ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

ก่ อนเกิดความขัดแย้ ง
ประเทศจีนกาลังเร่ งฝี เท้ า
ในการพัฒนาสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ จีนจึงให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้าน
พลังงานเพื่อใช้เป็ นฐานสาหรับการผลิต โดยมี
แผนที่จะสร้างเขื่อนขนาดใหญ่บนแม่น้ าสาย
ต่างๆ มากมายโดยมีแผนที่จะสร้างเขื่อนบนแม่น้ า
โขงถึง 14 เขื่อน
อย่ างไรก็ตาม แผนการสร้างเขื่อนบน แม่น้ าลาน
ซาง ในประเทศจีนที่เป็ นรู ปธรรมแล้วในขณะนี้มี
อยู่ 8 เขื่อน สร้างเสร็ จแล้วสองเขื่อน คือ เขื่อน
มานวานเริ่ มปั่นกระแสไฟฟ้ าได้เมื่อปี 2539
และเขื่อนต้าเฉาซาน สร้างเสร็ จเมื่อปี ที่แล้ว และ
ในขณะนี้กาลังก่อสร้างเขื่อนเซียววาน ซึ่ งมีความ
สูงถึง 300 เมตร เท่ากับตึก 100 ชั้น
นอกจากนีย้ งั เดินหน้ าก่ อสร้ างเขื่อนจิงฮง โดยจีน
ประเมินว่ าเขื่อนทั้ง 8 ทีเ่ รียงรายอยู่บนแม่ น้าโขง
ตอนบน (อีกสี่ เขือ่ นคือ เขือ่ นนัวจาตู้ เขือ่ นกงกว่ อ
เฉียว เขื่อนกันลันปา และเขื่อนเมงซอง จะสามารถ
ผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ ถึง 15,000 เมกะวัตต์ ซึ่งจะ
ป้ อนให้ กบั เมืองอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ทางชายฝัง่
ตะวันออกของจีน และบางส่ วนมีแผนจะขายไฟฟ้ า
ให้ กบั ประเทศไทยด้ วย
แม้ ว่ารัฐบาลจีน โดยธนาคารพัฒนาจีน จะดาเนินการลงทุน
เพื่อสร้างเขื่อนเองเป็ นส่ วนใหญ่ แต่กไ็ ด้รับการสนับสนุนใน
ด้านต่างๆจากแหล่งทุนอื่นๆ ด้วยเช่นกัน เช่น ธนาคารเอเชีย
พัฒนาเอเชียมีแผนที่จะให้เงินกูส้ าหรับการสร้างสายส่ ง
ไฟฟ้ า ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการโครงข่ายสายส่ งไฟฟ้ า
ในภูมิภาคแม่น้ าโขงโดยจะเชื่อมโยงสายส่ งจากเขื่อนจิงฮง
และเขื่อนนัวจาตูเ้ พื่อส่ งไฟฟ้ าออกไปขายยังภูมิภาค ซึ่ง
ประเทศไทยมีแผนที่จะรับซื้ อไฟฟ้ าจากเขื่อนเหล่านี้ดว้ ย
- เปลีย่ นวงจรการไหลของนา้ กระแสนา้ และปิ ด
กั้นการพัดพาของตะกอนในแม่ นา้ เป็ นการ
เปลีย่ นสภาพทางนิเวศวิทยาของแม่ นา้ อย่ าง
สุ ดโต่ ง และจะมีผลกระทบโดยตรงกับการใช้
แม่ นา้ ของประชาชนในประเทศจีนเอง และต่ อ
ประเทศในตอนล่าง คือพม่ า ลาว ไทย กัมพูชา
และเวียดนาม
- การเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญทีส่ ุ ด จะมาจากการ
เปลีย่ นแปลงการไหลของนา้ และวงจรการขึน้
ลงของกระแสนา้ ตามธรรมชาติ ซึ่งจะมี
ผลกระทบอย่ างรุ นแรงต่ อการเกษตร และการ
ประมง ที่เป็ นหัวใจสาคัญของการใช้ แม่ นา้ โขง
- การเก็บกักนา้ ในช่ วงฤดูฝนของเขือ่ นต่างๆ จะทาให้ ระดับ
นา้ ในแม่ นา้ โขงลดน้ อยลง มีผลกระทบกับการเดินทาง
และการวางไข่ ของปลา ในขณะเดียวกัน การปล่ อยนา้ ออก
จากเขือ่ นในฤดูแล้ ง จะเพิม่ ระดับนา้ ในแม่ นา้ ให้ มากกว่ า
ธรรมชาติ การทาการเกษตรริมฝั่งและเขตพืน้ ที่นา้ ท่ วมถึง
ของประเทศทางตอนล่ าง ซึ่งมีความหลากหลาย และ
พึง่ พาระบบนา้ ท่ วมตามธรรมชาติ ก็จะได้ รับความ
เสี ยหายอย่ างรุนแรง
- ประชาชนในเขตอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ตัง้ ข้ อสังเกตว่ าระดับนา้ ในแม่ นา้ โขงลดต่าลง นา้ ขุ่น
และการไหลของนา้ เปลี่ยนแปลงไป ความเสียหายที่
