4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่อ)

Download Report

Transcript 4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่อ)

อาเซียน
บทบาทภาครัฐและเอกชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สู่ การเตรียมพร้ อมภายใต้ กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใน
แง่ การลงทุน โลจิสติกส์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
20 สิ งหาคม 2555
ณ ห้ องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมตักศิลา จังหวัดมหาสารคาม
ผู้ดาเนินรายการ
อาจารย์ รสจรินทร์ กุลศรีสอน
รองศาสตราจารย์ ดร. ปพฤกษ์ อุตสาหะวาณิชกิจ
คณบดีคณะการบัญชีและการจัดการ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย สมัปปิ โต
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ดร.สมศักดิ์ พิภพภิญโญ
ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและโครงสร้างพื้นาาน
สานักงานเลขาธิการอาเซียน
รองศาสตราจารย์ ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร
ประธานสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมประประเทศไทย
ดร.สมศักดิ์ พิภพภิญโญ
ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและโครงสร้างพื้นาาน
สานักงานเลขาธิการอาเซียน
A Brief on ASEAN Economic Community
Somsak Pipoppinyo
Director for Finance, Industry and Infrastructure
ASEAN Secretariat
One Vision, One Identity, One Community
The Establishment of ASEAN
ASEAN was established with the signing of ASEAN Declaration
(Bangkok Declaration) in Bangkok on
8 August 1967
One Vision, One Identity, One Community
10
ASEAN’s Pathway: 4 Decades of Journey
Hanoi
ASEAN Free
ASEAN
Trade Area Vision 2020 Plan of
Action
(AFTA)
(HPA)
1967
1992
Birth of ASEAN
1997
1998
Vientiane
Action
Programme
(VAP)
2003
2004
Entry into
Force of
ASEAN
Charter
2007
ASEANEconomic
Bali
Community
Concord II
Blueprint
(Acceleration of
AEC to 2015)
One Vision, One Identity, One Community
2008
Cha-am Hua Hin
Declaration on the
Roadmap for the
ASEAN
Community
2009
2010
Master Plan on
ASEAN
Connectivity
11
ASEAN VISION 2020
30th Anniversary
• A concert of Southeast Asian nations, outward
looking, living in peace, stability and prosperity,
• bonded together in partnership in dynamic
development and
• in a community of caring societies
One Vision, One Identity, One Community
12
ASEAN Community
ASEAN
PoliticalSecurity
Community
(APSC)
Community
ASEAN
SocioCultural
(AEC)
Community
ASEAN
Economic
(ASCC)
Initiative for ASEAN Integration
Narrowing the Development Gap
Roadmap for an ASEAN Community 2009-2015
(http://www.asean.org/publications/RoadmapASEANCommunity.pdf)
Gross Domestic Product (GDP) in Billion US
Dollars and Rate of Change of Real GDP,
2010
14
China, 5,878
Real GDP growth in percent
12
India, 1,537
10
ASEAN, 1,858
8
ROK, 1,007
6
4
ANZ, 1,375
EU-27, 16,282
Japan, 5,458
USA, 14,657
2
-
(2)
14
One Vision, One Identity, One Community
ASEAN at a Glance: 2003 and 2010
Indicators
Unit
2003
2010
km2
4,435,670
4,435,670
million
542.3
598.5
US$ billion
718.4
1,858.7
percent
6.6
7.1
US$
1,322
3,106
US$ billion
824.5
2,045.7
Export
US$ billion
452.5
1,070.9
Import
US$ billion
372.0
974.8
Export of Services
US$ billion
80.1
216.9
Foreign direct investments inflow
US$ billion
24.5
76.2
Total land area
Total population
Gross domestic product at current
prices
GDP growth
Gross domestic product per capita at
current prices
International merchandise trade
15
Visitor arrivals
million
38.4
73.8
ASEAN Trade Volume
Value in billion US$
2,500
Total Trade
2,043
2,000
1,500
Extra-ASEAN
1,523
1,000
Total Trade
430
Intra ASEAN
520
500
Intra-ASEAN
82
Extra-ASEAN
348
0
1993
1994
1995
1996
1997
1998
1999
2000
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010
16
FDI Flows into ASEAN
Value in million US$
80,000
Total
70,000
60,000
ExtraASEAN
50,000
40,000
30,000
20,000
IntraASEAN
10,000
0
2000
2001
2002
2003
One Vision, One Identity, One Community
2004
2005
2006
2007
2008
2009
2010p/
17
Trans-regional Forum in
Global Architectures
One Vision, One Identity, One Community
18
ASEAN and Thailand
One Vision, One Identity, One Community
19
Growing importance of ASEAN as Exports
Market for Thailand 2006-2009
40
Source: Ministry of Commerce, Thailand
35
30
25
20
15
10
5
0
ASEAN
JAPAN
CHINA
2006
One Vision, One Identity, One Community
EU (27)
2007
2008
USA
OTHERS
2009
20
Thailand Trade with Major Trading
Partners
Source: Ministry of Commerce, Thailand
ASEAN: 21.3%
OTHERS: 35.0%
JAPAN: 10.3%
CHINA: 10.6%
USA: 10.9%
EU (27): 11.9%
One Vision, One Identity, One Community
21
Top Thai Exports to ASEAN, 2009
Thailand as an ASEAN Production Base
Source: Ministry of Commerce, Thailand
Top Imports
Top Exports
1. Petroleum products (9.9%)
2. Automotive and parts (9.5%)
3. Computer and parts (6.1%)
4. Electric circuits
(4.8%)
5. Chemical products
(4.0%)
One Vision, One Identity, One Community
1. Natural gas
(10.5%)
2. Crude oil
(10.4%)
3. Computer and parts (9.2%)
4. Electrical machinery and
parts
(7.1%)
5. Chemical products (6.6%)
6. Electric circuits (6.1%)]
22
Leadership &
Human Resource are Keys..
• Being visionary, with broader picture
•
•
•
and long-term perspective
Being competitive, equipped with up-todate knowledge, international standards
and practices, creative skills
Languages: English…ASEAN &+3….
Understanding diversities and
complementarities
Main Elements of AEC
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
Strategic Schedule
SINGLE MARKET AND
PRODUCTION BASE
COMPETITIVE
ECONOMIC
REGION
Free flow of goods
Competition policy
Free flow of
services
Consumer
Protection
Free flow of
investment
EQUITABLE
ECONOMIC
DEVELOPMENT
INTEGRATION INTO
THE GLOBAL
ECONOMY
SME development
Coherent
Approach towards
External Economic
Relations
Initiative for
ASEAN Integration
(IAI)
Intellectual
Property Rights
Freer flow of
capital
Infrastructure
development
Free flow of skilled
labor
Taxation
Priority Integration
Sectors
e-Commerce
Food, Agriculture and
Forestry
Human Resource Development
Research and Development
Enhanced
participation in
global supply
networks
ASEAN ECONOMIC
INTEGRATION
- STATUS IN KEY AREAS
One Vision, One Identity, One Community
25
Free Flow of Goods
Trade in Goods
• ASEAN-6  99.65% tariff lines eliminated
• CLMV  98.86% tariff lines reduced to 0-5%
• ASEAN Trade in Goods Agreement (ATIGA) entered
into force on 17 May 2010
• Comprehensive , covering all aspects of trade in
goods- NTB, SPS, Rules of Origin, Customs, ASW,
Standards and Conformance
One Vision, One Identity, One Community
26
Free Flow of Services and
Skilled Labour
Trade in Services
• At least 70% foreign equity participation for all service
sectors (2015)
• 8th Package signed in October 2010 and is expected to
be completed by 2012
Mutual Recognition Arrangement
Professional Services MRAs
• 7
professional services MRAs concluded: i.e.
Engineering Services, Architecture Services, Nursing
Services, Medical Practitioners, Dental Practitioners,
Accountancy and Surveying
One Vision, One Identity, One Community
27
Free Flow of Investments
ASEAN Comprehensive Investment Agreement (ACIA)
• Entered into force in March 2012
• Create an integrated investment region through
harmonizing investment rules
reducing investment restrictions
and
progressively
• Adoption of international best practices in investment
One Vision, One Identity, One Community
28
Freer Flow of Capital &
Financial Stability
Finance Integration
• Roadmap for Monetary and Financial Integration
in ASEAN (RIA-Fin)
• ASEAN Exchanges and ASEAN Stars
• Chiang Mai Initiative Multilaterisation (CMIM)
US$120 now billion – 24 March 2010 (ASEAN+3)–
now doubling the size
• ASEAN+3 Bond Market Forum (ABMF) and the
Credit Guarantee and Investment Facility (CGIF)
(ASEAN+3)
• ASEAN Infrastructure Fund (AIF) established–
study to possibly expand as ASEAN+3
One Vision, One Identity, One Community
29
Integration/Cooperation in Selected
Economic Sectors and Key Initiatives
Transport
• Brunei Action Plan (BAP), also referred to as ASEAN Strategic
Transport Plan 2011-2015.
• AHN, SKRL, ASEAN Single Shipping Market
• Open skies policy in ASEAN & with Dialogue Partners
• MOU on ASEAN’s Air Services Engagement with Dialogue
Partners signed
• ASEAN-China Air Transport Agreement, the first agreement
On
Tourism
• ASEAN Tourism Strategic Plan (ATSP) 2011-20150 , adopted by
the ASEAN Tourism Ministers in January 2011
• ASEAN Tourism Marketing Strategy (2012-2015) adopted in
January 2012
One Vision, One Identity, One Community
30
Integration/Cooperation in Selected
Economic Sectors and Key Initiatives (2)
•
ICT
ASEAN ICT Master Plan (2011-2015) was
adopted by ASEAN Telecommunications and
Information Technology Ministers in January
2011
Energy
• ASEAN Plan of Action on Energy Cooperation
2010-2015
• Nuclear Energy Cooperation Sub-Sector
Network (NEC-SSN) was established in July
2010
One Vision, One Identity, One Community
31
Integration/Cooperation in Selected
Economic Sectors and Key Initiatives (3)
Food Security
• ASEAN Integrated Food Security Framework (AIFS)
and its medium-term Strategic Plan of Action on
ASEAN Food Security (SPA-FS) adopted by Summit
• ASEAN Plus Three Emergency Rice Reserve
(APTERR) signed, October 2011
• ASEAN Plus Three Comprehensive Strategy on
Food Security and Bioenergy Development adopted,
October 2011
One Vision, One Identity, One Community
32
Equitable Economic Development
SME Development
• Strategic Plan of Action for ASEAN Small
and Medium Enterprises (SME)
Development 2010-2015
• SME Advisory Board
IAI & NDG
• IAI work Plan I & II
• Priority List
One Vision, One Identity, One Community
33
Integration into the Global Economy
•
ASEAN+China and ASEAN+Korea
 goods, services and investment
agreements signed
•
ASEAN+Japan and ASEAN+India
 goods completed; still to conclude
services and investment
•
ASEAN+Australia+New Zealand
 comprehensive agreement implemented
1 January 2010
One Vision, One Identity, One Community
34
Enhancing ASEAN External
Economic Relations
Global Engagement is Key
ASEAN-Russia
ASEAN-EU FTA
(Individual/Regional)
ASEAN-Canada
TIFA (Being
Developed)
ASEAN-China FTA
ASEAN-US TIFA
ASEAN-Korea FTA
ASEAN-Japan CEP
ASEAN-Pakistan
ASEAN-GCC
ASEAN-India FTA
ASEAN-AustraliaNew Zealand FTA
Trans Pacific Partnership?
East Asian community?
Asia Pacific community?
ASEANMERCOSUR
Implementation of Activities under the AEC Blueprint
Four-Phase Approach
2014 - 2015
2010 – 2011
55.8% completed
A
E
C
2012 – 2013
(on-going)
2008 – 2009
86.7% completed
36
Challenges and The Way Forward
ASEAN Institution & AEC Implementation
• The development divide among Member States—Decision Process
• 105 measures identified in AEC Blueprint need coordination and
capacity
Emerging Regional Architecture
• Moving forward beyond ASEAN+1 FTA by developing the ASEAN
++ FTA template for greater engagement with FTA Partners and
Other economic partners
Public-Private Sector Engagement
• Private sector engagement for feed backs– impact, effectiveness,
issues
• Regular consultations and business dialogues
One Vision, One Identity, One Community
37
Master Plan on Connectivity
• Master Plan on ASEAN Connectivity endorsed at
the ASEAN Summit in October 2010:
 Physical Connectivity (e.g. ASEAN Highway
Network and the Singapore - Kunming Rail Link)
 Institutional Connectivity (e.g. liberalisation on
the movements of goods, services and skilled
professionals across the borders)
 People-to-People Connectivity (e.g. Culture,
Education and tourism initiative)
One Vision, One Identity, One Community
39
Summary
• After 4 decades (since established 1967), from
ASEAN-5 to ASEAN-10, with legal personality in 2007
(ASEAN Charter)
• Although priority issues for each AMS may differ–
deeper integration, policy coordination (or learning)
common action, indicate mutual benefit.
• At the same time, expanding extra-ASEAN
cooperation has gained much reasonable ground
• Despite diversity (politic, economy, culture, language)
– setting a new phase towards deeper integration–
ASEAN Community in 2015
One Vision, One Identity, One Community
40
Summary (2)
• New approach, new dimensions added challenges
• Need to foster/promote private sector engagement to
obtain feedback on impact and effectiveness of
policies and measures, as well as actual
implementation issues
• To successfully move from vision to action–
institutional capacity, coordination mechanisms &
decision process(es), need to be further strengthened
One Vision, One Identity, One Community
41
ASEAN Charter
Entered into force on 15 December 2008
• Provide legal status and institutional framework for ASEAN
• Codifies ASEAN norms, rules and values
• Sets clear targets for ASEAN
• Presents accountability and compliance
• Committee of Permanent Representatives (CPR)
• Convening of ASEAN Summit twice a year
• Establishment of the ASEAN Intergovernmental
Commission on Human Rights
• Ambassadors to ASEAN
One Vision, One Identity, One Community
42
Thank You
www.asean.org
One Vision, One Identity, One Community
43
รองศาสตราจารย์ ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร
ประธานสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ผลกระทบของAEC ต่อภาคเกษตร
นิพนธ์ พัวพงศกร
สถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย
การสัมมนาและประชุมเชิงปฎิบตั ิ การ ในหัวข้อ “อาเซียน : บทบาทภาครัฐและ
เอกชนในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อสู่การเตรียมกรอบประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนในแง่การลงทุน โลจิสติกส์ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดโดย คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
20 สิงหาคม 2555
45
ประเด็นอภิปราย
• ภาวะการค้าสินค้าเกษตรใน ASEAN : อาเซียนค้าขาย
กันเองมากน้ อยเพียงใด และใครเก่งอะไร
• ข้อตกลง AEC มีผลต่อเศรษฐกิจ-การค้า อย่างไร
• AEC จะเกิดผลกระทบตามที่คาดคะเนได้มากน้ อย
เพียงใด
• ความสามารถในการแข่งขัน : ไทยเก่งอะไร เพราะเหตุ
ใด
• อนาคตเกษตรไทยจะเป็ นอย่างไร
46
1. อาเซียนค้าขายกันเองมากน้ อยเพียงใด
ใครเก่งอะไร
• สรุป 1 : สินค้าที่อาเซียนมีความสามารถในการแข่งขัน
คือ ข้าว มัน น้าตาล (ไทย) ยาง (ไทย มาเลย์ อินโดนี เซีย)
• น้ามันปาล์ม (มาเลย์+อินโด) กาแฟ (เวียตนาม อินโด)
• กุ้ง (ไทย+VN+อินโด) ไก่ (ไทย เวียตนาม)
• สรุป 2 : อาเซียนส่งออกสินค้าเกษตรจานวนมาก ไปขาย
