File - ระบบเครือข่ายไร้สาย

Download Report

Transcript File - ระบบเครือข่ายไร้สาย

ระบบเครือข่ ายไร้ สาย
ระบบเครือข่ ายไร้ สาย
ประวัติ ระบบเครือข่ ายไร้ สาย
หลักการทางานของระบบ Wireless
LAN
ตัวอย่ างการ Setup ระบบ Wireless
LAN
รู ปแบบการเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ าย
ไร้ สาย
ระบบเครือข่ ายไร้ สาย
ระบบเครือข่ ายไร้ สาย
จัดทาโดย
นายเจษฎา สุ ขดิษฐ์ สชอ.2/1 เลขที่ 3
นายสายสรรค์ จันทร์ไสว สชอ.2/1 เลขที่ 16
ประวัติ ผูจ้ ดั ทา
• นาย เจษฎา สุ ขดิษฐ์ เลขที่ 3 สชอ.2/1
• ที่อยู่ บ้านเลขที่ 105/1 ต.แม่พลู อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์
53130
• เกิด วันที่ 16 มีนาคม 2535 อายุ 20
• เบอร์ติดต่อ 084-8862056
• E-mail : [email protected]
ประวัติ ผูจ้ ดั ทา
• นาย สายสรรค์ จันทร์ไสว เลขที่ 16 สชอ.2/1
• ที่อยู่ บ้านเลขที่ 189/18 ต.ท่าเสา อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์
53000
• เกิด วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2534 อายุ 20
• เบอร์ติดต่อ 084-2381995
• E-mail : [email protected]
ระบบเครือข่ ายไร้ สาย
แลนไร้ สาย หรื อ ไวเลสแลน คือ เทคโนโลยีที่เชื่อมอุปกรณ์
ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยใช้วธิ ีการกระจายแบบไร้สาย
(ส่ วนใหญ่แล้ว จะใช้ spread-spectrum หรื อคลื่นวิทยุ OFDM)
จะมีการเชื่อมต่อผ่านทาง Access Point เพื่อเข้าไปยังโลก
อินเตอร์เน็ต
แลนไร้ สายทาให้ผใู ้ ช้สามารถนาพาหรื อเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไป
ยังพืน้ ทีใ่ ดก็ได้ ที่มีสัญญาณของแลนไร้สาย
ประวัติ ระบบเครื อข่ายไร้สาย
ระบบเครื อข่ายไร้สาย (Wireless LAN) ใช้ ครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1971
บนเกาะฮาวาย โดยโปรเจกต์ ของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาวาย ที่ชื่อว่า
“ALOHNET” ขณะนั้นลักษณะการส่ งข้อมูลเป็ นแบบ Bi-directional
ส่ งไป-กลับง่ายๆ ผ่านคลืน่ วิทยุ สื่ อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ 7 เครื่ อง ซึ่ง
ตั้งอยูบ่ นเกาะ 4 เกาะโดยรอบ และมีศูนย์กลางการเชื่อมต่ออยูท่ ี่เกาะๆหนึ่ง
ที่ชื่อว่า Oahu
หลักการทางานของระบบ Wireless LAN
การทางานจะมีอุปกรณ์ในการส่ งสัญญาณ และกระจายสัญญาณ
หรื อที่เราเรี ยกว่า Access Point และมี PC Card ที่เป็ น LAN card
สาหรับในการเชื่อมกับ Access point
โดยเฉพาะ การทางานจะใช้คลื่นวิทยุเป็ นการรับส่ งสัญญาณ โดยมี
ให้เลือกใช้ต้ งั แต่ 2.4 to 2.4897 Ghz และสามารถเลือก config ใน
Wireless Lan (ภายในระบบเครื อข่าย Wireless Lan ควรเลือก