เห็นได้ ชัด และมีผลกระทบโดยตรงกับรายได้ ของ
ชาวบ้ านคือการที่สาหร่ ายนา้ จืด หรื อไก ซึ่งเป็ นพืชที่
ชาวบ้ านเก็บขายน้ อยลงมาก เนื่องจากไกต้ องการ
นา้ สะอาด และไหลอย่ างสม่าเสมอ
- ดร. ไทสัน โรเบิร์ต มริกา กล่ าวว่ าการสร้ างเขื่อนในจีน จะทาให้
ระบบการอุทกศาสตร์ ของทะเลสาปเขมร “เปลี่ยนแปลงไปอย่ าง
สิน้ เชิง” เนื่องจาก ในหน้ าฝน นา้ จากแม่ นา้ โขงจะหนุนให้ ระดับ
นา้ ในทะเลสาปเขมรสูงขึน้ และท่ วมเป็ นบริเวณกว้ าง กลายเป็ น
แหล่ งจับปลานา้ จืดที่สาคัญที่สุดแห่ งหนึ่งของโลก และในฤดูแล้ ง
นา้ จากทะเลสาปเขมรจะไหลลง กลับสู่สายนา้ โขง การสร้ างเขื่อน
จะทาให้ กระแสนา้ ไม่ เป็ นไปตามธรรมชาติ แต่ กลับมีปริมาณการ
ท่ วมแช่ ขังอยู่ตลอดปี
• 1. การเปลี่ยนแปลงวงจรนา้ ขึน้ -นา้ ลง
ส่ งผลกระทบอย่ างมากต่ อระบบนิเวศลุ่มแม่ นา้
โขงตอนล่ าง มีผลให้ การขึน้ ลงของนา้ ผิดธรรมชาติ
และปริมาณเฉลี่ยของนา้ เพิ่มขึน้ เป็ นสองเท่ าในฤดู
แล้ ง รวมทัง้ ธาตุอาหารที่พัดพามากับนา้ กว่ าครึ่งถูก
เก็บกักไว้
นอกจากกระทบต่ อการประมงโดยตรงแล้ ว
ยังมีผลต่ อการเกษตรริมฝั่ งที่ต้องพึ่งพาธาตุอาหาร
ซึ่งไหลมากับกระแสนา้ สะสมเป็ นปุ๋ยในดิน
• 2. การพังทลายชายฝั่ งแม่ นา้ โขง
การกัดเซาะพังทลายของชายฝั่ งแม่ นา้ โขงพบว่ าการพังทลายของ
ชายฝั่ งเร็วและรุ นแรงมากขึน้ นอกจากนี ้ ในระบบนิเวศลุ่มนา้ โขง
ที่มีแอ่ งนา้ ลึก คาดว่ าเป็ นที่อยู่อาศัยและหากินของปลาบึก ปลา
นา้ จืดที่ใหญ่ ท่ สี ุดในโลกและใกล้ สูญพันธุ์ การพังทลายของ
ชายฝั่ ง หน้ าดินตลอดลานา้ โขงได้ ทาให้ แอ่ งนา้ ลึกเหล่ านีต้ นื ้ เขิน
ซึ่งอาจจะสุ่มเสี่ยงต่ อการสูญพันธุ์ของปลาบึก
ประเทศที่ได้ รับผลกระทบ
ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม
ความขัดแย้ งแบบ Inter-state conflict
• การคัดค้ านจากภาคประชาสั งคม ในภูมิภาคแม่น้ าโขง และ
จากนานาประเทศ แต่รัฐบาลจีนก็ยงั คงเดินหน้าก่อสร้างเขื่อน
ในลุ่มน้ าโขงตอนบนต่อไป
• จีนได้ พยายามเจรจาเพือ่ แลกเปลีย่ นผลประโยชน์ กบั ประเทศ
ต่ างๆ ในลุ่มน้ าโขงตอนล่างด้วย เช่น การเจรจาซื้ อขายไฟฟ้ า
กับประเทศไทย การสนับสนุนการก่อสร้างถนนจากเมืองคุนห
มิงเข้าสู่ เชียงแสนและประเทศลาวตอนเหนือ และการลงทุน
ก่อสร้างเขื่อน หรื อแม้กระทัง่ การเจรจาข้อตกลงการค้าเสรี กบั
ประเทศในลุ่มน้ าโขงตอนล่าง
• ประเทศในลุ่มแม่ นา้ โขงตอนใต้ เริ่มตัง้ ข้ อวิจารณ์
เขื่อนที่ปิดกันล
้ าน ้าโขงทางตอนบน หรื อโครงการพัฒนา
ต่างๆ ที่สง่ ผลกระทบข้ ามพรมแดน หลายฝ่ ายได้ เรียกร้ อง
ให้ มีการพูดคุยเพื่อหาหนทางแก้ ไขปั ญหาของคนภายใน
ลุม่ น ้าเดียวกันอย่างรูปธรรม
• แม้ ว่าประเทศในแม่ นา้ โขงตอนล่ างสี่ประเทศ คือ
ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ได้ มีการรวมตัวกันใน
รู ปของคณะกรรมาธิการแม่ นา้ โขง เช่น Mekong
River Commision หรื อ MRC , คณะกรรมการ
JCCN และ อาเซียน แต่ยงั ไม่มีอานาจต่อรองกับจีนได้
เจรจาต่อรองกับจีน
เจรจาแบบทวิภาคี

รวมกลุ่มกันในรู ป
คณะกรรมการแม่น้ าโขง
รวมตัวเจรจาแบบทวิภาคี
ระดับภูมิภาค
Inter-state conflict
จีน

เวียดนาม
กัมพูชา

จัดตัง้
คณะกรรมการ
แม่น ้าโขงเพื่อ
เจรจา
พม่า

ลาว
ไทย
อาเซียน