ตลาดโลก แต่ขณะเดียวกันก็ต้องนาเข้าสินค้าเกษตรบาง
ชนิด
47
1. อาเซียนค้ าขายกันเองมากน้ อยเพียงใด ใครเก่ งอะไร (ต่ อ)
• สรุป 3 : แต่อาเซียนกลับมีการค้าขายระหว่างกันน้ อย
ประมาณ 1 ใน 4 ของการส่งออกทัวโลก
่
• สรุป 4 : ทาไมอาเซียนจึงค้าขายสินค้าเกษตรกับน้ อย
มาก
–ปลูกพืชชนิดเดียวกัน เพราะภูมิอากาศคล้ายกัน
–นโยบายปลูกเพื่อเลี้ยงตัวเอง และกีดกันการนาเข้า
–บางประเทศนาเข้าโดยใช้องค์กรค้าของรัฐ....มีปัญหาการ
ทุจริต เล่นพวก
48
1. อาเซียนค้ าขายกันเองมากน้ อยเพียงใด ใครเก่ งอะไร (ต่ อ)
• อาเซียนหลายประเทศเป็ นผูส้ ่งออกสินค้าเกษตรราย
สาคัญของตลาดโลก เช่น อินโดนี เซีย ไทย มาเลเซีย
เวียดนาม (และพม่าในอนาคตอันใกล้)
สั ดส่ วนการส่ งออกสิ นค้ าเกษตรของประเทศในอาเซียนไปยังตลาดโลก ปี 2552
49
อาเซียนส่งออกสินค้าเกษตรไปอาเซียนน้ อย แต่การ
นาเข้ามาจากอาเซียนมาก แสดงว่าอาเซียนมี
ความสามารถในการผลิต และส่งออกสูง
ASEAN Agricultural trade 2011
Export
Import
IntraASEAN
20%
Other
80%
Source: International Trade Centre (ITC)
IntraASEAN
34%
Other
66%
50
• อาเซียนยังค้าขายกันเองน้ อย แต่มีแนวโน้ มสูงขึน้
ASEAN exports
มูลค่าส่งออกสิ นค้าเกษตรไปยังตลาดโลก และร้อยละ
การส่งออกไปยังกลุ่มอาเซียน ค่าเฉลี่ยปี 2552-54
ที่มา : MANUCOM กระทรวงพาณิชย์
Thai’s exports
มูลค่าส่ งออกสินค้าเกษตรของไทยไปยังตลาดโลก
และร้ อยละการส่ งออกไปยังกลุ่มอาเซียน (H5-8 หลัก)
51
สินค้าหลักที่ขายในอาเซียน คือ ข้าว น้าตาล
Intra-ASEAN Export of Agricultural Products
Share
Value
57%
60%
6
4.89
41%
3.33
3
32%
2.91 2.67
2.35 2.51
1.82
1.46
29%
30%
13% 12%
14%
9%
0%
0
2010
2010
2011
2011
Share of Intra-ASEAN Export
Value of Intra-ASEAN Export (Bil.US$)
Palm oil
Natural rubber
Palm oil
Natural rubber
Rice
Cane or beet sugar
Rice
Cane or beet sugar
Source: International Trade Centre (ITC)
52
ASEAN Agricultural Products
Import
Value
100%
6
99%
Share
90% 90%
99%
92%
87%
3.94
3
2.14
2.54
2.66 2.64
2.19
50%
50%
42%
1.80
1.08
0%
0
2010
2010
2011
2011
Share of Intra-ASEAN Import
Value of Intra-ASEAN Import (Bil.US$)
Palm oil
Natural rubber
Palm oil
Natural rubber
Rice
Cane or beet sugar
Rice
Cane or beet sugar
Source: International Trade Centre (ITC)
53
ผูน้ าเข้ารายใหญ่ในอาเซียน : Singapore Malaysia
ผูส้ ่งออกรายใหญ่: ไทย มาเลย์
ปี 2011
Value of Import from Intra-ASEAN
(Bil.US$)
Thailand,
0.44, 10%
Value of Export from Intra-ASEAN
(Bil.US$)
Indonesia,
0.55, 13%
Thailand,
1.75, 31%
Malaysia,
1.29, 31%
Singapore,
1.49, 35%
Philippines,
0.46, 11%
Indonesia,
1.03, 18%
Malaysia,
1.45, 26%
Singapore,
1.21, 21%
Philippines,
0.23, 4%
Source: International Trade Centre (ITC)
54
ASEAN-6 Agricultural Products Trade By Counties
มาเลย์ -สิงคโปร์ นาเข้ ามาก
Share of Import
Value of Import
8.77
10
2.10 1.48
2.00
1.49
0.55 1.29 0.46
0.44 0.27
33%
30%
5.21
4.19
5
46%
50%
25%
18%
17%
24%
19%
14%
25%
0%
0
2001
2001
2011
2011
Share of intra-ASEAN import
Value of Import from ASEAN (Bil.US$)
Indonesia
Malaysia
Philippines
Indonesia
Malaysia
Philippines
Singapore
Thailand
Viet Nam*
Singapore
Thailand
Viet Nam*
ไทย-มาเลย์ ส่งออกมาก
Value of Export
10
5
26%
39%
29%
7.55
8.81
50%
0.74
2.16
25%
42%
40%
6.07
4.02
1.03 1.45 0.23 1.21 1.75 0.50
Share of Export
18%
26%
15% 12%
12%
17% 18% 14%
19% 16%
0%
0
2001
2011
Value of Export from ASEAN (Bil.US$)
2001
2011
Share of intra-ASEAN export
Indonesia
Malaysia
Philippines
Indonesia
Malaysia
Philippines
Singapore
Thailand
Viet Nam*
Singapore
Thailand
Viet Nam*
Note: Viet Nam, 2009 data.
Source: International Trade Centre (ITC)
55
• สินค้าส่งออกสาคัญของอาเซียน คือ ข้าว น้าตาล มัน ยาง
น้ามันปาล์ม ยังส่งออกไปอาเซียนไม่มาก
มูลค่ าส่ งออกข้ าวไปยังตลาดโลก และร้ อยละ
การส่ งออกไปยังกลุ่มอาเซียน ค่ าเฉลีย่ ปี 2552-54
60
% ส่ งออกไปอาเซี ยน
มูลค่าส่งออกไปยังตลาดโลก
ร้อยละการส่งออกไปยังอาเซียน
55
50
US Dollar
6000000
4000000
30
3000000
20
2000000
10
% ส่ งออกไปอาเซี ยน
ล้านบาท
5000000
40
13
มูลค่ าส่ งออกข้ าวของไทยไปยังตลาดโลก
และร้ อยละการส่ งออกไปยังกลุ่มอาเซียน
1000000
0
0
ไทย
เวียดนาม
56
• สินค้ าส่ งออกสาคัญของอาเซียน คือ ข้ าว นา้ ตาล มัน ยาง
นา้ มันปาล์ ม ยังส่ งออกไปอาเซียนไม่ มาก (ต่ อ)
มันสาปะหลัง
นา้ ตาล
ยางพารา
57
ASEAN Agricultural Major Products Import By Countries
Indonesia
ข้ าว-นา้ ตาล-แป้ง
2
Indonesia
98%
100%
75%
1.48
53%
0.86
1
0.07
0.13
54%
0.22
0.01
0
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Rice
Cane or beet sugar
Starches
Rice
3
100%
1.92
2
0.04
99%
Cane or beet sugar
100%
Starches
Malaysia
98%
97%
97%
83%
1.89
1.11
0.28
2011
Share of intra-ASEAN import
Malaysia
1
49%
41%
50%
50%
0.07
0
0%
2001
2011
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Natural rubber
Palm oil
Coconut
Source: International Trade Centre (ITC)
2001
2011
Share of intra-ASEAN import
Natural rubber
Palm oil
Coconut
58
ASEAN Agricultural Major Products Import By Countries
ข้ าว-นา้ มันพืช
Philippines
1
100%
Philippines
97%
98%
75%
56%
0.37
0.12
0.00
0.33
0.23
41%
50%
12%
0.06
0
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Rice
Animal or vegetable fats & oils
Share of intra-ASEAN import
Food preparations
Rice
Singapore
1
2011
100%
0.76
Animal or vegetable fats & oils
100%
99%
Singapore
96%
100%
Food preparations
99%
97%
0.49
0.23
0.08
0.09
50%
0.01
0
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Palm oil
Natural rubber
Edible products of animal origin
Source: International Trade Centre (ITC)
2011
Share of intra-ASEAN import
Palm oil
Natural rubber
Edible products of animal origin
59
ASEAN Agricultural Major Products Import By Countries
ปลา-malt
Thailand
1
Thailand
99%
99%
100%
50%
0.12
0.20
0.01
0.01
0.17
50%
0.11
0
19%
11%
10%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
2011
Share of intra-ASEAN import
Fish
Malt extract
Fish
Malt extract
Edible products of animal origin
Animal or veg fats, oils
Edible products of animal origin
Animal or veg fats, oils
ปาล์ ม-ยาง
Viet Nam
1
100%
Viet Nam
99%
99%
93%
62%
50%
0.34
0.05
0.16
0.00
0.00
42%
33%
0.11
0
0%
2001
2009
Value of intra-ASEAN import (Bil. US$)
Palm oil
Natural rubber
Maize
Source: International Trade Centre (ITC)
2001
2009
Share of intra-ASEAN import
Palm oil
Natural rubber
Maize
60
ASEAN Agricultural Major Products Export By Countries
Palm oil มะพร้ าว
Indonesia
2.79
3
Indonesia
100%
2
50%
0.94
1
0.53
0.11
10%
0.05
0.03
0
31%
10%
6%
16%
5%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Palm oil
Coconut
