Transcript ภาพนิ่ง 1
มะลิวลั ย์ สินน้อย
ภาพจาก WWW.GOOGLE.CO.TH/
บรรณานุกรม
BIBLIOGRAPHY/
หมายถึง รายการของทรัพยากร
สารสนเทศทัง้ หมดทีผ
่ ท
ู้ ารายงาน /วิจย
ั /
วิทยานิพนธ ์ ไดใช
้ ้ประกอบการเขียน
รายงาน / วิจย
ั /วิทยานิพนธ ์
รายการอางอิ
งทรัพยากรสารนิเทศ ไดแก
้
้ ่
หนังสื อ วารสาร เอกสาร และสิ่ งพิมพ ์
ตางๆ
รวมทัง้ โสตทัศนวัสดุทก
ุ ประเภททีใ่ ช้
่
ศึ กษาคนคว
าหาข
อมู
งในการ
้
้
้ ล และอางอิ
้
เขียนรายงาน งานวิจย
ั ภาคนิพนธ ์ และ
ปริญญานิพนธ ์ โดยนามาจัดเรียงตามลาดับ
กตองตาม
ตัวอักษร และเขียนอยางถู
้
่
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม
APA Style
( American Psychological Association)
Harvard Style
MLA Style (Modern Language Association)
Vancouver Style
รูปแบบการเขียน(APA STYLE)
บรรณานุกรม บรรณานุกรมหนังสื อ
ชื่อผูแ้ ต่ง.^^(ปี ที่พิมพ์).^^ชื่อเรื่อง.^^ครั้งที่พิมพ์.^^สถานที่พิมพ์ ^ :^สานักพิมพ์.
บรรณานุกรมวารสาร
ชื่อผูแ้ ต่ง.^^(เดือน ปี ).^^ “ชื่อบทความ”.^^ชื่อวารสาร,^ปี ที่ (ฉบับที่),^หน้า.
บรรณานุกรมวิทยานิพนธ์
ชื่อผูเ้ ขียน.^^(ปี ที่พิมพ์).^^ชื่อวิทยานิพนธ์ .^^ระดับวิทยานิพนธ์^มหาวิทยาลัย.
บรรณานุกรมอินเทอร์เน็ต
ชื่อผูแ้ ต่ง.^^(วัน เดือน ปี ).^^ “ชื่อบทความ”. ^^สื บค้น วัน เดือน ปี ที่คน้ ,^จาก URL.
หลักการเขียนบรรณานุกรมเบือ้ งต้ น
พิมพ์คาว่า บรรณานุกรม หรื อ เอกสารอ้างอิง
“REFERENCES”
ซึ่ งพิมพ์ดว้ ยตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ไว้ก่ ึงกลางหน้ากระดาษตัวหนา ไม่
ต้องขีดเส้นใต้
เรี ยงลาดับรายการที่อา้ งอิง ตามลาดับตัวอักษรตัวแรก ชื่อผูแ้ ต่ง ชื่อ
หนังสื อ ชื่อเรื่ องย่อย (ถ้ามี) ครั้งที่พิมพ์ สานักพิมพ์ ปี ที่พิมพ์
เรี ยงลาดับบรรณานุกรมตามตัวอักษรตัวแรกของรายการบรรณานุกรม
ถ้าเป็ นสิ่ งพิมพ์ภาษาไทย ให้เรี ยงตามลาดับอักษรชื่อผูแ้ ต่ง ก - ฮ ถ้าเป็ น
สิ่ งพิมพ์ภาษาอังกฤษ ให้เรี ยงตามลาดับตัวอักษรชื่อสกุลของผูแ้ ต่ง A - Z
หลักการเขียนบรรณานุ กรม
เบือ
้ งตน
้ (ตอ)
่
ชือ
่ เรือ
่ งให้ขีดเส้นใต้
หรือทา
ตัวหนา
ถาสิ
อ
่ ผูแต
้ ่ งพิมพนั
่
้ ง่
์ ้นไมปรากฏชื
