งานนำเสนอ กิจกรรมตรวจวัดปริมาณน้ำท่าและดินตะกอน (ppt)

Download Report

Transcript งานนำเสนอ กิจกรรมตรวจวัดปริมาณน้ำท่าและดินตะกอน (ppt)

กิจกรรมตรวจวัดปริมาณนา้ ท่ าและดินตะกอน
สานักอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้
กรมอุทยานแห่ งชาติ สั ตว์ ป่า และพันธุ์พชื
กิจกรรมการตรวจวัดปริมาณนา้ ท่ าของลุ่มน้า
1. กาหนดจุดทีท่ าการตรวจวัดนา้ ท่ า บริเวณ outlet ของลุ่มนา้
2. ใช้ สมการการไหลของนา้ Q = VA
Q = ปริมาณหรืออัตราการไหลของนา้ มีหน่ วยเป็ น ลูกบาศก์เมตร/วินาที
V = ความเร็วของกระแสนา้
มีหน่ วยเป็ น เมตร/วินาที
A = พืน้ ทีห่ น้ าตัดของลานา้
มีหน่ วยเป็ น ตารางเมตร
กิจกรรมการตรวจวัดปริมาณนา้ ท่ าของลุ่มน้า (ต่ อ)
3. วิธีการหาค่ า Q ในข้ อ 2 โดยใช้ หลักการตามคู่มือการตรวจวัดนา้ ท่าในลาธาร
ของส่ วนวิจัยต้ นนา้ สานักอนุรักษ์ และจัดการต้ นนา้
4. ประเมินปริมาณการไหลของนา้ ท่ า/วัน = Q×60×60×24 ลูกบาศก์เมตร/วัน
จุดพิกดั ทีต่ รวจวัดนา้ /ชื่อลาห้ วย/ลุ่มนา้ ย่ อย/ลุ่มนา้ สาขา/ลุ่มนา้ หลัก
กิจกรรมการตรวจวัดปริมาณนา้ ท่ าของลุ่มน้า (ต่ อ)
5. จัดทา rating curve ของห้ วยธาร ซึ่งเป็ นกราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ระดับความสู งของนา้ (H) กับปริมาณหรืออัตราการไหลของนา้ (Q)
H (ม.)
Q (ลบ.ม./วินาที)
กิจกรรมการตรวจวัดปริมาณนา้ ท่ าของลุ่มน้า (ต่ อ)
6. จัดทา hydrograph ของลุ่มนา้ ซึ่งเป็ นกราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ปริมาณหรืออัตราการไหลของนา้ (Q) ต่ อหน่ วยเวลา (time)
Q discharge (ลบ.ม./วินาที)
4
lag time
peak flow
3
2
1
1 2
3
4
5
6
time (ชม.)
กิจกรรมการตรวจวัดปริมาณนา้ ท่ าของลุ่มน้า (ต่ อ)
7. ประเมิน/วิเคราะห์ สมรรถนะของลุ่มนา้ จากกราฟนา้ ท่ า (hydrograph) ดังนี้
7.1 ขนาดพืน้ ทีร่ ับนา้ มีหน่ วยเป็ น ตารางกิโลเมตร/ไร่ บริเวณพิกดั
7.2 ใช้ ช่วงเวลาจัดทากราฟน้าท่ าของลุ่มน้าในช่ วงก่ อนฝนตก ระหว่ าง
กาลังมีพายุฝนจนถึงฝนหยุดตกแล้ว
7.3 ประเมินลักษณะทางอุทกวิทยาของลุ่มน้า/อัตราการไหลหลากสู งสุ ด
ของน้า (peak flow rate) มีหน่ วยเป็ น ลูกบาศก์ เมตร/วินาที และช่ วงเวลา
การเดินทางของนา้ (lag time) มีหน่ วยเป็ น ชั่วโมง
การดาเนินกิจกรรมตรวจวัดปริมาณดินตะกอนของลุ่มนา้
เพือ่ ประเมินการพังทลายของดิน
1. คัดเลือกบริเวณ outlet ของลุ่มน้า และจัดทาสิ่ งกีดขวาง (Mechanical
obstruction) เพื่อชะลอความเร็ วของน้า ให้ น้าหยุดนิ่ งและเกิดการตกตะกอน
ดัง นั้ น ตะกอนที่ถูกกักไว้ จะเป็ นตะกอนรวม ทั้งที่เป็ นตะกอนแขวนลอยและ
ตะกอนท้ อ งน้า ในที่ นี้ใ ห้ เ ลือ กใช้ วิธี ก ารสร้ า งสิ่ ง กีด ขวางเป็ นฝายหิ น ควบคุ ม
