ค่าตรวจสุขภาพประจำปี

Download Report

Transcript ค่าตรวจสุขภาพประจำปี

"บริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด"
ระบบสวัสดิการในประเทศไทย
สิทธิกรมบัญชีกลาง
(02 127 7000)
สิทธิทอ้ งถิ่น
สิทธิรฐั วิสาหกิจ
สิทธิองค์กรอิสระ
สิทธิหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ (1330)
คานิ ยาม "สวัสดิการ"
“สวัสดิการ” คือ ผลประโยชน์ท่รี ฐั จัดให้กบั
ข้าราชการ ทัง้ นี้ การเปลี่ยนแปลง เพิ่ม ลด
สวัสดิการนั้นขึ้นอยู่กบั สถานการณ์ทางการคลัง
ของรัฐในขณะนั้นๆ กรมบัญชีกลางในฐานะ
หน่ วยงานที่กากับดูแลด้านสวัสดิการ
จึงมีหน้าที่บริหารจัดการสวัสดิการให้มี
ประสิทธิภาพ โดยใช้งบประมาณอย่าง
เหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด
ค่าเล่าเรียน
ค่ารักษาพยาบาล
เงินเพิ่มพิเศษ 1,000 บาท (พื้นที่พเิ ศษ)
ค่าเช่าบ้าน
แนวคิดหลัก
การสร้างเสริมป้ องกันโรค
การรักษาพยาบาล
• การสร้างเสริมสุขภาพป้ องกันโรค
• เพือ่ ให้ผูป้ ่ วยฟื้ นคืนสภาพ หายจาก
และการตรวจสุขภาพประจาปี ท่จี าเป็ น
และเหมาะสม
ความเจ็บป่ วย โดยการรักษาพยาบาล
ที่เป็ นมาตรฐาน มิใช่การทดลอง/วิจยั
ความเป็ นมาการสร้างเสริมสุขภาพ
กรมบัญชี กลางได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกา
เงิ น สวัส ดิ ก ารเกี่ ย วกับ การรัก ษาพยาบาล
พ.ศ. 2553 (มีผลบังคับใช้วนั ที่ 29 กันยายน 2553)
โดยพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวมีการเพิ่ม สิทธิ
ประโยชน์ดา้ นการ "สร้างเสริมป้ องกันโรค"
ให้ ค ร อ บค ลุ ม ผู ้ มี สิ ท ธิ แล ะบุ ค คล ใ น
ครอบครัว
มาตรา 4 การรัก ษาพยาบาล ...
และให้หมายความรวมถึงการตรวจ
สุ ข ภาพ การสร้า งเสริ ม สุ ข ภาพ
และการป้ องกันโรค...
แนวคิดหลัก (ด้านการสร้างเสริมป้ องกันโรค)
ตรวจสุขภาพประจาปี
สร้างเสริม ป้ องกันโรค
Package ใหม่
ค่าตรวจสุขภาพประจาปี ตามพระราชกฤษฎีกาเดิม)
• ข้าราชการ
• ลูกจ้างประจา
• ผูร้ บั เบี้ยหวัด
บานาญ
เฉพาะผูม้ ีสทิ ธิ
ปี ละ 1 ครัง้
อายุตา่ กว่า 35 ปี
• ตรวจได้ 16 รายการ
• ตามปี งบประมาณ
• ตรวจได้ 7 รายการ
อายุมากกว่า 35 ปี
ค่าตรวจสุขภาพประจาปี (อายุตา่ กว่า 35 ปี )
ลาดับ
รายการ
ราคา (บาท)
1
Film Chest (41001)
170
2
Mass Chest (41301)
50
3
Urine Examination/Analysis (31001)
50
4
Stool Examination – Routine direct smear (31201) ร่วมกับ
Occult blood (31203)
70
5
Complete Blood Count: CBC แบบ Automation (30101)
90
6
ตรวจภายใน (55620)
100
7
Pap Smear (38302)
100
ค่าตรวจสุขภาพประจาปี (อายุตง้ั แต่ 35 ปี ข้ ึนไป)
ลาดับ
รายการ
ราคา (บาท)
1
รายการตรวจอายุไม่เกิน 35 ปี บริบูรณ์ทกุ รายการ
2
Glucose (32203)
40
3
Cholesterol (32501)
60
4
Triglyceride (32502)
60
5
Blood Urea Nitrogen: BUN (32201)
50
6
Creatinine (32202)
50
7
SGOT (AST) (32310)
50
8
SGPT (ALT) (32311)
50
9
Alkaline Phosphatase (32309)
50
10
Uric Acid (32205)
60
ปัญหาข้อด้อยของระบบตรวจสุขภาพปัจจุบนั
1. จำกัดเฉพำะผูม้ สี ทิ ธิ (ไม่รวมบุ คคล 3. ไม่เคยมีกำรพิจำรณำประโยชน์ของกำร
ในครอบครัวซึ่งมีควำมเสีย่ งสูงกว่ำ
ตรวจว่ำช่วยส่งเสริมสุขภำพหรือลดอัตรำ
โดยเฉพำะกลุ่มบิดำ มำรดำ)
ตำยหรือภำวะทุพลภำพได้จริง
2. กำรตรวจไม่มเี ป้ ำหมำยชัดเจนว่ำ
ต้องกำรตรวจอะไร เพื่ออะไร
(too general)
4. ให้ควำมสำคัญน้อยกับกำรซักประวัติ
และตรวจร่ำงกำย
5. ไม่ได้นำผลกำรตรวจมำใช้สง่ เสริม
สุขภำพอย่ำงต่อเนื่ อง
วัตถุประสงค์
"Package การสร้างเสริมสุขภาพป้ องกันโรค และการตรวจ
สุขภาพของผูม้ ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัวที่จาเป็ นและเหมาะสม
อยู่บนพื้นฐานของการตรวจที่สมเหตุผลไม่ใช่การตรวจที่ฟมเฟื
ุ่ อย"
ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั
• ผูม้ ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัวมีสขุ ภาพที่ดีข้ ึน
• ระบบคัดกรองโรคที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสม และจาเป็ น
(easy to perform and interpret, measure something
directly related to the disease, cost effectiveness)
• งบประมาณแผ่นดินด้านสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
มีแนวโน้มลดลง (ค่าใช้จา่ ยด้านการรักษาลดลง)
แนวคิดหลัก (ด้านการรักษาพยาบาล)

