
่ ทีว่ า่ ต่อ F-16 เพราะเรดาห์ทท
Su-27 ได ้เปรียบเชน
ี่ รงพลังกว่าของมันสามารถทะลวงผ่าน ECM ได ้ก่อน
 อย่างไรก็ตาม การยิงโดยเร็วทีส
่ ด
ุ ในชว่ งขณะทีเ่ ป็ นไปได ้จะไม่จาเป็ นว่าจะได ้เปรียบเสมอไป ถ ้าเป้ าหมายนัน
้
ได ้แยกออกมาเอาชนะมิสไซล์ของคุณโดยการเคลือ
่ นทีเ่ ปลีย
่ นทิศทางอย่างรวดเร็ว (ดู E-Pole) และกลับมา
เป็ นฝ่ ายรุก ยิง่ กว่านัน
้ ระยะ A-Pole นัน
้ มันไม่คงที่
 ระยะ A-Pole สามารถเพิม
่ ได ้ในสองวิธ ี : a) โดยการปรับปรุงสมรรถภาพของมิสไซล์ (ด ้วยความเร็วและ
ความสูงทีไ่ ด ้เปรียบ และการยิงทิศทางเข ้าหาตัวตรงๆ) และ b) โดยการลดความเร็วเข ้าหาเป้ าหมายโดย
ทันทีหลังจากยิง (cranking และ การเบรก) ปั ญหาก็คอ
ื a)ค่อนข ้างขัดแย ้งกับจุดประสงค์ของ b) ทีว่ า่
ี ต่ออัตราการเลีย
ความเร็วทีม
่ ากเกินไปมีผลเสย
้ ว รัศมีการเลีย
้ ว การเบรก และ ความเร็วเข ้าหาตา่ แต่การยิง
ทิศทางเข ้าหาตัวตรงๆ เพิม
่ ความเร็วเข ้าหา ดังนัน
้ ควรตัง้ ความสมดุลระหว่างตัวแปรเหล่านีซ
้ งึ่ จะชว่ ย
สนับสนุนให ้มิสไซล์เข ้าสู”่ อัตโนมัต”ิ ด ้วยความเร็วเข ้าหาเป้ าหมายทีน
่ ้อยทีส
่ ด
ุ ในขณะทีค
่ งรักษาพลังงาน
เพียงพอทีจ
่ ะเอาชนะมิสไซล์ใดก็ตามทีเ่ ข ้ามาได ้สาเร็จ (ความเร็วไม่ตา่ กว่าพืน
้ ทีส
่ ว่ นบนของทีร่ าบสูงหรือ
้ ตราเลีย
ชว่ งความเร็วทีใ่ ห ้อัตราเลีย
้ วดีสด
ุ ของเสนอั
้ วต่อความเร็ว)
่ Su-27 ก็มข
 เครือ
่ งบินอย่างเชน
ี ้อได ้เปรียบในด ้านเรดาห์มองมุมด ้านข ้างทีก
่ ว ้างกว่าของมัน ชว่ ยให ้มัน
crank ได ้มากกว่า F-16 ตอนทีก
่ าลังสนับสนุนมิสไซล์ของมัน
ิ จากเพียงการบังคับบินของคุณ แต่ยังจากการบังคับบินจากเป้ าหมาย
 จงจาไว ้ว่าระยะ A-Pole ไม่ได ้ถูกตัดสน
ของคุณอีกด ้วย
่ ารทางานด ้วยตัวเองในหน ้าของ DLZ
 ดูตวั บอกเวลาเข ้าสูก
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
 A-Pole - ระยะห่างจากเครือ
่ งบินทีย
่ งิ ก ับเป้าหมายเมือ
่ มิสไซล์เริม
่ ทาการนาวิถด
ี ว้ ยต ัวเอง
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
24
© May 2004
 จุดประสงค์คอ
ื การบังคับบินไปอยูใ่ นตาแหน่งทีป
่ ล่อยมิสไซล์ของเรามีโอกาสปะทะได ้สูง ขณะที่
เพิม
่ ระยะ A-Pole ให ้มากทีส
่ ด
ุ และคงรักษาการแยกตัวทีเ่ พียงพอเพือ
่ ทีจ
่ ะเอาชนะมิสไซล์ทเี่ ข ้ามา
ได ้
 โดยทีเ่ ป็ นทีต