ตะกอน (Rock check dam) แบบหินทิง้ /ตาข่ าย และสามารถกรองน้า กักเก็บ
ตะกอน ช่ วยให้ คุณภาพนา้ ดีขนึ้ อีกด้ วย (ดังแสดงในภาพที่ 1 , 2 และ 3)
การดาเนินกิจกรรมตรวจวัดปริมาณดินตะกอนของลุ่มนา้
เพือ่ ประเมินการพังทลายของดิน (ต่ อ)
2. ใช้ หลักการและวิธีการตรวจวัดเช่ นเดียวกันกับวิธีสารวจตะกอนในอ่าง
โดยตรวจวัดเป็ นตะกอนสดในช่ วงเวลา 1 ปี วัดความหนาของตะกอนเฉลีย่
(หน้ าฝาย/หลังฝาย) คูณด้ วยพื้นผิวของตะกอน จะได้ ปริ มาณตะกอนทั้งหมด
ปริมาณที่ได้ สามารถแปรสภาพเป็ นปริมาณตะกอนที่เกิดจากการชะล้ างจากพืน้ ที่
รับน้า เครื่องมือที่ใช้ วัดความหนาของตะกอน เช่ น ใช้ เหล็กบรรทัด วัด หรือไม้ วัด
ระดับนา้ (staff gage) หรือวิธีอนื่ ทีส่ ามารถอ่านความสู งได้
การดาเนินกิจกรรมตรวจวัดปริมาณดินตะกอนของลุ่มนา้
เพือ่ ประเมินการพังทลายของดิน (ต่ อ)
Sy = A Ho - Ht
Sw = SyD
D=
Ht
Ho - Ht
Ho
Reservoir –Sediment –Deposition Survey Method
การดาเนินกิจกรรมตรวจวัดปริมาณดินตะกอนของลุ่มนา้
เพือ่ ประเมินการพังทลายของดิน (ต่ อ)
𝑴
𝑽
3. ใช้ สมการ D =
ในเมื่อ D = ความหนาแน่ นของตะกอน (ปกติมีค่าประมาณ 0.80 กรัม/ลูกบาศก์
เซนติเมตร) (ดร.เกษม จันทร์ แก้ว)
4. จะได้ ปริมาณตะกอน = 0.80 × ปริมาตรของตะกอน (กรัม)
5. ขนาดพืน้ ทีร่ ับนา้ มีหน่ วยเป็ น ตารางกิโลเมตร/ไร่ /บริเวณพิกดั
6. ประเมินการทางาน/หน้ าที่ (function) ของลุ่มนา้ ทีไ่ ด้ รับการจัดการ
จากข้ อ 4 และข้ อ 5
 ปกติ
หรือ
 ไม่ ปกติ
เนื่องจาก..................................................................................................................
หมายเหตุ - การพังทลายของดินตามธรรมชาติโดยปกติแล้วมีค่าเฉลีย่ ของโลก
ประมาณ 65 ตัน/ตารางกิโลเมตร/ปี (Holeman, 1968)
- การพังทลายของดินทีเ่ กิดจากป่ าดิบเขา ประมาณ 40 ตัน/ตาราง
กิโลเมตร/ปี (ดร.เกษม จันทร์ แก้ว)
- การพังทลายของดินทีเ่ กิดจากพืน้ ทีป่ ่ าไม้ และถูกแผ้ วถางและทา
เกษตรกรรม ประมาณ 625 ตัน/ตารางกิโลเมตร/ปี (กรมพัฒนาทีด่ ิน, 2524)
ภาพที่ 1 ลักษณะของ Rock Check Dam ควบคุมการตกตะกอนของลุ่มนา้ แบบที่ 1
ภาพที่ 2 ลักษณะของ Rock Check Dam ควบคุมการตกตะกอนของลุ่มนา้ แบบที่ 2
ภาพที่ 3 ลักษณะของ Rock Check Dam ควบคุมการตกตะกอนของลุ่มนา้ แบบที่ 2
• 90 V-Notch
Q = 1.38 H𝟓/𝟐
• 120 V-Notch
Q = 2.56 H𝟓/𝟐
• Rectangular
Q = 1.86 BH𝟑/𝟐
• 90 V-Notch
Q = 1.38 H𝟓/𝟐
• 120 V-Notch
Q = 2.56 H𝟓/𝟐
• Rectangular
Q = 1.86 BH𝟑/𝟐
• 90 V-Notch
Q = 1.38 H𝟓/𝟐
• 120 V-Notch
Q = 2.56 H𝟓/𝟐
• Rectangular
Q = 1.86 BH𝟑/𝟐
การสร้ าง DEM และภาพจาลอง 3 มิติ
จบการนาเสนอ