Share of intra-ASEAN export
Natural rubber
Palm oil
Coconut
Palm oil
Malaysia
1.88
2
2011
Natural rubber
Malaysia
100%
64%
1
55%
50%
0.20
0.04
0.04
0.29
0.26
0
8%
12%
11%
10%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Palm oil
Animal or veg fats, oils
Malt extract
Source: International Trade Centre (ITC)
2011
Share of intra-ASEAN export
Palm oil
Animal or veg fats, oils
Malt extract
61
ASEAN Agricultural Major Products Export By Countries
นม ผลไม้
Philippines
1
100%
Philippines
98%
78%
71%
48%
50%
0.03
0.01
0.01
0.12
0.07
24%
0.06
0
5%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Milk and cream
Preserved fruits
2011
Share of intra-ASEAN export
Natural rubber
Milk and cream
Preserved fruits
Singapore
Natural rubber
Singapore
1
95%
100%
0.41
50%
0.38
0.24
0.03
0.00
42%
50%
47%
39%
10%
0.05
0
0%
2001
2011
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Malt extract
Cloves
Food preparations
Source: International Trade Centre (ITC)
2001
2011
Share of intra-ASEAN export
Malt extract
Cloves
Food preparations
62
ASEAN Agricultural Major Products Export By Countries
ข้ าว นา้ ตาล ยาง
Thailand
1.85
2
100%
1.62
0.99
1
46%
50%
0.21
0.32
Thailand
0.28
44%
18%
16%
0
15%
14%
0%
2001
2011
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Natural rubber
Cane or beet sugar
Rice
Share of intra-ASEAN export
Starches
Natural rubber
Cane or beet sugar
ข้ าว กาแฟ ปลา
Viet Nam
2011
2
Rice
Starches
Viet Nam
100%
1.34
1
50%
0.25
0.02
0.00
0.10
50%
40%
0.10
0
6%
6%
6%
6%
0%
2001
2009
2001
Value of intra-ASEAN export (Bil. US$)
Rice
Coffee
Fish fillets and pieces
Source: International Trade Centre (ITC)
2009
Share of intra-ASEAN export
Rice
Coffee
Fish fillets and pieces
63
ดัชนี วดั ความสามารถในการแข่งขัน
Revealed Comparative Advantage
ถ้า RCA > 1 แข่งขันได้
ยิ่ง RCA แข่งขันดีขึน้
64
• ดัชนี ความสามารถในการแข่งขัน (RCA) สินค้าเกษตร
ของอาเซียน : ไทย อินโดนี เซีย และเวียดนามเก่งที่สดุ
เวียดนาม
ฟิลิปปินส์
มาเลเซีย
อินโดนี เซีย
กัมพูชา
ลาว
พม่า
จีน
ความสามารถในการแข่งขัน (RCA) ของประเทศไทยเทียบกับคู่แข่ง
ในการส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2544-2553 (HS 6 หลัก)
เก่งกว่า
1
-
-
-
-
-
-
-
ด้อยกว่า
7
8
8
8
5
6
7
8
เก่งกว่า
5
1
-
1
-
1
4
2
ด้อยกว่า
11
15
16
15
12
14
12
14
ความสามารถใน
ไทย คู่แข่ง
การแข่งขันของไทย
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1)
และ RCA สูงขึน้
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1)
แต่ RCA ลดลง
8
16
65
กัมพูชา
ลาว
พม่า
จีน
11
อิ นโดนี เซีย
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1)
และ RCA ลดลง
34
คู่แข่ง
มาเลเซีย
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1)
แต่ RCA สูงขึน้
ไทย
ฟิ ลิ ปปิ นส์
ความสามารถในการ
แข่งขันของไทย
เวียดนาม
ความสามารถในการแข่งขัน (RCA) ของประเทศไทยเทียบกับคู่แข่ง
ในการส่งออกสินค้าเกษตร ปี 2544-2553 (HS 6 หลัก) (ต่อ)
เก่งกว่า
5
2
20
8
1
1
6
9
เทียบ
เท่ากัน
11
6
7
8
1
4
5
7
ด้อยกว่า
16
15
7
18
11
11
8
18
เก่งกว่า
6
1
8
3
2
3
7
9
เทียบ
เท่ากัน
1
3
-
-
-
1
1
-
ด้อยกว่า
4
5
3
6
3
3
2
2
RCA สินค้าเกษตร ของอาเซียน ปี 2544-2553 (HS 6 หลัก) (ต่อ)
ไทย อินโดนี เซีย เวียตนาม เก่งที่สดุ
ความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศอาเซียน
ไทย
เวียดนาม
อินโดนี เซีย
มาเลเซีย
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1) และ
RCA สูงขึน้
8
12
9
6
แข่งขันได้เก่ง (RCA>1) แต่
RCA ลดลง
16
10
6
2
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1) แต่
RCA สูงขึน้
34
9
12
25
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1) แต่
RCA ไม่เปลีย่ นแปลง
0
15
21
12
แข่งขันไม่ได้ (RCA<1) และ
RCA ลดลง
11
21
21
24
ทีม่ า: สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย
2. ข้อตกลง AEC เกษตร มีผลต่อ
เศรษฐกิจการค้าอย่างไร
 ทาไมจึงต้องมี AEC : ความสาคัญของการเปิดเสรี
ภาคเกษตรในอาเซียน
ข้อตกลง AEC ด้านการค้า-การลงทุนสินค้าเกษตร
 ผลกระทบของการเปิดเสรี AEC
68
2. ข้อตกลง AEC เกษตร มีผลต่อ
เศรษฐกิจการค้าอย่างไร
2.1 ทาไมจึงต้องมี AEC : ความสาคัญของการเปิดเสรีภาคเกษตรใน
อาเซียน
– ASEAN มีความจาเป็ นต้องปรับสมดุลทางเศรษฐกิจใหม่ (growth
rebalancing)…โดยอาศัยการค้า และ การลงทุนใน ASEAN
 ความล้มเหลวของการเจรจารอบโดฮา
 เศรษฐกิจตะวันตกชะลอตัวอีกนาน
– ประเทศส่วนใหญ่ในอนุภมู ิ ภาคลุ่มน้าโขงยากจน และพึ่ง
เกษตรเป็ นหลัก
 การเปิดเสรีตลาดสินค้าเกษตรจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ และลด
ความยากจนในภูมิภาคลุ่มน้าโขง
69
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
2.2 ข้ อตกลง AEC 3 เสาหลัก
70
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
– ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 4 เป้ าหมาย เปิดเสรี 5 ด้าน : การค้า
สินค้า การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือ
71
72
73
74
พันธกรณีของไทยภายใต้ AFTA
75
76
77
แต่ในทางปฏิบตั ิ ทุกประเทศยังคง
กีดกันการค้า-การลงทุนภาคเกษตร
• ดารงอัตราภาษี สงู สาหรับสินค้าอ่อนไหว
• ใช้ non-tariff measures กีดกัน
• จากัดการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ
78
มาตรการรองรับการเปิดตลาดสินค้าเกษตรของไทย
• จัดระบบบริหารการนาเข้า
1. กาหนดให้เป็ นสินค้าที่ต้องขออนุญาตนาเข้าและกาหนดคุณสมบัติผน้ ู าเข้า
(คต.)
2. กาหนดมาตรฐานการผลิต เช่น ต้องมีใบร้บรองปริมาณสารพิษตกค้าง
3. กาหนดมาตรการสุขอนามัน (SPS) ที่เข้มงวด เช่น ต้องแสดงใบรับรอง
สุขอนามัยจากหน่ วยงานที่เชื่อถือได้ในประเทศต้นทาง (อย.)
4. ตรวจเข้มใบรับรองถิ่นกาเนิดสินค้า (กรมศุลกากร)
5. กาหนดด่านนาเข้า (ให้นาเข้าได้เฉพาะด้านอาหารและยา และด่านตรวจพืช)
6. กาหนดช่วงเวลานาเข้า
7. ต้องรายงานการนาเข้า การใช้ การจาหน่ ายและสต๊อคคงเหลือภายใน 1 เดือน
และมีบทลงโทษหากไม่ดาเนินการ
• จัดทาระบบติดตามการนาเข้า
• ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
79
การเปิดเสรีด้านการลงทุนของไทย (เฉพาะภาคเกษตรและอุตสาหกรรม)
สาขา
1) การเปิ ดตลาด
1.1 ข้ อยกเว้ นชั่วคราว TEL
ก) ไม่ เปิ ดให้ นักลงทุนต่ างชาติ
เงื่อนไข
- ไม่ มี
- ไม่ มี
- การตัดต่ อพันธุ์ หรือ
การผสมพันธุ์พชื
- การเพาะเลีย้ งสั ตว์ นา้ ทะเล
- การทาป่ าเศรษฐกิจ
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50% ถ้ าเกินต้ องขออนุญาติ
- มีเงื่อนไขการขออนุญาติ เช่ น BOI เงินทุนขั้นต่า 3
ล้านบาท
ก) ไม่ เปิ ดให้ นักลงทุนต่ างชาติ
- ไม่ มี
- ไม่ มี
ข) เปิ ดให้ ต่างชาติลงทุน แต่ มเี งื่อนไข
- ทอ/พิมพ์ผ้าไหม
- เฟอร์ นิเจอร์ ไม้
- แกะสลักไม้
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50% ถ้ าเกินต้ องขออนุญาติ
- ทุนไทยไม่ ต่ากว่ า 40% หรือน้ อยกว่ า แต่ ต้องไม่ ต่า
กว่ า 25% โดยได้ อนุญาติ
- เน้ นทุนขั้นต่า 3 ล้านบาท