ให้ใช้ชือ
่ เรือ
่ งเป็ นรายการแรก
ของบรรณานุ กรม
งเป็ นภาษาอังกฤษ
ถามี
้
้ การอางอิ
ให้อางอิ
งหนังสื อ/บทความเป็ น
้
หลักการลงรายการบรรณานุกรม
ผูแ้ ต่งที่เป็ นบุคคล
ผู้แต่ งคนเดียว ให้ใช้ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ของ
หนังสื อสาหรับผูแ้ ต่งที่เป็ นคนไทยให้ใช้ชื่อและชื่อ
สกุลเท่านั้น ไม่ ต้องใส่ คานาหน้ าอื่นๆ เช่น นาย/นาง/
นางสาว ศาสตราจารย์ / รองศาสตราจารย์ / ผูช้ ่วย
ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดอกเตอร์ ฯลฯ
ตัวอย่าง ยุพิน เตชะมณี
ผู้แต่ ง 2 คน
ให้ใส่ ชื่อผูแ้ ต่งที่ระบุเป็ นคนแรกไว้ก่อน เชื่อมด้วยคาว่าและแล้ว
จึงใส่ ชื่อผูแ้ ต่งคนที่2
สุภารัตน์ จันทร์เหลืองและเมรีรตั น์ มัน่ วงศ์
หลักการลงรายการบรรณานุกรม (ต่ อ)
ผู้แต่ ง 3 คน
ให้ใส่ ชื่อผูแ้ ต่งทั้ง 3 คน โดยใสชื่อผูแ้ ต่งคนแรกคัน่ ด้วย
เครื่ องหมายจุลภาค ใส่ ชื่อผูแ้ ต่งคนที่ 2 เชื่อมด้วย คาว่า และ แล้วจึง
ใส่ ชื่อผูแ้ ต่งคนที่ 3
รัตนา เล็กสมบูรณ์, มินตรา สาระรักษ์ และเมธีรัตน์ สุ ภาพ
ผู้แต่ งมากกว่ า 3 คน
ใส่ เฉพาะชื่อผูแ้ ต่งคนแรกที่ปรากฏในหน้าปกในของ
หนังสื อและตามด้วยคาว่า "และคนอื่นๆ "หรื อ" และคณะ"
รัตนา เล็กสมบูรณ์ และคนอื่น ๆ
ผู้แต่ งทีม่ รี าชทินนาม และฐานันดรศักดิ์
ให้ไว้หลังชื่อคัน
่ ด้วยเครื่ องหมายจุลภาค
ตัวอย่ าง
อนุมานราชธน, พระยา
ปิ ยะรังสิ ต รังสิ ต, ม.จ.
ผู้แต่ งมีสมณศักดิ์
ให้ใช้ตามสมมณศักดิ์ที่ได้รับ และใส่ ชื่อเดิมไว้ในวงเล็บ
ตัวอย่ าง
พระราชนิโรธรังสี ( เทสก์ เทสรังสี )
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต )
ผู้แต่ งทีเ่ ป็ นเป็ นผู้จัดพิมพ์ ผู้รวบรวม บรรณาธิการ
ให้ใส่ ชื่อสกุล โดยมีเครื่ องหมาย ( , ) คัน
่
ตัวอย่ าง
มะลิวลั ย์ สิ นน้อย, ผูร้ วบรวม.
ผูแ้ ต่งที่ใช้นามแฝง
ถ้านามจริ งเป็ นที่รู้จก
ั ทัว่ ไปแล้ว ให้ใช้นามจริ ง และ บอกนามแฝง
ไว้ต่อจากชื่อเรื่ องหนังสื อ ถ้าหากไม่ทราบนามจริ งให้ถือนามแฝง
เป็ นชื่อผูแ้ ต่ง โดยวงเล็บ คาว่า "นามแฝง" ต่อจากนามแฝง
ตัวอย่ าง
ปุบผา นิมมานเหมินทร์, มล. ผู้ดี. โดย ดอกไม้สด
( นามแฝง ) . ลูกน้ า ( นามแฝง ).