่ ้องการ ค่าทีเ่ หมาะสมในการยิงทีด
่ ค
ี วรมีเป้ าหมายอยูใ่ นระยะ E-Pole ของเขา
ี เปรียบ ตรงนีค
ขณะทีเ่ ราคงให ้อยูน
่ อกของเรา โดยทีถ
่ อ
ื ว่าเราไม่อยูใ่ นตาแหน่งที่ E-Pole เสย
้ อ
ื
วิธท
ี เี่ ราบรรลุคา่ ทีเ่ หมาะสมเหล่านี:้
ิ จากเพียงชนิดของมิส
 ระยะ E-Pole นัน
้ ยากในการคานวณให ้ถูกต ้องเพราะว่ามันไม่ได ้ถูกตัดสน
ไซล์และความเร็วกับความสูงของเครือ
่ งบินทีย
่ งิ แต่ยังความเร็ว อัตราเร็วเข ้าหา มุมต่าง
ความสามารถในการเลีย
้ วและการเร่งความเร็วของเป้ าหมายอีกด ้วย (ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ชนิดของเครือ
่ งบิน
และอาวุธทีต
่ ด
ิ ตัง้ มา) และการนึกรู ้ได ้ถึงการทีย
่ งิ มาก่อน ยิง่ เป้ าหมายทามุมต่างครัง้ แรกตอน
เวลาทีผ
่ ู ้โจมตียงิ มากเท่าไร ก็ยงิ่ นึกรู ้ถึงการยิงของศัตรูได ้เร็วขึน
้ เท่านัน
้ และยิง่ มีความสามารถใน
้ งงานและอัตราการเลีย
การจัดการใชพลั
้ วและเร่งหนีเพือ
่ ป้ องกันดีขน
ึ้ เท่าไร ก็ยงิ่ ต ้องการระยะห่าง
จากเครือ
่ งบินทีเ่ ป็ นภัยคุกคามน ้อยลงเท่านัน
้
้
่ การยิงทีม
 ฉะนัน
้ โดยการใชเรขาคณิ
ตการวางแนวทิศทางอย่างเชน
่ ม
ี ม
ุ ต่างทีท
่ าต่อกันและการไม่
เปิ ดโอกาสในการยิงใสเ่ ราแบบประจันหน ้า เราสามารถสร ้าง E-Pole ทีไ่ ด ้เปรียบได ้
 โดยทีเ่ ป็ นคาแนะนาคร่าวๆสาหรับ F-16 vs AA-12 ระยะ 10-14 nm จากเครือ
่ งบินทีเ่ ป็ นภัย
คุกคามขณะเวลายิง(ขึน
้ อยูก
่ บ
ั ตัวแปรอย่างทีอ
่ ธิบายข ้างบน) ถือว่าเป็ นระยะ E-Poleทีน
่ ้อยทีส
่ ด
ุ
อย่างมีเหตุผล
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
 E-Pole – ระยะจากเครือ
่ งบินทีเ่ ป็นภ ัยคุกคามทีซ
่ งึ่ เมือ
่ ได้ทาการวกกล ับ (drag)
ิ้ จะเอาชนะมิสไซล์ใดๆทีข
ึ ได้ยงิ มาหรือกาล ังยิงมาได้
เสร็ จสน
่ า้ ศก
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Intercept / Engage)
25
© May 2004
้
้ ธหรือ
 แผนการแยกตัวออกและออกไปยังเสนทางควรได
้รับการบรรยายสรุปก่อน ถ ้าคุณใชอาวุ
ื้ เพลิงจนเหลือน ้อย คุณไม่สามารถคงความได ้เปรียบอยูไ่ ด ้ เครือ
ึ ปรากฏมากขึน
เชอ
่ งบินข ้าศก
้ ,
หรือบทบาทของกลุม
่ เทีย
่ วบินของคุณทาการรบต่ออย่างไม่พงึ ประสงค์ เพือ
่ ทีจ
่ ะแยกตัวออก
ี้ ละใชประโยชน์
้
่ งทางหนี คุณจะ
จากการรบโดยปลอดภัย คุณจาเป็ นทีจ
่ ะต ้องรู ้วิธรี ะบุชแ
ของชอ
่ าน? กลับทิศทางใด?