- เงื่อนไขอืน่
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50%
- ทุนขั้นต่า 3 ล้านบาท
- เงื่อนไขอืน่
ข) เปิ ดให้ ต่างชาติลงทุน แต่ มเี งื่อนไข
1.2 Sensitive list
ค) เฉพาะนักลงทุนนอกอาเซียน
-
โรงสี
ไม้ อดั
นาเกลือ
การเลีย้ งหม่ อน
การตัดต่ อพันธุ์พชื หรือ
ผสมพันธุ์พชื
- ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50%
- เงือ่ นไขอืน่
80
Sensitive list ของการปฏิบตั ิ เยี่ยงคนชาติ-การลงทุนภาค
เกษตรและอาหารของนักลงทุนอาเซียนในไทย
รายการ
1. การถือหุ้นของต่ างชาติ
2. Capital requirement
-
3. ใบอนุญาต
ที่มา : กรมเจรจาการค้ า
-
การปฏิบัติ
ทุนต่ างชาติไม่ เกิน 50% ของทุนจดทะเบียน
ถ้ า > = 50% ต้ องทาตามเงื่อนไขต่ างๆ เช่ น
ได้ รับอนุมตั จิ าก รมว.พาณิชย์ หรือ BOI
สาขาทีเ่ ปิ ดแบบมีข้อจากัดภายใต้ TEL และ SL
ต้ องมีเงินลงทุนขั้นตา่ ตามกฎเกณฑ์ และต้ องไม่
ต่ากว่ า 3 ล้านบาท
สาขาทีเ่ ปิ ดโดยไม่ มีข้อจากัด ต้ องมีเงินทุนขั้น
ต่าตามกฎเกณฑ์ และไม่ ต่ากว่ า 2 ล้านบาท
ธุรกิจภายใต้ TEL และ SL ต้ องได้ ใบอนุญาติ
กรมธุรกิจการค้ า
81
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
• 2.3 ผลกระทบของการเปิดเสรี AEC : แบบจาลอง
dynamic CGE (งานวิจยั ของ ADB 2010)
–วัดผลกระทบจากการเปิดเสรีของ CLMV และจีน
–Scenario Total factor productivity ภาคเกษตรและ
อาหารเพิ่มปี ละ 4% (สูงกว่าค่าเฉลี่ยในอดีต)
–Scenario 2 : trade facilitation  trade cost ใน GMS
ลดลง 50%
–Scenario 3 : FDI เท่ากับ 4% ของ GDP ใน GMS
82
2. ข้ อตกลง AEC เกษตร (ต่ อ)
• ผลต่อ GDP growth จาก Simulation 3 scenarios
ไทยได้ ประโยชน์ น้อยที่สุด โดยได้ จากภาคอุตสาหกรรม และ
นาเข้ าสินค้ าเกษตรเพิ่มขึน้ มาก
83
84
85
3. AEC จะก่อให้เกิดผลกระทบจริงเท่าใด :
• 3.1 ผลกระทบจริงของ AECจะน้ อยกว่าผล simulation
• ค่า simulation เป็ นผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อม
ในระยะยาว และตลาดทางานได้เต็มที่
–ผลกระทบจริงจะค่อยๆเกิดขึน้
• อัตราการใช้ประโยชน์ จากสิทธิพิเศษด้านภาษี (tariff
preferential) ยังค่อนข้างตา่
• Trade costs ยังสูงกว่า tariff preferential: การขนส่ง
แพง กฎระเบียบการค้าข้ามแดนยังยุ่งยาก
86
อัตราใช้ ประโยชน์ จากสิทธิพเิ ศษด้ านภาษีต่า
87
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• อาเซียนผลิตสินค้าเกษตรที่แข่งขันกันสูง ค่า spearman
rank correlation เป็ นบวก
• สินค้าส่งออกสาคัญของอาเซียนถูกอาเซียนกีดกัน
เพราะทุกประเทศมีนโยบายผลิตให้พอเลีย้ งตัวเอง
–มาตรการกีดกันมีทงั ้ sensitive list, HSL และมาตรการที่
ไม่ใช่ภาษี (NTM) เช่น มาตรการด้านสุขอนามัย และ
สิ่งแวดล้อม
–ตัวอย่าง: ใบอนุญาตนาเข้ากาหนดเวลานาเข้า และ ชนิด
สินค้าที่อนุญาติ
–มาตรการลงทุนก็ยงั ยุ่งยาก ยกเว้นการขอ BOI
88
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• การค้าสินค้าเกษตรในอาเซียน ยังห่างไกลจากสภาพ
“การค้าเสรี”……
• การที่ราชการไทยโหมป่ าวประกาศ “AEC 2015 จะ
ก่อให้เกิดการลงทุนจากอาเซียน การเคลื่อนย้ายทุนเสรี
และการเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพโดยเสรี” เป็ นแค่
“มายาคติ”
• (ดูงานวิจยั ของดร.เดือนเด่น เรื่องการค้าบริการ)
89
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• 3.2 ถ้าเช่นนัน้ การค้า การลงทุนเกษตรในอาเซียน
เกิดจากอะไร
–การเปิดเสรีฝ่ายเดียวของแต่ละประเทศตัง้ แต่ 1980s
CP ลงทุนในอินโดนี เซีย เวียตนามนานแล้ว
–AFTA
–ข้อตกลงการค้าการลงทุนระดับทวิภาคี และระดับ
ภูมิภาค เช่น ACMEC…เช่น contract farming ใน
GMS โรงงานน้าตาลไทยในเขมร ลาว เวียตนาม
90
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• 3.3 ในอนาคต มูลค่าการค้าระหว่างอาเซียน และอาเซียนกับ
จีน มีโอกาสเพิ่มขึน้ เมื่อรายได้ต่อหัวในภูมิภาคสูงขึน้
– การเปิดเสรีตลาดเกษตรอย่างจริงจังให้แก่เพื่อนบ้านที่ยากจนใน
GMS รวมทัง้ การสนับสนุนนักลงทุนจากไทย/มาเลเซีย/สิงคโปร์
ไปลงทุนภาคเกษตร และโรงงานแปรรูปใน CLMV
– จะช่วยให้คนใน GMS มีฐานะดี มีเงินมาซื้อสินค้าจากไทย และลด
ปัญหาสังคมจากคนงานต่างชาติ
– รายได้ต่อหัวที่สงู ขึน้ ของไทย มาเลเซีย อินโดนี เซียและจีนจะ
ก่อให้เกิดความต้องการสินค้าอาหารแปรรูปที่ผลิตในอาเซียน
เพิ่มขึน้ ...อาหารแปรรูป เนื้ อสัตว์ ผัก-ผลไม้
– แต่ทงั ้ หมดจะไม่เกิดขึน้ หากรัฐบาลยังคงใช้นโยบายแทรกแซง
ตลาดสินค้าเกษตรอย่างหนัก
91
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• 3.4 ผลกระทบด้านการกระจายรายได้ : ใครได้
ประโยชน์
–ผูส้ ่งออกรายใหญ่
–โรงงานแปรรูปอาหารรายใหญ่
–เกษตรกรที่มีประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตสูง
โดยเฉพาะเกษตรกรรายใหญ่ ในเขตชลประทาน และ
เกษตรกรหัวก้าวหน้ าที่มีเทคโนโลยีและมีข้อมูลข่าวสารที่
ช่วยให้ปรับตัวได้ก่อนผูอ้ ื่น
–ผูบ้ ริโภค
92
3. AEC จตะก่ อให้ เกิดผลกระทบจริงเท่ าใด (ต่ อ)
• ใครเสียประโยชน์ : CGE คานวณแต่ gain from trade
(พืน้ ที่ เบือ้ งหลังผลประโยชน์ จากการค้า มีเกษตรกร
จานวนมากที่จะล้มหายตายจาก หรือเปลี่ยนอาชีพ
เพราะมีต้นทุนสูง แข่งขันไม่ได้ (พืน้ ที่ 
– ปี 2547 รัฐตัง้ กองทุนปรับโครงสร้างการผลิต 583 ล้านบาท
14 โครงการ 8 สินค้า
– แต่กองทุนช่วยเหลือการปรับตัวใช้ไม่ได้ผล เพราะการ
เปลี่ยนอาชีพไม่ใช่เรื่องง่าย และรายได้สทุ ธิอาจตา่ กว่าเดิม
– บทบาทนักวิชาการและข้าราชการ จะต้องช่วยศึกษาวิจยั หา
มาตรการสนับสนุนการปรับตัวของเกษตรกรที่ต้นทุนสูงให้
สามารถมีชีวิตความเป็ นอยู่เท่าเดิม หรือดีขึน้
93
4. อนาคตภาคเกษตรไทย
• ความสามารถในการแข่งขัน
• possible scenarios
• แนวนโยบายที่เหมาะสม
–ประสิทธิภาพการปรับตัว
–เกษตรกรที่ยากจน
94
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
4.1 ความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรของไทย
• แนวโน้ ม RCA (Revealed comparative advantage) ของ
ข้าวไทยยังทรงตัว (ก่อน ต.ค. 2554)
• ไทยได้เปรียบข้าวประเภทใด
– ข้าวขาว ข้าวหอมมะลิ ข้าวนึ่ ง
• RCA มันสาปะหลัง ทรงตัวระดับสูง แต่ขณะนี้ พ่อค้า
กังวลเรื่องต้นทุนของไทยเทียบกับเขมร-เวียตนาม
• RCA ยางเริ่มเสียเปรียบอินโดนี เซีย
• RCA น้าตาล-ไก่ ยังทรงตัว
95
Figure 2.20 Thailand and major rice exporting
countries' RCA in the world market, 2001-2010
100
90
80
70
60
RCA Pakistan
RCA Viet Nam
RCA Thailand
50
RCA Myanmar
RCA India
40
RCA United States of America
30
20
10
0
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
Sources : ITC calculations based on COMTRADE statistics.
2010
96
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
Figure 2.19 Thailand and major cassava exporting
countries' RCA in the world market, 2001-2010
25
20
15
Thailand
Costa Rica
Viet Nam
Indonesia
10
Brazil
China
Colombia
5
0
Sources : ITC calculations based on COMTRADE statistics.
97
Figure 2.23 Thailand and major chicken exporting
countries' RCA in the world market, 2001-2010
25
20
15
RCA Brazil
RCA Thailand
RCA United States of America
RCA China
10
5
0
2001
2002
2003
2004
2005
2006
2007
2008
2009
Sources : ITC calculations based on COMTRADE statistics.