หนังสื อทีไ่ ม่ ปรากฏชื่อผู้แต่ ง
ให้ใส่ ชื่อหนังสื อในตาแหน่งผูแ้ ต่ง
ตัวอย่ าง
ราชกิจจานุเบกษา
พระลอ.
ผู้แต่ งทีเ่ ป็ นสถาบัน
หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา รัฐวิสาหกิจ สมาคม
ธนาคาร องค์การระหว่างประเทศ ให้ใส่ ชื่อสถาบันนั้นๆ
ในตาแหน่งผูแ้ ต่ง โดยเรี ยงตามลาดับหน่วยงานใหญ่ไปหา
หน่วยงานย่อย
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี . คณะเภสัชศาสตร์
ผู้แต่ ง (AUTHOR) ชาวต่ างประเทศ
ใช้ชื่อสกุลคัน
่ ด้วยเครื่ องหมายจุลภาค ( , )
ตามด้วยชื่อตัว
ตัดคานาหน้านามตลอดจนคาที่แสดงถึง ตาแหน่ งทางวิชาการ
ลักษณะอาชีพ ปริ ญญาระดับการศึกษา
ตัวอย่าง Rowley, Jennifer
ผู้แต่ ง 2 คน
ให้ใส่ ชื่อสกุลผูแ้ ต่งคนแรก ตามด้วยเครื่ องหมายจุลภาคใส่ ชื่อ
ตัว และเชื่อมด้วยคาว่า and แล้วจึงใส่ ชื่อและนามสกุลของผูแ้ ต่ง
คนที่ 2 ตามปกติ
Rowley, Jennifer and James Martin.
ผู้แต่ ง 3 คน
ใส่ ชื่อสกุลผูแ้ ต่งคนแรก ตามด้วยเครื่ องหมายจุลภาคใส่ ชื่อ
ตัว ตามด้วยเครื่ องหมายจุลภาค ใส่ ชื่อและนามสกุลคนที่ 2
ตามปกติ แล้วเชื่อมด้วยคาว่า and แล้วจึงใส่ และนามสกุลผู้
แต่งคนที่ 3 ตามปกติ
ตัวอย่ าง Rowley, Jennifer, James Martin and Peter E.
Liley.
ผู้แต่ งมากกว่ า 3 คน
ใส่ ชื่อสกุลผูแ้ ต่งคนแรก ตามด้วยเครื่ องหมายจุลภาค ใส่ ชื่อ
ตัวและตามด้วยคาว่า and others หรื อ et. al.
Liley, Peter E., et.al.
(EDITOR) (COMPILER) (TRANSLATOR)
ผูแ้ ต่งที่ทาหน้าที่บรรณาธิ การ (Editor) ให้ใส่ คาย่อ ed.
รวบรวม (Compiler) ให้ใส่ คาย่อ comp.
(ผูแ้ ปลTranslator) ให้ใส่ คาย่อ tr.
ชื่อหนังสื อ (TITLE)
ลงรายการต่อจากผูแ้ ต่งใช้ชื่อตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ชื่อเรื่ องที่
มีชื่อรอง (Sub - Title) ซึ่งเป็ นคาอธิบายชื่อเรื่ องให้ใส่ ชื่อรองด้วย
โดยใช้เครื่ องหมายวรรคตอนระหว่างชื่อเรื่ อง และชื่อรองตามที่
ปรากฏในหน้าปกใน
สารนิ เทศกับการศึกษาค้นคว้า : ภาคทฤษฎี
การลงรายการชื่อเรื่องเป็ นรายการแรก
ถ้าไม่ปรากฏชื่อผูแ้ ต่งให้ใช้ชื่อเรื่ องลงเป็ นรายการแรก
กฎแห่ งกรรม......................