ช่องสัญญาณเดียวกัน)
ตัวอย่างการ Setup ระบบ Wireless LAN
การ setup อย่างง่ายๆ เพื่อทดลองการเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์ชิ้น
ต่างๆ นั้น แนะนาให้ลองใช้ Setup Wizard โดยเฉพาะการ Setup ของ
D-Link DWL-2000AP+ ที่ผมนามาเป็ นตัวอย่างในครั้งนี้ ไม่ตอ้ งลง
software อะไรเลย
ขั้นตอนที่ 1
หลังจากที่แกะกล่องออกมาแล้ว ก็จดั การเสี ยบสาย Power เข้ากับ
ตัว Wireless Access Point ทันที พร้อมทั้งเสี ยบสาย LAN เพื่อเชื่อมต่อ
ระหว่าง Wireless Access Point กับเครื่ องคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ 2
ต่อไปก็จะเป็ นการตั้งค่าตัว Wireless Access Point กันบ้าง
ขั้นแรกเลยก็ให้เปิ ด Web Browser ขึ้นมา ในที่น้ ีขอใช้ Microsoft
Internet Explorer จากนั้นก็พิมพ์ 192.168.0.50 ไปที่ช่อง Address
ตามรู ปแล้วก็กด Enter
ขั้นตอนที่ 3
หลังจากนั้นก็จะมี Windows เล็กๆโผล่ข้ ึนมา ถามUsername
และ password สาหรับ Wireless Access Point ของ D-Link ที่
เพิ่งแกะกล่องออกมา จะตั้งค่า Username เป็ น admin แต่ไม่มี
password ทีน้ ีเราก็ป้อน admin ไปในช่อง Username แล้วก็
คลิ๊กปุ่ ม OK
หน้าจอหลัก ตอนนี้เราจะเริ่ ม Setup ขั้นแรกให้ลองคลิ๊กที่
Setup Wizard ดู
ขั้นตอนที่ 4
คลิ๊ก
ขั้นตอนที่ 5
หน้าจอ Setup Wizard จะบอกเราว่า อย่างน้อยเราควรที่ผา่ น 4
ขั้นตอนในการ Setup คือ เปลี่ยน Password, การตั้งชื่อ SSID และ
Channel, ตั้งการเข้ารหัสข้อมูล หลังจากนั้นก็ restart
ขั้นตอนที่ 6
เปลี่ยน Password
ขั้นแรก ที่จะต้องทาคือ เปลี่ยน Password ซะก่อนโดยพยายาม
เลือก Password ที่ไม่ง่ายในการเดาเกินไปนัก
ขั้นตอนที่ 7
หลังจากนั้นก็คือการ
เปลี่ยนชื่อ SSID ซึ่งก็คือ
ระบบ Network ไร้สาย
หรื อเรี ยกย่อๆว่า WLAN
(Wireless Local Area
Network) การตั้งชื่อ SSID
นี้ เราสามารถตั้งเป็ นอะไร
ก็ได้ แต่ตอ้ งไม่เกิน 32
ตัวอักษร
ขั้นตอนที่ 8
ต่อไปก็คือการเลือก Channel อะไรคือแชนแนล? Channel นั้น คิด
ง่ายๆก็เหมือนคลื่นความถี่วิทยุนี่เอง พอคลิ๊กลงไปที่ Drop Down Menu
ก็จะเห็นว่ามีถึง 13 Channel ให้เลือก ค่าที่ต้ งั มาจากโรงงานก็คือ 6 เรา
สามารถเปลี่ยนเป็ น Channel อะไรก็ได้ในภายหลัง
เลือกเมือ่ ต้ องการ ตัง้ รหัส
สาหรับการ ป้องกันการต่ อ
อินเตอร์ เน็ต จากผู้อ่ ืน
ตั้งรหัส สาหรับการ ป้ องกัน
การต่ อ อินเตอร์ เน็ต จากผู้อ่ นื
ขั้นตอนที่ 9
ต่อไปก็คือการ set ค่า WEP WEP ย่อมาจาก Wired Equivalent
Privacy แปลเป็ นไทยได้วา่ ความปลอดภัยหรื อความเป็ นส่ วนตัวเสมือน
ระบบที่ใช้สาย นัน่ เอง ในขั้นต้นนี้ จะปล่อยให้เป็ นค่า Default ที่ต้ งั มา