2010
98
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• สาเหตุที่ไทยได้เปรียบโดยเปรียบเทียบนาน: ข้าว
–ประเทศเพื่อนบ้านมีนโยบายทาร้ายตนเองเป็ น
เวลานาน : สังคมนิยมในเวียดนาม เขมร ลาว พม่า
–อินเดียห้ามส่งออกข้าว non-Basmati จนถึงกันยายน
2555 ทาให้ไทยยึดครองตลาดข้าวนึ่ ง
–ต้นทุนปลูกข้าวไทย เริ่มถีบตัวสูงขึน้ มาก
งานวิจยั ของ อ.สมพร
99
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• สาเหตุที่ไทยได้เปรียบ (ต่อ)
–แต่ logistics ไทยดีกว่า : ส่งมอบทันเวลา และน่ าเชื่อถือ
ที่สดุ เพราะมีข้าวขายทัง้ ในปริมาณและคุณภาพที่ผซู้ ื้อ
ต้องการ
งานวิจยั การค้าข้าวของเขมร-เวียดนาม ต้นทุน
logistics ของ Tom Slayton
–คุณภาพข้าวไทยดีกว่าคู่แข่ง : ราคาสูงกว่า
การแข่งขันของผูส้ ่งออกและโรงสี ทาให้ชาวนาที่มีข้าว
คุณภาพ ขายข้าวได้ราคาดี
โรงสีปรับปรุงคุณภาพการสีข้าวตลอดเวลา
100
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• แต่แนวโน้ มความสามารถของไทยกาลังลดลงรวดเร็ว
– นโยบายจานาข้าวช่วยสนับสนุนการส่งออกและชาวนาใน
ประเทศคู่แข่ง
– ความหวังลมๆแล้งๆ ของรัฐบาล : หวังว่าจะขายข้าวราคาแพง
(เดิมตัง้ ไว้ $830) ต่อมาปลอบใจตัวเองว่าเมื่อเวียดนามขาย
ข้าวหมดแล้วจะเป็ นโอกาสทองของไทย
– ในไม่กี่ปี ความได้เปรียบด้าน logistics & ความน่ าไว้วางใจ จะ
หมดไป...เมื่อหมดแล้ว จะสร้างใหม่ยาก (sunk loss)
– พม่า และเวียดนามจะเป็ นผูส้ ่งออกรายใหญ่ของโลกแทนไทย
101
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
ความสามารถในการแข่งขันด้านน้าตาล
• อาเซียนมีผผู้ ลิตหลายประเทศ : ไทย ฟิลิปปินส์
อินโดนี เซีย เวียดนาม
• แต่ไทยส่งออกมากที่สดุ และส่งขายอาเซียนทุกประเทศ
102
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• สาเหตุที่ไทยมีความสามารถในการแข่งขันน้าตาล
– นโยบายคุ้มครองอุตสาหกรรมอ้อย-น้าตาล ก่อให้เกิดค่าเช่า
เศรษฐกิจมโหฬาร แก่ชาวไร่และโรงงาน
• โรงงานไทยขยายกาลังการผลิตเกินตัว จนต้องแย่งอ้อย
กันทาให้บางแห่งจาเป็ นต้องปรับปรุงประสิทธิภาพ
• ฟิลิปปินส์ขาดแรงจูงใจในการแข่งขัน เพราะได้โควต้า
น้าตาลสหรัฐอเมริกา
• อินโดนี เซียต้องนาพืน้ ที่ไปปลูกข้าว
• อินเดียมีนโยบายควบคุมตลาดน้าตาลในรัฐต่างๆ....แต่
เริ่มลดการควบคุมลงจนมีส่วนเกินพอต่อการส่งออก
• ผูป้ ระกอบการไทยไปลงทุนในเวียดนาม จีน เขมร
103
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
ความสามารถในการแข่งขันด้านน้ามันปาล์ม
• ไทย ผลิตได้ไม่พอบริโภค
• สาเหตุที่ไทยขาดความสามารถในการแข่งขัน
– ภูมิอากาศไทยไม่เหมาะสมเท่าประเทศเพื่อนบ้าน : ปาล์มไม่อาจ
ขาดน้าเกิน 3 เดือนติดต่อกัน....ยกเว้นพืน้ ที่บางแห่งในภาคใต้
– สวนปาล์มที่มี economies of scale ต้องมีขนาดหลายร้อยไร่ขึน้ ไป
แต่ไทยมีสวนปาล์มขนาดเกินหนึ่ งพันไร่จานวนน้ อย (10-20 ราย)
– แม้จะมีนโยบายคุ้มครอง (ห้ามนาเข้า) และให้การส่งเสริม แต่
นโยบายคุมราคาค้าปลีก กลับทาให้เกิดการขาดแคลนในปี 2553
– คู่แข่งอย่างมาเลเซีย มีทงั ้ ประสบการณ์ด้านการจัดการสวนปาล์ม
ขนาดใหญ่ (plantation) และการส่งเสริมการวิจยั อย่างจริงจัง
– อินโดนี เซียมีพืน้ ที่มาก ค่าแรงถูก และมีบริษทั มาเลเซียเข้าไป
104
ลงทุน
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• อนาคต : 3 possible scenarios
– (1) รัฐใช้นโยบายจานาสินค้าเกษตรต่อไป...ปลูกข้าวมากขึน้ แต่
ขาดทุน.....ปลูกพืชอื่นน้ อยลง...ความเสื่อมสลายของภาคเกษตรไทย
– (2) เป็ นไปตามกลไกราคาและ comparative advantage
 เกษตรกรไทยปรับตัวตอบสนองราคาเปรียบเทียบ :
เหมือนในอดีต
 ภาคเกษตรแข่งขันได้ แต่ขนาดของภาคเกษตรเล็กลง....และฟาร์ม
อาจใหญ่ขึน้ ใช้เครื่องจักรมากขึน้ เพราะแรงงานเกษตรลดลง แต่
labor productivity สูงขึน้
– (3) เสริม บทบาทของตลาด (complementing the market) เพื่อผลิต
และส่งออกสินค้าคุณภาพ/สินค้ามูลค่าสูง และนาเข้าสินค้ามูลค่าตา่ ....
ภาคเกษตรจะยังเข้มแข็งขึน้ และส่งออกในรูปอาหารมากขึน้
105
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
• แนวนโยบาย
– การวิจยั ด้านต่างๆเพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้า และเพิ่มผลิต
ภาพแรงงาน
การวิจยั ด้านเทคโนโลยี การจัดการ โลจีสติกส์
การวิจยั ภาคเอกชน
– การส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนในต่างประเทศ : ไทย
ขายเทคโนโลยีการเกษตร
– จะเป็ นครัวโลกได้ครัวไทยต้องสะอาดปลอดภัย : รัฐเอาจริงกับ
ปัญหาความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารในประเทศ
เพราะประเทศนาเข้าจะนาเรื่อง SPS และ TBT มาเป็ นเครื่องมือ
กีดกัน
106
4. อนาคตภาคเกษตรไทย (ต่ อ)
–ใช้การประกันความเสี่ยงราคาช่วยเหลือเกษตรกรยากจน
แทนการจานา แต่จากัดปริมาณช่วยเหลือต่อครัวเรือน
–ริเริ่มการประกันดัชนี ดินฟ้ าอากาศ ลดความเสี่ยงด้าน
ผลผลิตให้เกษตรกร
–นโยบายสังคม : มีมาตรการที่ให้ข้อมูลสารสนเทศเทคโนโลยี (technology packages) ที่เพียงพอที่เกษตรกร
สามารถตัดสินใจเลือกปรับตัวเอง โดยคานึ งถึงความเสี่ยง
และไม่ใช้เงินล่อให้เข้าโครงการของรัฐ
–สนับสนุนเกษตรกรยากจนที่ขาดประสิทธิภาพ ให้สามารถ
ปรับตัวออกนอกภาคเกษตร : การศึกษา การฝึ กอบรม
อาชีพ โดยเพิ่มบทบาทของภาคเอกชน
107
108
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมประประเทศไทย
“โลจิสติกส์ ภาคอิสานภายใต้ กรอบ AEC”
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันที่ 20 สิ งหาคม 2555
ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
www.tanitsorat.com
11
0
AEC :จุดเปลี่ยนประเทศไทย
โอกาสและความท้าทาย
Trade &
Investment
Across the
Asean
countries
Trade &
Service Across
the border
neighbor
Investment
Free
Free Trade
Logistics
Hub
Finance
Free
Co-Tourism
Cross border Trade
Immigrant
Labour
Border Special
Economic Zone
www.tanitsorat.com
Skill Labour
Free
11
1
โอกาสของภาคอีสานภายใต้ โครงข่ าย EWEC
เส้ นทางเชื่อมโยงการค้ าการลงทุนของประเทศเพือ่ นบ้ าน
Single Market & Production Base
1. การเคลือ่ นย้ายสิ นค้ าเสรี
2. การเคลือ่ นย้ายบริการเสรี
3. การเคลือ่ นย้ ายการลงทุนเสรี
4. การเคลือ่ นย้ายเงินเสรีขึน้
5. การเคลือ่ นย้ายแรงงานฝี มือเสรี
www.tanitsorat.com
11
2
AEC Connectivity
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับการเชื่อมโยงโลจิสติกส์ ประเทศเพื่อนบ้ าน
1.
2.
3.
