ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน

Download Report

Transcript ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน

ผลกระทบการเปิ ดประตูสู่ อาเซี ยน
สำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดสมุทรสำคร
สถานการณ์ แรงงานข้ ามชาติในประเทศไทย
พ.ศ.2555 มีจานวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทางานคงเหลือ
ทัว่ ราชอาณาจักรไทยทั้งหมด 1,972,504 คน แบ่งเป็ นผูเ้ ข้า
เมืองถูกกฎหมาย 698,777 คน และเข้าเมืองผิดกฎหมาย
1,273,727 คน โดยในจานวนนี้เป็ นแรงงานต่างด้าวชาว
พม่าถึง 1,333,227 คน แบ่งเป็ นผูเ้ ข้าเมืองถูกกฎหมาย
425,191 คน และเข้าเมืองผิดกฎหมาย 908,036 คน
จานวนประชากรต่างด้าวจังหวัดสมุทรสาคร
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่ วยงำน
กรมกำรปกครอง ก.มหำดไทย
(ทร 38/1) สะสมตัง้ แต่ 2547- 2554
จัดหำงำนจังหวัดสมุทรสำคร
(ขอใบอนุญำตทำงำนปี 2555)
ขออนุญำตทำงำน เมื่อคัดแยกเป็ นรำยคน(เหลือ)
มีสทิ ธิ์ประกันสังคม
มีประกันสุขภำพแรงงำนต่ ำงด้ ำว
หน่ วย
343,525 คน
213,340 เลข
161,946 คน
76,543 คน
18,614 คน
แนวโน้ มหลังการเปิ ดประตูสู่ อาเซียน
• กำรเข้ ำมำทำงำนในประเทศ/จังหวัด เพิ่มมำกขึน้ อย่ ำงแน่ นอน
โดยเฉพำะกลุ่มประเทศพม่ ำ ลำว กัมพูชำ
• ธุรกิจ/กิจกำร ที่เกี่ยวข้ องกับแรงงำนเพิ่มมำกขึน้
• กำรควบคุมกำกับแรงงำนต่ ำงด้ ำวได้ รับผลกระทบ
• ปั ญหำสังคมมีควำมหลำกหลำย/ซับซ้ อนขึน้
• ส่ งผลกระทบต่ อภำวะสุขภำพของประชำกรหลักในประเทศ
• งบประมำณกำรลงทุนด้ ำนสุขภำพและอื่น ๆ เพิ่มขึน้
• กลยุทธ์ กำรทำงำนต้ องมีกำรปรับเปลี่ยน/หลำกหลำย
ผลกระทบของแรงงานต่ างด้ าว
1. ผลกระทบทางสังคม
• ปัญหาด้านอาชญากรรม
• ปัญหาสิง่ แวดล้อม ชุมชนสกปรกขึน้ ขยะมาก ความไม่มรี ะเบียบของ
แรงงานต่างด้าวในแต่ละชุมชนน้อยมาก
• ปัญหาการลักลอบเข้าเมือง จากสถิตผิ ู ต้ ้องขังชาวต่างชาติทถี่ ูกจับ
เนือ่ งจากเข้าเมืองผิดกฎหมาย และกาลังรอการส่งกลับหรือผลักดันออก
นอกประเทศในแต่ละปี มีปริมาณเพิม่ สูงขึน้
ผลกระทบของแรงงานต่ างด้ าว
• ปัญหาผู ห้ ญิงและเด็ก เสีย่ งต่อการตกเป็ น เหยือ่ ของการค้ามนุษย์ และใช้
แรงงานเด็ก
• ปัญหาด้านการศึกษา โอกาสในการศึกษาของเด็กในครอบครัวแรงงานต่าง
ด้าวผิดกฎหมายทีจ่ ะได้รบั การ ศึกษามีอยู่ 2 ลักษณะคือ การศึกษาจาก
ชัน้ เรียนทีไ่ ม่เป็ นทางการทีจ่ ดั ขึน้ กันเอง โดย NGO และเข้าเรียนใน