จากโรงงาน คือ Disabled แต่ถา้ ต้องการ ให้เลือกที่ Enabled แล้วตั้ง
รหัสป้ องกัน
ขั้นตอนที่ 10
หลังจากคลิ๊ก Apply แล้ว ก็จะมีหน้าจอขึ้นมาบอกว่า
กาลัง restart Wireless Access Point อยู่
ขั้นตอนที่ 11
คลิ๊ก Continue
จากนั้นก็ให้ปิด
Web Browser ได้
เลย
ขั้นตอนที่ 12
ต่อมาก็คือการ setup ตัวเครื่ องลูกข่ายกันบ้าง จะลองใช้เครื่ อง
Notebook ของ Compaq Presario X1012AP เป็ นตัวทดลอง เพราะรุ่ นนี้มี
802.11b Wireless LAN ติดตั้งมาพร้อมไม่ตอ้ งหาซื้ออุปกรณ์ต่อพ่วง
ขั้นตอนที่ 13
ทางมุมขวาล่างของหน้าจอจะเห็นรู ปจอซ้อนกัน
สองจอ ซึ่ งเป็ น icon ของ Wireless LAN อันนึง
และของ LAN แบบมีสายอีกอันนึง
ขั้นตอนที่ 14
วิธีการต่อไป เพียงแค่เปิ ดสวิทซ์ Wireless
LAN ที่ตวั Notebook อย่างในรู ปจะเห็น
ไฟสี ฟ้าทางด้านหน้าของเครื่ อง แสดงว่า
Wireless LAN ได้ถูกเปิ ดแล้ว คราวนี้จะ
เห็นว่า Notebook ได้เจอระบบ Wireless
LAN ของเราแล้ว แต่กจ็ ะเตือนว่าระบบ
ของเราไม่ปลอดภัย พร้อมทั้งถามว่า
แน่ใจที่จะ connect ให้กด connect
ขั้นตอนสุ ดท้ าย
เสร็ จแล้วครับ ง่ายไหมครับ จะเห็นที่ Icon ได้
เปลี่ยนไป พร้อมทั้งแจ้งว่าการเชื่อมต่อสมบูรณ์
แล้วครับ
รู ปแบบการเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ ายไร้ สาย
Peer-to-peer ( ad hoc mode )
รู ปแบบการเชื่อมต่อระบบแลนไร้สายแบบ Peer to Peer เป็ น
ลักษณะ การเชื่อมต่อแบบโครงข่ ายโดยตรงระหว่ างเครื่องคอมพิวเตอร์
จานวน 2 เครื่ องหรื อมากกว่านั้น เป็ นการใช้งานร่ วมกันของ wireless
adapter cards โดยไม่ได้มีการเชื่อมต่อกับเครื อข่ายแบบใช้สายเลย
Client/server (Infrastructure mode)
ระบบเครื อข่ายไร้สายแบบ Client / server หรื อ Infrastructure
mode เป็ นลักษณะการรับส่ งข้อมูลโดยอาศัย Access Point (AP) หรื อ
เรี ยกว่า “Hot spot” ทาหน้าที่เป็ นสะพานเชื่อมต่ อระหว่ างระบบ
เครือข่ ายแบบใช้ สายกับเครื่ อง คอมพิวเตอร์ลูกข่าย (client)
Multiple access points and roaming
โดยทัว่ ไปแล้ว การเชื่อมต่อสัญญาณระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์
กับ Access Point จะอยูใ่ นรัศมีประมาณ 500 ฟุต ภายในอาคาร และ
1000 ฟุต หากสถานที่ที่ติดตั้งมีขนาดกว้าง มากๆ เช่น บริ เวณภายใน
มหาวิทยาลัย จะต้องมีการเพิม่ จุดการติดตั้ง AP ให้มากขึ้น เพื่อให้การ
รับส่ งสัญญาณในบริ เวณของเครื อข่ายขนาดใหญ่
Use of an Extension Point
กรณี ที่โครงสร้างของสถานที่ติดตั้งเครื อข่ายแบบไร้สายมีปัญหา
ผูอ้ อกแบบระบบ อาจจะใช้ Extension Points ที่มีคุณสมบัติเหมือนกับ
Access Point แต่ไม่ตอ้ งผูกติดไว้กบั เครื อข่ายไร้สาย เป็ นส่ วนที่ใช้
เพิม่ เติมในการรับส่ งสัญญาณ