4.
5.
Logistics Corridor : การเป็ นศูนย์กลางขนส่ งและโลจิสติกส์เชื่อมโยงระเบียงเศรษากิจ
NSEC
Education & Medical Hub : การเป็ นศูนย์กลางด้านการศึกษาและสุ ขภาพของภูมิภาค
Investment Hub : ศูนย์กลางการลงทุนรองรับอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี เช่น ยาน
ยนต์และชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า เครื่ องจักร ฯลฯ
Road Tourism & Service Hub : ศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวทางถนนของภูมิภาค
เชื่อมโยง สปป.ลาว – เวียดนาม-กัมพูชา
Transit & Border Trade : เส้นทาง R8/R9/R12/ช่องเม็ก/ช่องจอม/ท่าลี่ ภายใต้
ประโยชน์จากการค้าข้ามชายแดน คาดว่าในปี 2558 จะมีมูลค่ามากกว่า 1.25 ล้านล้าน
บาท (ต้องผลักดันข้อตกลงขนส่งข้ามแดน CBTA ไปสู่การปฎิบตั ิ)
www.tanitsorat.com
11
3
สาขาโลจิสติกส์ ทจี่ ะต้ องเปิ ดเสรีเต็มรูปแบบในปี 2556 (2013)
 ตัวแทนออกของ (Customs Clearance)
 ธุรกิจตัวแทนขนส่ ง (Freight + Transport + Agency)
 ธุรกิจการขนส่ งระหว่ างประเทศ (International Transport /
Road / Rail/Maritime/Air Freight & Courier Service)
 ธุรกิจให้ บริการคลังสิ นค้ า (Storage & Warehouse Service)
 ธุรกิจบรรจุภณ
ั ฑ์ และตรวจสอบด้ านขนส่ ง (Package & Freight
+Inspection Service)
www.tanitsorat.com
11
4
ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ...จุดอ่ อนของการเปิ ดเสรี AEC
 ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ไทย (LSP) ของคนไทย ส่ วนใหญ่ เป็ น SMEs ขาดขีดความสามารถใน
การแข่งขันด้านการเชื่องโยงในระดับภูมิภาค
 ผู้ประกอบการส่ วนใหญ่ ไม่ มเี ครือข่ าย หรื อลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
 ผู้ประกอบการไทยส่ วนใหญ่ ไม่ ดาเนินธุรกิจให้ บริการครบวงจรทีเ่ ป็ น Integrated Logistics
Service โดยทางานแยกส่ วนในลักษณะที่เป็ น Non Asset Logistics Service
 ผู้ประกอบส่ วนใหญ่ ขาดศักยภาพในการให้ บริการในระดับสากลและขาดความเป็ นมืออาชีพ
ทั้งด้านเทคโนโลยี, นวตกรรม, เงินทุน ทาให้ขาดความน่าเชื่อถือ
 ผู้ประกอบการไทยขาดการรวมตัวในลักษณะเครือข่ าย การให้บริ การมีการแข่งขันด้านราคา
อย่างรุ นแรง ขาดการรวมตัวในลักษณะองค์กรหรื อสถาบันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
www.tanitsorat.com
115
“ESAN” Gateway of ASEAN
โครงข่ ายเชื่อมโยงโลจิสติกส์ ของภาคอิสานเอือ้ ต่ อการเป็ นประตูของอาเซียน (1)
1. โครงข่ ายสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่ งที่ 1 (เส้นทางหมายเลข 8)
หนองคาย-เวียงจันทร์ และ เส้นทางรถไฟหนองคาย - ท่านาแร้ง
2. โครงข่ ายสะพานมิตรภาพแห่ งที่ 2 (เส้ นทางหมายเลข 9) มุกดาหาร-สะหวัน
เขต เชื่อมโยงไทย – พม่า – ลาว – เวียดนาม (กวางตรี ) - หนานหนิง
3. โครงข่ ายสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่ งที่ 3 (เส้ นทางหมายเลข 12) นครพนม
– คามวน เชี่อมโยง ไทย-ลาว-เวียดนาม (ฮาติงห์) - หนานหนิง
4. โครงการเส้ นทางรถไฟ จีน-ลาว-ไทย คุนหมิง - เวียงจันทร์ – หนองคาย –
กรุ งเทพฯ - กัวลาลัมเปอร์
www.tanitsorat.com
11
6
“ESAN” Gateway of ASEAN
โครงข่ ายเชื่อมโยงโลจิสติกส์ ของภาคอิสานเอือ้ ต่ อการเป็ นประตูของอาเซียน (2)
5. โครงข่ ายช่ องเม็ก – ปากเซ (เส้ นทางหมาย 13) อุบลราชธานี – จาปาศักดิ์
เชื่อมโยงไทย – ลาว – กัมพูชา – เวียดนาม(โฮจิมินห์)
6. โครงข่ ายอิสานใต้ : กัมพูชา เส้ นทางหมายเลข 67 (ช่องสะงา) - ประสาท
วิหาร
7. โครงข่ าย อิสานใต้ – เสี ยมเรียบ : สุ รินทร์ – (ช่ องจอม – เสี ยบเรียบ)
เส้ นทางหมายเลข 68
www.tanitsorat.com
11
7
New Thailand Project
โครงสร้ างพืน้ ฐานโลจิสติกส์ ภาคอิสาน....ส่ งเสริมต่ อการเป็ นประตูเศรษฐกิจ
มติครม.สั ญจรครั้งที่ 2 / 2555 (จังหวัดอุดรธานี) และครั้งที่ 6/2555 (จ.สุ รินทร์ )
 ศึกษาความเหมาะสมรถไฟความเร็ วสู ง กรุ งเทพ – หนองคาย
 เร่ งรัดแผนพัฒนารถไฟทางคู่ กรุ งเทพ – หนองคาย ให้เสร็ จ ในปี 2562
 ศึกษาความเหมาะสมเส้นทางรถไฟ บ้านไผ่ – มหาสารคาม – ร้อยเอ็ด –
มุกดาหาร – นครพนม
 โครงการก่ อสร้ างรถไฟทางคู่ นครราชสี มา – บุรีรัมย์ – สุ รินทร์ –
ศรี สะเกษ – อุบลราชธานี
 ศึกษาความเป็ นไปได้ในการพัฒนาท่าอากาศยานอุบลราชธานี เพื่อให้เป็ น
ศูนย์กลางการบินในอินโดจีน
www.tanitsorat.com
11
8
การเร่ งยกระดับจุดผ่ านแดนชั่วคราวเป็ นด่ านถาวรรองรับการเปิ ด AEC
มติ ครม. สั ญจร ประกอบด้ วย
1) ช่ องสายตะกู อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ กับบ้านจุ๊บโกกี อ.อัมปึ ล จ.อุดรมีชยั ประเทศ
กัมพูชา
2) จุดผ่ อนปรนบ้ านยักษ์ คุ อ.ชานุมาน จ.อานาจเจริ ญ กับบ้านเหล่าหมากหูด เมืองไซพู
ทอง แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว
3) จุดผ่ อนปรนช่ องตาอู บ้านหนองแสง อ.บุณฑริ ก จ.อุบลราชธานี กับ บ้านเหี ยง
เมืองสุ ขมุ า แขวงจาปาสัก สปป.ลาว
4) โครงการปรับปรุ งพืน้ ทีด่ ่ านชายแดนช่ องจอม อาเภอกาบเชิง จังหวัดสุ รินทร์
5) การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมสี เขียว จังหวัดอุดรธานีและจังหวัดขอนแก่น
6) การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดมุกดาหาร – นครพนม และหนองคาย
www.tanitsorat.com
11
9
ความท้ าทายของการเชื่อมโยงเศรษฐกิจจังหวัดกับ AEC
1.
2.
3.
4.
5.