กลับเข ้ารบ? ทาภารกิจต่อ? กลับสูฐ
 ลีดควรวิทยุแจ ้งทิศทางทีไ่ ป ความเร็วและความสูง เพือ
่ จากัดการแยกตัวออก ขณะทีก
่ ลุม
่
เทีย
่ วบินสร ้างสภาพการรับรู ้สถานการณ์ขน
ึ้ มาใหม่โดยทันทีหลังจากการรบ; ตรวจดู HSD ของ
ี้ งึ ทีเ่ หลือของกลุม
คุณเพือ
่ ระบุชถ
่ คุณและกลับเข ้ามาอยูใ่ นรูปขบวนโดยเร็วทีส
่ ด
ุ เท่าทีเ่ ป็ นไป
็ อินกับ
ได ้; ตรวจเรดาห์และ RWR ; สแกนมองพืน
้ ทีเ่ พือ
่ หาภัยคุกคามด ้วยสายตา; เชค
AWACS หากเป็ นไปได ้
 อย่าเพิง่ คิดเกีย
่ วกับการผ่อนคลายจนกว่าคุณจะแน่ใจ 100% เต็มว่าพืน
้ ทีน
่ ัน
้ ไม่มภ
ี ัยหรือหรือ
่ ริเวณพืน
คุณได ้กลับเข ้าสูบ
้ ทีท
่ ป
ี่ ลอดภัยหลังจากการแยกตัวออก อย่าเตร็ดเตร่ในพืน
้ ทีน
่ ัน
้
นอกจากว่าภารกิจของคุณจะต ้องการมัน
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
6. แยกต ัวออก:
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR Engagements: 6 Phases (Separate)
26
© May 2004
ึ ถ ้าคุณมีมส
 ภายในระยะ Rmax ของข ้าศก
ิ ไซล์ในอากาศ และคุณยังไม่โดนล็อค คุณกาลังได ้เปรียบ
และควร press หัวกลับไปเตรียมยิงลูกต่อไป
ึ ถ ้าคุณมีมส
 ภายในระยะ Rmax ของข ้าศก
ิ ไซล์ในอากาศ แต่คณ
ุ กาลังถูกล็อคอยู่ คุณควร crank ไป
ขอบด ้านข ้างเพือ
่ สนับสนุนมิสไซล์ของคุณจนถึงเวลามันทางานด ้วยตัวเอง เป็ นการเพิม
่ A-Pole ให ้
มากทีส
่ ด
ุ และลดระยะ E-Pole ให ้น ้อยทีส
่ ด
ุ
ึ ไม่มม
 ถ ้าคุณหลุดออกจากการถูกล็อคและข ้าศก
ี ส
ิ ไซล์ในอากาศ ทา press และจงเตรียมพร ้อมทาการ
ยิงลูกต่อไป
 ถ ้าคุณยังถูกล็อคอยู่ จงให ้ความสนใจระยะ E-Pole ของคุณ บังคับบินทาบีม และจงเตรียมทีจ
่ ะเลีย
้ ว
วกกลับแบบป้ องกัน (defensive drag)
 ถ ้าคุณกาลังได ้เปรียบแต่วา่ ถูกล็อค บังคับบินทาบีมแบบทัง้ หมู่ บังคับบินแบบแยกเป็ นคูๆ่ ชว่ ยให ้
ึ เห็นได ้ง่ายขึน
ึ ทีท
ข ้าศก
้ และแสดงให ้เห็นสองเป้ าหมายแทนทีจ
่ ะเป็ นเป้ าหมายเดียวแก่ข ้าศก
่ าการ
ล็อคอยู่
่ นัน
 ถ ้าคุณไม่มม
ี ส
ิ ไซล์ในอากาศ หรือไม่ได ้บัก/ล็อคเป้ าหมาย แต่คณ
ุ ถูกล็อคอยูเ่ ชน
้ คุณกาลัง
ี เปรียบ ทา Crank เรดาห์ทข
ึ ต่อไป และจงระวังระยะ E-Pole ของคุณ
เสย
ี่ อบข ้าง พยายามล็อคข ้าศก
่ นัน
 ถ ้าคุณหลุดออกจากการถูกล็อค เชน
้ ให ้กลับเข ้าทา press ถ ้าคุณยังถูกล็อคล็อคอยู่ บังคับบินทา
บีม จงจับตาดูระยะ E-Pole ของคุณ และจงเตรียมทาการวกกลับแบบป้ องกัน
Air-to-Air BVR Tactics and Weapons Employment
การบริหารจ ัดการเข้าต่อตี:
Lesson 7a:
http//:FreeBirdsWing.org
BVR: Managing the engagement
27
© May 2004
Thanks to Marlin for this analysis of the BVR engagement