ครั้งที่พมิ พ์ (EDITION)
พิมพ์ครั้งแรกไม่ตอ
้ งลงรายการ
ลงรายการเฉพาะหนังสื อที่มีการพิมพ์ต้ งั แต่ครั้งที่ 2
ตัวอย่าง
กฎแห่ งกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2.
พิมพลักษณ์ (IMPRINT)
รายละเอียดที่เกี่ยวกับการพิมพ์หนังสื อ ประกอบไปด้วย
สถานที่พิมพ์, สานักพิมพ์
สถานที่พิมพ์
- กรุ งเทพมหานคร :
- เชียงใหม่ :
ในกรณี ที่ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ให้ใช้คาว่า ม.ป.ท หรื อ
ม.ป.พ (ไม่ปรากฏที่พิมพ์ ) ในตาแหน่งของสถานที่พิมพ์
กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. ม.ป.ป.
ภาษาต่างประเทศ ใช้คาว่า n.p. (ย่อมาจาก no place of
publication)
S.I. : s.n., n.d.
สานักพิมพ์ (PUBLISHER)
หมายถึง แหล่งที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ และจัดจาหน่ ายหนังสื อ ถ้ามี
ชื่อสานักพิมพ์ ให้ลงชื่อสานักพิมพ์ ลงชื่อสานักพิมพ์ต่อจากสถานที่พิมพ์
และ ตามด้วยเครื่ องหมายจุลภาค ถ้ามีผจู ้ ดั พิมพ์เป็ นหน่วยงาน ให้ระบุ
หน่วยงานย่อยไปหาหน่วยงานหลัก
ตัวอย่ าง
ไทยวัฒนาพานิช
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ถ้าไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ให้ใส่ ชื่อโรงพิมพ์ในตาแหน่งของสานักพิมพ์ และระบุคาว่าโรงพิมพ์ไว้ดว้ ย
เช่น โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
สานักพิมพ์ (PUBLISHER) (ต่อ)
ตัวอย่ าง.
โรงพิมพ์รุ่งเรื องรัตน์,
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ปี ที่พมิ พ์ ( DATE)
ลงต่อจากสานักพิมพ์หรื อโรงพิมพ์ ใส่ เฉพาะตัวเลขไม่ตอ้ งระบุคาว่า พ.ศ. ให้ใช้ปีที่
พิมพ์ครั้งหลังสุ ด หลังปี ที่พิมพ์ใส่ เครื่ องหมายมหัพภาค
ตัวอย่ าง 2554.
2555.
ในกรณี ที่ไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์ ให้ใช้ ม.ป.ป
ถ้าหนังสื อไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์ และปี ที่พิมพ์ ให้ใช้คาว่า ม.ป.ท, ม.ป.ป
n.d. (ย่อมาจากคาว่า no date of publication)
ถ้าหนังสื อไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ และปี ที่พิมพ์ให้ใช้คาว่า n.p, nd
รูปแบบการเขียนบรรณานุ กรม แบบ MLA
STYLE
หนังสื อ
ชือ
่ ผู้แตง.//ชื
อ
่ เรือ
่ ง.//ครัง้ ทีพ
่ ม
ิ พ.//เมื
องทีพ
่ ม
ิ พ.//:/ส
านักพิมพ.,/ปี
่
์
์
์ ท ี่
พิมพ.์
หนังสื อแปล
ชือ
่ ผู้แตง.//ชื
อ
่ เรือ
่ งทีแ
่ ปล. แปลจาก ชือ
่ เรือ
่ งเดิม. แปลโดย ชือ
่ ผู้
่
แปล.//ครัง้ ทีพ
่ ม
ิ พ.//เมื
องทีพ
่ ม
ิ พ/:/ส
ี่ ม
ิ พ.์
์
์ านักพิมพ,/ปี
์ ทพ
หนังสื อรวมเรือ
่ ง/สารานุ กรม
ชือ
่ ผู้แตง.//“ชื
อ
่ ตอนทีอ
่ างอิ
ง”ใน ชือ
่ เรือ
่ ง. เลมที
่ ละหน้าที่
่
้
่ แ
ปรากฏชือ
่ ตอนทีอ
่ างอิ
ง.//ครัง้ ทีพ
่ ม
ิ พ.//เมื
องทีพ
่ ม
ิ พ/:/ส
้
์
์ านักพิมพ,/์
ปี ทีพ
่ ม
ิ พ.์
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมแบบ APA
วา9[ต9รสาร
หนังสือ
ชื่อผูแ้ ต่ง. (ปี ที่). ชื่อเรื่อง. เมืองที่พิมพ์ : สานักพิมพ์ .