การบูรณาการของแต่ ละจังหวัดยังไม่ เป็ นเนือ้ เดียวกัน (Non-Harmonized Integration) แต่ละ
จังหวัดยังมีการแข่งขันทางด้านเศรษากิจ ขาดการร่ วมมือในการกระจายความได้เปรี ยบเชิง
ภูมิศาสตร์
ยุ ท ธศาสตร์ จั ง หวั ด และคลั ส เตอร์ ขาดการเชื่ อ มโยงและขาดบู ร ณาการเชิ ง เป้ าหมาย
จังหวัดต่างๆของไทย ยังมีความยึดถือจังหวัดนิยม ไม่มี Road Map และขาดความต่อเนื่อง
ของผูว้ า่ ราชการจังหวัด
การพัฒนาในแต่ ละจังหวัดที่ไม่ เท่ าเทียมกัน โอกาสและรายได้ของประชากร ที่แ ตกต่างกัน
ในแต่ละพื้นที่และแต่ละภาค
การรับรู้ ของกลุ่มคนด้ อยโอกาสในแต่ ละพืน้ ที่ ซึ่งมีความแตกต่างในการรับรู้และช่องว่างของ
โอกาสและระดับการศึกษาและทักษะ ซึ่งเกิดจากช่องว่างของการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกัน
ปัญหาความขัดแย้ งทางการเมือง การไม่ปรองดอง-สมานฉันท์ เป็ นอุปสรรคสาคัญของการ
พัฒนาและสูญเสี ยโอกาสต่อการเปิ ด AEC
120
12
0
ผู้ประกอบการต่ างจังหวัดกับการเปิ ด AEC
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
วิสัยทัศน์ ให้เห็นภาพว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับธุรกิจของตนเองหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 (SWOT
Analysis)
ตลาดภายในจะได้ รับผลกระทบ (Domestics Market is Attacked) มีสินค้าราคาถูกจากภายนอก
เข้ามาเบียดตลาดมากขึ้น
ผู้ประกอบการ SMEs และสิ นค้ าเกษตร(บางรายการ)อาจได้ รับผลกระทบ เนื่องจากลักษณะของ
สิ นค้าและการผลิตยังอาศัยแรงงานเข้มข้นและสิ นค้ายังอาศัยเทคโนโลยีพ้นื าาน
INTERNATIONAL CONCEPT : การปรับเปลี่ยนให้มีความเป็ นสากลและเข้าสู่ มาตราานของ
อาเซียน
การขาดแคลนแรงงานและค่ าจ้ างสู ง ประเทศไทยไม่ใช่ประเทศที่จะมีค่าจ้างในราคาที่จะแข่งขันกับ
ประเทศเพื่อนบ้านได้อีกแล้ว
การแข่ งขันจะรุ่นแรง ภาคการผลิตทั้งอุตสาหกรรมและบริ การของไทยหากยังใช้แรงงานเข้มข้น
และเทคโนโลยีต่า ก็ไม่สามารถที่จะแข่งขันได้
ภาคบริการโลจิสติกส์ เป็ นภาคทีอ่ ่ อนแอทีส่ ุ ด ต่อการได้รับโอกาส ทั้งการแข่งขันภายในและการ
ลงทุนในประเทศอาเซียน
www.tanitsorat.com
12
1
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาโลจิสติกส์ ภายใต้ การเปิ ด AEC
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Core Competitiveness : การยกระดับผู้ประกอบการขนส่ งท้ องถิ่นไปสู่ ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ที่มีศักยภาพและขีด
ความสามารถในการแข่ งขัน รองรับการเปิ ดเสรี ภาคบริ การของ AEC
Transport Linking : การบูรณาการโครงข่ ายเชื่อมโยงระบบราง ถนน สะพานและประตูชายแดน เชื่อมโยงกับ
โครงสร้างพื้นาานประเทศ สปป.ลาว และกัมพูชา
Multimodal Transport : การเชื่อมโยงระบบขนส่ งทางไกลไปสู่ ประเทศเพือ่ นบ้ าน ด้วยการพัฒนาเชื่อมโยง
โครงสร้างพื้นาานที่มีอยูก่ บั โครงสร้างพื้นาานในอนาคต
ICD & CY : กาหนดพืน้ ที่ศูนย์ เปลีย่ นถ่ ายพาหนะรวบรวมและกระจายสิ นค้ า เช่น ICD หรื อ CY-YARD เพื่อให้
เกิดประสิ ทธิ ภาพของระบบขนส่ งและลดต้นทุนโลจิสติกส์ รองรับการเป็ นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาค
Economic Corridor Connectivity : พัฒนาศักยภาพประตูเศรษฐกิจชายแดน ด่ าน/จุดผ่ อนปรนที่มีศักยภาพให้
เป็ นด่ านถาวร รวมทั้งการลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นาานเชื่อมโยงเข้าไปในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ช่องสะงา,ช่อง
จอม, เขมราา,พิบูลมังสาหาร,สะพานข้ามแม่น้ าโขง บึงกาฬ-ท่าแขก
CBTA & Trade Facilitation : การเร่ งรัดปรับปรุงกฎระเบียบการอานวยความสะดวกทางการค้ าและโลจิสติกส์
รองรับต่อการที่ภาคอีสานจะเป็ นพื้นที่ภายใต้โครงข่ายโลจิสติกส์ของภูมิภาค เช่น ระบบขนส่ งข้ามแดน
(CBTA)และขนส่ งผ่านแดน (Transit) ระบบตรวจสิ นค้าชายแดนร่ วมกัน (SSI), ระบบ Single VISA และTruck
Fast Lane, NSW, ฯลฯ
AEC อุตสาหกรรมพร้ อมรับมือแล้ วหรือยัง
www.tanitsorat.com
122
การเตรียมพร้ อมของไทยต่ อการเปิ ดเสรีของ AEC
 Law Reform : ปฏิรูปกฎหมายทีไ่ ม่ เอือ้ ต่ อการเข้ าสู่ AEC เช่น กฎหมายศุลกากร กฎหมาย
กรมเจ้าท่า พรบ.ขนส่ งทางบก และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งล้าสมัยและเป็ นอุปสรรค
 Trade Facilitation : ผลักดันกฎหมายและข้ อตกลงระดับภูมภ
ิ าค เช่น การขนส่ งข้าม
พรมแดน (CBTA) และข้อตกลงการอานวยความสะดวกทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ ง
ข้ามแดน (Transit Transport)
 Transport Network :ส่ งเสริมการสร้ างเครื อข่ ายการขนส่ งในอนุภูมภ
ิ าค
 Infrastructure Connectivity: การพัฒนาโครงสร้ างพืน
้ ฐานเชื่อมโยงการขนส่ งกับประเทศ
เพื่อนบ้าน
 TFDI: Thailand Foreign Direct Investment In REAC : การผลักดัน + ส่ งเสริ ม
ผูป้ ระกอบการ SME ไปลงทุนทั้งด้านอุตสาหกรรม บริ การ และโลจิสติกส์ในประเทศเพื่อน
บ้าน
12
www.tanitsorat.com
3
การปรับตัวของผู้ประกอบการต่ อการเปิ ดเสรี AEC
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
AEC Awareness : การปรับตัวด้ านวิสัยทัศน์ ในการเข้ าสู่ AEC Society
SWOT Analysis : การวิเคราะห์ หาจุดแข็งจุดอ่อนขององค์ กร
Human Resources Development : การพัฒนาด้ านทรัพยากรมนุษย์ โดยการเริ่มต้ นที่เจ้ าของธุรกิจ
Organization Improvement : การปรับปรุงผังการบริหารจัดการให้ สอดคล้องกับ AEC
Clear Positioning : ชัดเจนในจุดแข็งของธุรกิจ
International / Regional Standardize : การดาเนินธุรกิจและบริหารจัดการแบบสากลภายใต้
มาตรฐานแบบของอาเซียน
Competitiveness Development : การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่ งขันขององค์ กรทั้งเชิงรุ ก
และเชิงรับ ทั้งด้ าน Hardware และ Software
Strategic & Business Continuity Plan : การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนความต่ อเนื่องของ
ธุรกิจ
Risk Management : การบริหารความเสี่ ยงในทุกมิติภายใต้ บริบท AEC
www.tanitsorat.com
12
4
AEC เหรียญ 2 ด้ าน
1. การยกระดับช่ องว่ างของการพัฒนาเศรษฐกิจชุ มชนสู่ ความเป็ นสากล
2. Economic Share Value การลดความเลือ่ มลา้ และลดช่ องว่ างการพัฒนา โดย
ให้ ประชาชนกลุ่มด้ อยโอกาสและ SME ได้ ประโยชน์ ของการเปิ ดเสรีภายใต้ AEC
และการเปิ ดเสรีการค้ า-บริการ-ลงทุน
3. Common Concern Connectivity การทาให้ เกิดจิตสานึกของการเป็ นเนื้อ
เดียวกัน ด้ วยการเชื่ อมโยงในมิติต่างๆทั้งด้ านเศรษฐกิจ สั งคม วัฒ นธรรม ให้ ได้
อย่ างแท้ จริงไม่ มอี ุปสรรคทางพรมแดนมาเป็ นช่ องว่ างของการพัฒนา
4. Single Market การยกระดับจากการแข่ งขันไปสู่ การร่ วมมือกัน : ทั้งด้ านการ
ใช้ ทรัพยากรร่ วมกันและเป็ นตลาดเดียวกันจะต้ องมีการบูรณาการความร่ วมมือ
5. Integration การมีส่วนร่ วมในการพัฒนาของประชาชนและกลุ่มด้ อยโอกาส
AEC อุตสาหกรรมพร้ อมรับมือแล้ วหรือยัง
www.tanitsorat.com
126
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
12
7
การวิเคราะห์ เจาะลึกประเด็นศักยภาพของธุรกิจในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือกับและลู่ทางการเจาะตลาด
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
20 สิ งหาคม 2555
ณ ห้ องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมตักศิลา จังหวัดมหาสารคาม
ผู้ดาเนินรายการ
อาจารย์ ดร.พรลภัส สุ วรรณรัตน์
อาจารย์ พิมพ์ กานต์ สุ วรรณธาดา
คุณธวัชชัย เฮงประเสริฐ
กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ขอนแก่นเซรามิค
ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
คุณสุ รชัย กลางพระเนตร
ผูอ้ านวยการส่ วนบริ การธุรกิจอุตสาหกรรม
ศูนย์ส่งเสริ มอุตสาหกรรมภาคที่ 5
คุณประยุทธ ศรีวโิ รจน์
กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั เครื อศรี วิโรจน์ จากัด