สถานศึกษาของไทย ซึง่ ปัจจุบนั หลาย ๆ โรงเรียนก็ดาเนินการรับเด็กต่าง
ด้าวเข้าศึกษา
ผลกระทบของแรงงานต่ างด้ าว
• 2. ผลกระทบด้านความมัน่ คง
• 3. ผลกระทบทางด้านสาธารณสุข ถึงแม้ว่าแรงงานต่างด้าวทีข่ น้ ึ ทะเบียน
ถูกต้องตามกฎหมายจะได้รบั การตรวจสุขภาพและค้นหาโรคจากหน่วยงาน
สาธารณสุขของจังหวัดและได้รบั บัตรประกันสุขภาพ แต่กม็ จี านวนน้อยมาก
เมือ่ เปรียบเทียบกับกลุม่ แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายและไม่ขน้ ึ ทะเบียน
ผลกระทบทางด้านสุขภาพในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสมุทรสาคร
1. โรคติดต่ออุ บตั ซิ ้า เช่น ไข้กาฬหลังแอ่น
2. การแพร่กระจายของโรคติดต่อทีส่ าคัญ เช่นวัณโรค อุ จจาระร่วงอย่างแรง
3. การเกิดโรคระบาดในเด็ก อัตราการเกิดของแรงงานสตรีต่างด้าวมีแนวโน้มสูงขึน้ ทุกปี
ความครอบคลุมในการรับฉีดวัคซีนไม่สามารถติดตามได้ ต้องมีการรณรงค์บ่อยครัง้
เช่น โปลิโอ
4. ผลกระทบจากผลิตภัณฑ์สุขภาพของแรงงานต่างด้าว ซึง่ พบโดยทัว่ ไปตามตลาดนัด
ในพืน้ ที่
5.อุ บตั เิ หตุจากการทางานมีจานวนมากในประชากรต่างด้าว
6. เรือ่ งอืน่ ๆ เช่น การวางแผนครอบครัว การฝากครรภ์
ผลกระทบต่อบุคลากรด้านสาธารณสุขและงบประมาณของรัฐ
1. การเพิม่ ภาระงานของบุคลากรด้านสาธารณสุข
- จานวนผู ป้ ่ วย
- การขยายบริการ
2. การสือ่ สารในการตรวจรักษา /การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์
3. ใช้งบประมาณในการดูแลสุขภาพในประชากรกลุม่ นีเ้ พิม่ มากขึน้ ในทุกปี
ความสาคัญของแรงงานต่ างด้ าวในสมุทรสาคร
“มีควำมจำเป็ นอย่ ำงมำกจนขำดไม่ ได้ ”
-เป็ นกาลังหลักในภาคอุตสาหกรรม การประมง หากไม่ มีกลุ่มนี้ มี
แนวโน้ มว่ าอุตสาหกรรมหลัก ๆ ในจังหวัดจะได้ รับผลกระทบมาก
- งานหลาย ๆ งานทีค่ นไทยไม่ ยอมทา ต้ องอาศัยประชากรกลุ่มนี้
- อัตราค่ าจ้ างในการทางานของต่ างด้ าวยังถูกกว่ าคนไทยมาก ยังไม่
เกีย่ งงาน และคุ้มค่ าการจ้ างงาน
มาตรการในการควบคุม
•
•
•
•
•
1) รณรงค์ให้แรงงานต่างด้าวทัง้ หมดเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพและประกันสุขภาพ
2) ฝึ กอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (อสต)
3) ขยายเครือข่ายการบริการสาธารณสุขในต่างด้าว
4) ให้บริการแบบเชิงรุก /การประชาสัมพันธ์
5) มีการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบแต่ละด้าน เช่น หน่วยงานด้าน
ความมัน่ คง อุ ตสาหกรรม จัดหางาน ฯลฯ ในเรือ่ งนโยบายและการดาเนินงานในพืน้ ที่