The Use of Directional Antennas
ระบบแลนไร้สายแบบนี้เป็ นแบบใช้ เสาอากาศในการรับส่ ง
สัญญาณระหว่าง อาคารที่อยูห่ ่างกัน โดยการติดตั้งเสาอากาศทีแ่ ต่ละ
อาคาร เพื่อส่ งและรับสัญญาณระหว่างกัน
การเชื่อมต่ อของระบบเครือข่ าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Ad-hoc หรื อ Peer to Peer
เป็ นการสื่ อสารข้อมูลระหว่างเครื่ องคอมพิวเตอร์ไร้สายและอุปกรณ์
ต่าง ๆ ตั้งแต่สองเครื่ องขึ้นไป โดยที่ไม่มีศูนย์กลางควบคุมอุปกรณ์ทุก
เครื่ องสามารถสื่ อสารข้อมูลถึงกันได้เอง
2. การเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)
โครงสร้างการเชื่อมโยงระบบแบบ Infrastructure หรื อ Client /
Server มีขอ้ พิเศษกว่าระบบแบบ Ad-hoc ตรงที่มีแอ็กเซสพอยน์เป็ น
ศูนย์กลางการเชื่อมโยง (ทาหน้าที่คล้ายฮับ) และเป็ นสะพานเชื่อมเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ไร้สายอุปกรณ์ไวร์เลสแลนเข้าสู่เคลือข่ายอีเธอร์เน็ตแลน
หลัก (Ethernet Backbone)
ระยะทางการเชื่อมต่ อของระบบ Wireless LAN
ภายในอาคาร
1. ระยะ 50 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 11 Mbps
2. ระยะ 80 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 5.5 Mbps
3. ระยะ 120 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 2 Mbps
4. ระยะ 150 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 1 Mbps
ภายนอกอาคาร
1.ระยะ 250 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 11 Mbps
2. ระยะ 350 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 5.5 Mbps
3. ระยะ 400 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 2 Mbps
4. ระยะ 500 เมตร ได้ความเร็ วประมาณ 1 Mbps
ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายไร้สาย
• 1. มีความคล่องตัวสู ง
• 2. สามารถติดตั้งได้ ง่ายและรวดเร็ว เพราะไม่ตอ้ งเสี ยเวลาติดตั้งสายเคเบิล
• 3. สามารถขยายระบบเครือข่ ายได้ ง่าย
• 4. ลดค่ าใช้ จ่ายโดยรวม
• 5. ไร้สายทาให้องค์ กรสามารถปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่าย
ข้อดีและข้อเสี ย แลนไร้สาย
ข้ อดี
1. ช่วยลดปัญหาในการติดตั้งระบบเครื อข่าย
2. ช่วยลดปัญหาในการวางสายระบบเครื อข่าย
3. ไม่ตอ้ งใช้สาย cable
4. ช่วยให้เกิดความเป็ นระเบียบ เรี ยบร้อย
ข้อดีและข้อเสี ย แลนไร้สาย
ข้ อเสี ย
1. มีอตั ราการลดทอนสัญญาณสู ง นัน่ หมายความว่า “ ส่ งสัญญาณได้ระยะสั้น ”
2. มีสัญญาณรบกวนสูง
3. ต้องแชร์ กนั ใช้ช่องสัญญาณคลื่นความถี่เดียวกัน
4. ยังมีหลายมาตรฐาน ตามผูผ้ ลิต แต่ละราย ทาให้ มีปัญหา ในการ ใช้งาน ร่ วมกัน
5. มีความเร็ วไม่สูงมากนัก
จบการนาเสนอ