ตัวอย่างหนังสือภาษาไทย
จิรวรรณ
ภักดีบุตร. (2533). เอกสารการสอนชุ ดวิชาการบริการและเผยแพร่
สารนิเทศ นนทบุรี : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมแบบ APA
ตัวอย่างบทความวารสาร
วา9[ต9รสาร
ชือ่ ผูแ้ ต่ง. (ปี ท)ี่ . “ชือ่ บทความ”. ชือ่ วารสาร.// (ฉบับที)่ ; เดือน. / / : /หน้าทีป่ รากฏบทความ.พิมพ์
ตัวอย่างบทความหนังสือพิมพ์
เขียนบทความ. (ปี ที่พิมพ์) “ชื่อบทความ” ชื่อหนังสื อพิมพ์ . (วันที่ เดือน) : หน้าที่ปาาฏบบทความ.
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม
วิทยานิพนธ์
ชื่อผูแ้ ต่ง. (ปี ทีพ่ มิ พ์ ). //ชื่อเรื่ อง.//วิทยานิพนธ์หรื อปริ ญญานิพนธ์ สาขา/ ชื่อ
มหาวิทยาลัย.
พรพรรณ กลิ่นศรี สุข. (2547). การใช้ ศูนย์ บรรณสาร และสื่ อการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศิลปะ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
รู ปแบบการเขียนบรรณานุกรม
รายงานการวิจยั
ชื่อผูแ้ ต่ง. // (ปี ที่พิมพ์). //รายงานการวิจยั เรื่ อง. // เมืองที่พิมพ์/:/สานักพิมพ์.
ตัวอย่ าง ฐะปะนีย ์ เทพญา, สิ ริพนั ธ์ เดชพลกรัง. (2541). รายงานการวิจัย เรื่อง การใช้ ห้องสมุดของ
นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. [ปั ตตานี] :
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี .
วิทยานิพนธ์ ไทย
คณาภรณ์
ศรี ทอง. (2542). ความพึงพอใจในการใช้ บริการระบบจ่ ายรับด้ วยรหัสแท่ ง
ในหอสมุดวิทยาลัยพลศึกษามหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิทยานิพนธ์
ภาษาต่ างประเทศ
Tameem,
Jamal Abbas. (1991). User Satisfaction in a
Government Library : a Case Study of the Ministry
of Foreign Affairs in Saudi Arabia (Library
Services). Thesis (Ph.D.) University of Texas.
จุลสาร/แผ่ นพับ
จุลสาร
ใช้ แบบแผนเดียวกับหนังสื อ ยกเว้ นชื่อเรื่องให้ ใส่ ไว้ ใน
เครื่องหมายอัญประกาศ
แผ่ นพับ
ใช้ แบบแผนเดียวกับหนังสื อ ยกเว้ นชื่อเรื่องให้ ใส่ ไว้ ใน
เครื่องหมายอัญประกาศ และให้ วงเล็บว่ า แผ่ นพับ (หรือ Brochure)
ในกรณีทเี่ ป็ นภาษาอังกฤษ
สั มภาษณ์
ผู้ให้ สัมภาษณ์ . ตาแหน่ ง (ถ้ ามี). ปี . สั มภาษณ์ , วัน เดือน.