ขัน้ ตอนการเข้ารับการรักษาพยาบาลเหตุปฏิบตั ิหน้าที่
รพ.รัฐ
เข้ารักษาใน รพ.
ใช่
: เบิกได้เต็ม
ไม่ใช่ : เบิกตามสิทธิ พรฎ.
: จ่ายตรง
รพ.เอกชน : ทดรองจ่าย
ส่วนราชการตัง้
คณะกรรมการพิจารณา
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ผูม้ ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัว
ผูม้ ีสทิ ธิ
บุคคลในครอบครัว
• เจ้าของสิทธิ / ผูท้ รงสิทธิ
• ผูอ้ าศัยสิทธิ
• สิทธิเกิดจากบุคคลดังกล่าว
• ชอบด้วยกฎหมาย
รับราชการ หรือรับเบี้ยหวัดบานาญ
(มีหลักฐานทางราชการรับรอง)
การเกิดสิทธิ และหมดสิทธิ
ผูม้ ีสทิ ธิ
บุคคลในครอบครัว
เกิดสิทธิ
• วันรับราชการ
• วันรับเบี้ยหวัดบานาญ
เกิดสิทธิ
หมดสิทธิ
• เกษียณ
หมดสิทธิ
• เสียชีวิต
• ลาออก
• ไล่ออก
• พักราชการ
• ตามผูม้ ีสทิ ธิ
• ตามกฎหมาย (สมรส รับรองบุตร
เกิด ฯลฯ)
• ตามผูม้ ีสทิ ธิ
• ตามกฎหมาย (เสียชีวิต หย่า
บรรลุนิตภิ าวะ ฯลฯ)
ตัวอย่าง
25 ปี
60 ปี
60 ปี 3 เดือน
85 ปี
บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย
หลักฐานทางราชการ
ผูม้ ีสทิ ธิ
สูตบิ ตั ร (ผูม้ ีสทิ ธิ)
มารดา
ทะเบียนบ้าน (ผูม้ ีสทิ ธิ)
บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย
หลักฐานทางราชการ
ผูม้ ีสทิ ธิ
ทะเบียนสมรส (บิดา-มารดา)
ทะเบียนรับรองบุตร
(คร.11)
บิดา
บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย
หลักฐานทางราชการ
ผูม้ ีสทิ ธิ
ทะเบียนสมรสไทย
ทะเบียนสมรส ตปท.
คู่สมรส
บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย
หลักฐานทางราชการ
ผูม้ ีสทิ ธิ
(หญิง)
สูตบิ ตั ร (บุตร)
บุตร
ทะเบียนบ้าน (บุตร)
บุคคลในครอบครัวที่ชอบด้วยกฎหมาย
หลักฐานทางราชการ
ผูม้ ีสทิ ธิ
(ชาย)
ทะเบียนสมรส
(ผูม้ ีสทิ ธิกบั คู่สมรส)
ทะเบียนรับรองบุตร
(คร.11)
บุตร
บุตรชอบด้วยกฎหมายลาดับที่ 1 - 3
เกิดสิทธิ
การบรรลุนิตภิ าวะ
"คลอด"
• อายุ (ครบ 20 ปี บริบูรณ์)
• จดทะเบียนสมรส
หมดสิทธิ
"บรรลุนิตภิ าวะ"
เงือ่ นไขของบุตรชอบด้วยกฎหมาย
การรายงานข้อมูลผูม้ ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัว
• ให้ผูม้ ีสทิ ธิมีหน้าที่รายงานข้อมูลของ
ตนเอง และบุคคลในครอบครัว
ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด พร้อม
รับรองความถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่กระทรวงการคลังกาหนด
(มาตรา 5 วรรค 2)
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค
0422.2/ว 376 ลงวันที่ 30 กย. 53
กรอกข้อมูลบุตรที่ตอ้ งแก้ไข หรือเพิ่มเติมตามจริง (1 แผ่นต่อ 1 คน)
การรายงานข้อมูลผูม้ ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัว
ผูม้ ีสทิ ธิมีหน้าที่รายงาน และรับรองข้อมูลของตนเอง และบุคคลในครอบครัว
ภายใน 1 เดือนนับจากมีการเปลี่ยนแปลง
ผูม้ ีสทิ ธิกรอกแบบ 7127 พร้อมแนบเอกสารประกอบ เช่น
สาเนาบัตรประชาชน สาเนาทะเบียนสมรส สาเนาสูตบิ ตั ร
ข้อมูลที่ตอ้ งรายงาน ประกอบด้วย ข้อมูลตัวบุคคลของ
ผูม้ ีสทิ ธิ และบุคคลในครอบครัว และข้อมูลสถานะทางราชการ
ข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐก่อนวันที่ 29 กันยายน 2553
ถือว่าผูม้ ีสทิ ธิรบั รองความถูกต้องแล้ว