กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Download
Report
Transcript กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่ าด้ วยการ
ดําเนินคดีอาญาและการเปรียบเทียบผู้กระทําความผิด ตาม
กฎหมายว่ าด้ วยการคุ้มครองแรงงาน และความปลอดภัยใน
การทํางาน พ.ศ. 2554
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2554
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1
สรุ ปสาระสาคัญ
ให้ ยกเลิกระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่ าด้ วยการดําเนิน
คดีอาญา และการเปรียบเทียบผู้กระทําความผิดตามกฎหมายว่ าด้ วยการ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2547
บรรดาระเบียบ ข้ อบังคับ หรือคําสั่ งอืน่ ใดในส่ วนทีก่ าํ หนดไว้ แล้วในระเบียบ
นีห้ รือซึ่งขัด หรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ ใช้ ระเบียบนีแ้ ทน
ระเบียบนีใ้ ห้ ใช้ บังคับตั้งแต่ วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ น
ไป
พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 159 บัญญัติให้ บรรดา
ความผิด ตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เว้ นแต่ ความผิด
ตามมาตรา 157 เป็ นความผิด ทีส่ ามารถเปรียบเทียบได้ และพระราชบัญญัติ
คุ้มครองผู้รับงานไปทําทีบ่ ้ าน พ.ศ. 2553 มาตรา 49
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
2
สรุ ปสาระสาคัญ
บัญญัตใิ ห้ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทําที่บ้าน
พ.ศ.2553 เป็ นความผิด ทีส่ ามารถเปรียบเทียบได้ และพระราชบัญญัตคิ วาม
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554 มาตรา 71
บัญญัตใิ ห้ ความผิดตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554 ทีม่ อี ตั ราโทษจําคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือ
ปรับไม่ เกินสี่ แสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ เป็ นความผิดทีส่ ามารถเปรียบเทียบได้
โดยความผิดทีเ่ กิดขึน้ ในกรุ งเทพมหานคร ให้ เป็ นอํานาจของอธิบดีกรมสวัสดิการ
และคุ้มครองแรงงานหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน
มอบหมาย สํ าหรับความผิดทีเ่ กิดขึน้ ในจังหวัดอืน่ ให้ เป็ นอํานาจของผู้ว่าราชการ
จังหวัดหรือผู้ซึ่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3
สรุ ปสาระสาคัญ
และมาตรา 72 บัญญัติให้ ความผิดตามมาตรา 66 แห่ งพระราชบัญญัติ ความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. 2554 เป็ น
อํานาจของ คณะกรรมการเปรียบเทียบในการดําเนินคดีเปรียบเทียบ
เพือ่ ให้ การดําเนินคดีอาญาและการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. 2541 พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองผู้รับงานไปทําทีบ่ ้ าน พ.ศ. 2553 และ
พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน
พ.ศ. 2554 เป็ นไปโดยเรียบร้ อยและมีประสิ ทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความใน
มาตรา 32 แห่ งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่ง
แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.
2545 อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจึงวางระเบียบไว้ ตามประกาศนี้
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4
จบการนาเสนอ
กฎหมายสิ่งแวดล้ อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
5