การเขียนบรรณานุกรมหนังสื อแปล
ผูแ้ ต่ง. (ปี ที่พิมพ์) ชื่อหนังสื อ แปลโดย. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
ชื่อผูแ้ ปล, ผูแ้ ปล. (ปี ที่พิมพ์) ชื่ อหนังสื อ. ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
การเขียนบรรณานุกรมของบทความหรือบทหนึ่งในหนังสื อ
ผูเ้ ขียนบทความ.(ปี ทพี่ ิมพ์) "ชือ่ บทความ" ใน ชือ่ บรรณาธิการ หรือผูร้ วบรวม. ชือ่ หนังสือ,
เลขหน้า. สถานทีพ่ ิมพ์ : สานักพิมพ์.
สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
ผูแ้ ต่ง. ปี . ชื่อเรื่ อง. [ประเภทของสื่ อที่เข้าถึง]. เข้าถึงได้จาก : แหล่งข้อมูล/
สารสนเทศ.
การเขียนบรรณานุกรมราชกิจจานุเบกษา
"ชื่อกฎหมาย"
วันเดือน ปี . ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ ตอนที่. หน้าที่ตีพิมพ์.
การเขียนรายงานการประชุ มวิชาการ การสั มมนาวิชาการ
ผูเ้ ขียนบทความ.(ปี ที่พิมพ์)
"ชื่อบทความ" ชื่อการประชุม การสัมมนา.
สถานที่ประชุม. ; หน้า.
การเขียนบรรณานุกรมจากจุลสาร
ชื่อผูแ้ ต่ง.(ปี ที่พิมพ์) "ชื่อจุลสาร" สถานที่พิมพ์ : ผูจ้ ดั พิมพ์เผยแพร่ .
รูปแบบการเขียนบรรณานุ กรม
เว็บไซต ์
สือ่ อิเล็กทรอนิกส์
ชือ
่ ผู้แตง.
อ
่ เอกสาร.//ชือ
่ สมบูรณของเว็
ป
่ (วันเดือนปี ทีเ่ ผยแพร)//ชื
่
์
ไซต.//./
์
<URL.> วันเดือนปี ทีส
่ ื บค้น.
โสตทัศนวัส
ดุ
ชือ
่ ผู้แตง.
ี่ ลิตหรือจัดทา.)//ชือ
่ เรือ
่ ง.//(ประเภทของวัสดุ).//
่ (ปี ทผ
สถานทีผ
่ ลิต.//:/ผู้ผลิตหรือผู้จัดทา.
การเขียนบรรณานุกรมรายการวิทยุหรือโทรทัศน์
ชื่อผูบ
้ รรยาย. วัน เดือน ปี . เวลาออกอากาศ. "ชื่อเรื่ องเฉพาะตอน" ชื่อ
รายการ. สถานที่ออกอากาศ.
การเขียนบรรณานุกรมโสตทัศนวัสดุ
ชื่ อเรื่อง. (ประเภทของวัสดุ). ( ปี ที่จด
ั ทาหรื อปี ที่ผลิต).
ผูผ้ ลิตหรื อผูจ้ ดั ทา.
สถานที่ผลิต :
การเขียนบรรณานุกรมแบบมีการอ้ างถึง
Rogers, Alan. Adult Learning for Development. New York : Cassell
Education, (1962). อ้างถึงใน ธันย์ วรรณโชดก. (2536). การ
เปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนและการปรับตัวของนิสิต
ปริญญาตรีช้ันปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร ทีเ่ ข้ าเรียนด้ วยการ
สอบคัดเลือกจากทบวงมหาวิทยาลัยและสอบคัดเลือกจากระบบ
โควตา ปี การศึกษา 2535. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาจิตวิทยาการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
THE END