08_Impact Factor
Download
Report
Transcript 08_Impact Factor
Impact Factor : IF
ความหมาย
คือ ค่าเฉลีย่ ของจานวนการได้รบั การอ้างอิงของ
บทความในวารสารชื่อหนึง่ ต่อ จานวนบทความที่
พิมพ์ก่อนหน้านั้น
ความเป็ นมา
ปี ค.ศ. 1960 Dr. Eugene Garfield ได้นาเสนอแนวคิดในการนา
ข้อมูลการอ้างอิงมาวัดคุณภาพวารสาร โดยตีพิมพ์บทความนาเสนอให้วารสาร
Science เมือ่ ปี 1955
ปี ค.ศ. 1963 เกิดฐานข้อมูล Science Citation Index เป็ นการ
นาเสนอบทความวิจยั วิทยาศาสตร์ที่มีขอ้ มูลการอ้างอิง
ปี ค.ศ. 1970 เกิดฐานข้อมูล Social Science Citation Index
เป็ นการนาเสนอบทความวิจยั สังคมศาสตร์ที่มีขอ้ มูลการอ้างอิง
ปี ค.ศ. 1976 เกิดบริการ Journal Citation Report,
JCR นาเสนอค่า Journal Impact Factor, JIF
ความเป็ นมา
ปี ค.ศ.1980 เกิดฐานข้อมูล Arts & Humanities Citation
Index เป็ นการนาเสนอบทความวิจยั มนุ ษยศาสตร์ที่มีขอ้ มูลการอ้างอิง
ปี ค.ศ. 1990 ISI นาเสนอข้อมูล Indicators datasets &
Citation report
ปี ค.ศ. 1995 เกิดบริการแบบเว็บเบส ISI – Web of Knowledge
ปี ค.ศ. 2000 เกิดบริการ Essential Science Indicators, ESI
ปี ค.ศ. 2005 มีการเสนอหน่วยวัดคุณภาพงานวิจยั h index
ปี ค.ศ. 2007 มีการเสนอหน่วยวัดคุณภาพงานวิจยั Eigenfactor
Metrics
หน่วยวัด คุณภาพงานวิจัยวิทยาศาสตร์
1. Impact Factor, IF
2. H index
3. Eigenmetrics
4. Map & Research Fronts
5. Usage Statistics
หน่วยวัด คุณภาพงานวิจัยวิทยาศาสตร์
จากหน่วยวัด 3 ค่าหลักข้างต้น ทุกๆหน่วยต่างก็ใช้ขอ้ มู ล
การอ้างอิง (citation count) เป็ นสาคัญ
หลักการวัด
1. Impact Journal Metrics
- เป็ นการนับจานวนการได้รบั การอ้างอิง ต่อจานวนบทความที่
ตีพมิ พ์ (ในวารสาร)
- เป็ นวิธีทีง่ ่าย เข้าใจได้
- เป็ นหน่วยวัดทีร่ ูจ้ กั กันเป็ นอย่างดี ในชุมชนวิจยั ทัว่ โลก คือค่า JIF,
Immediacy index, Time half life index
หลักการวัด
2. H Family
- อยู่บนหลักการเรียงลาดับจากสูงสุดไล่เรียง ของจานวนบทความตีพิมพ์
- เป็ นหน่วยวัดที่ง่าย เข้าใจได้
- สามารถนาประยุกต์ได้กบั ทุกระดับ คือ วารสาร นักวิทยาศาสตร์ สถาบัน
ประเทศ
3. Influence Metric
- เป็ นการให้ค่าน้ าหนักในการวัดของโครงสร้างเครือข่ายของการอ้างอิง
ทั้งหมด
- คิดหน่วยวัดเป็ น 2 ค่าหลัก คือ Eigenfactor Influence (EI) /
Article Influence (AI)
วิธีการคานวณหาค่า Journal Impact Factor
คาจากัดความ หมายถึงสัดส่วนระหว่าง จานวนการได้รบั
การอ้างอิง / จานวนบทความทีต่ ีพิมพ์
วิธีการคานวณหาค่า Journal Impact Factor
แสดงวิธีการคานวณ 2 years JIF 2007 ของวารสาร A ดังนี้
-มีจานวนการอ้างอิงในปี 2007 ถึงบทความที่ตีพิมพ์ปี 2006 =4541 ครั้ง
-มีจานวนการอ้างอิงในปี 2007 ถึงบทความที่ตีพิมพ์ปี 2005 =5827 ครั้ง
-รวม จานวนการอ้างอิงถึงวารสาร A ช่วง 2 ปี = 10368
-จานวนบทความที่ตีพิมพ์ ปี 2006 = 773 เรื่อง
-จานวนบทความที่ตีพิมพ์ ปี 2005 = 837 เรื่อง
-รวม จานวนการตีพิมพ์ ของวารสาร A ช่วง 2 ปี = 1610 เรื่อง
ฉะนั้น ค่า JIF- 2 years ของวารสาร A = 10368/1610
= 6.440
ประเด็นที่เกิดข้อถกเถียงของค่า JIF
- Citable items ไม่มีมาตรฐานและคาจากัดความไม่แน่ชดั
- Citation Pattern ในแต่ละสาขาวิชามีความผันแปรแตกต่าง
กันอย่างมาก
- การคิดค่า แค่ช่วงระยะเวลาเพียง 2 ปี เป็ นช่วงเวลาทีส่ ้ นั เกินไป
- ประเภทของบทความตีพมิ พ์ (Review, Research
article) มีความผันแปรในการอ้างอิงแตกต่างกัน
- คิดค่า JIF เฉพาะวารสาร ไม่มีสิง่ พิมพ์ประเภทอื่นๆ
- เป็ นการวัดทีบ่ ดิ เบือนของการกระจายตัวของค่าต่างๆ
ศูนย์ดัชนีการอ้ างอิ งวารสารไทย
Thai Journal Citation Index : TCI
จัดตั้งขึ้ นโดยได้รบั เงินสนับสนุ นจาก สกว.
จัดตั้งทีม
่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เกณฑ์การคัดเลือกวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI
วารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป็ นวารสารทีจ่ ด
ั พิมพ์อย่างต่อเนือ่ งทุกปี และออกตรงตามเวลา
ทีก่ องบรรณาธิการของแต่ละวารสารกาหนด
เป็ นวารสารทีจ่ ด
ั ทาขึ้ นภายในประเทศทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ
เป็ นวารสารทีม
่ ีอายุการตีพมิ พ์ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี
เกณฑ์การคัดเลือกวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI
เป็ นวารสารทีต
่ ีพมิ พ์บทความวิจยั บทความวิชาการ บทความ
ปริทศั น์ และบทความเรือ่ งสั้น
เป็ นบทความทีม
่ ีบทคัดย่อภาษาไทย และ หรือ ภาษาอังกฤษ
เป็ นบทความทีม
่ ีเอกสารอ้างอิง
มีการตรวจสอบคุณภาพของบทความทีเ่ สนอขอรับการตีพม
ิ พ์
โดยมีทรงคุณวุฒิพจิ ารณาบทความอย่างน้อย 2 ท่าน
สามารถขอรับการประเมินคุณภาพผลงานโดยศูนย์ TCI ตาม
ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม