powerpiont การควบคุมภายในของกองทุนชุมชน

Download Report

Transcript powerpiont การควบคุมภายในของกองทุนชุมชน

การควบคุมภายใน
(Internal
Control) คือ
่ คลากรใน
กระบวนการปฏิบต
ั งิ านทีบุ
องค ์กรโดยกรรมการบริหาร
ผู บ
้ ริหารทุกระด ับ และพนักงานทุกคนมี
บทบาทร่วมกันใน
่
่ น
่
การจัดให้มข
ี นเพื
ึ้
อสร
้างความเชือมั
การควบคุมภายใน มีวต
ั ถุประสงค ์ 3 ประการ
่
่
1. เพือเพิ
มประสิ
ทธิภาพและประสิทธิผลของการ
ปฏิบต
ั งิ าน (Effectiveness and Efficiency of
operations) มุ่งเน้นให้มก
ี ารใช้
ทร ัพยากรขององค ์กรในการดาเนิ นงานอย่างประหยัดและ
คุม
้ ค่า
่ อได้ของรายงานทางการเงิน
2. ความเชือถื
(Reliability of financial
reporting)
3. การปฏิบต
ั ต
ิ ามกฎหมายและกฎระเบียบ
(Compliance with
่
องค ์ประกอบของการควบคุมภายในตามแนวคิดของ
COSO มี 5 ประการ
1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control
Environment)
่
2. การประเมินความเสียง
(Risk Assessment)
3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)
่
4. ข้อมู ลสารสนเทศและการสือสาร
(Information
and communication)
5. การติดตามประเมินผล (Monitoring)
่ งผลกระทบต่อประสิทธิภาพ
ปั จจัยทีส่
ของสภาพแวดล้อมการควบคุม
่ ตย ์และจริยธรรม (Integrity and
1. ความซือสั
Ethical
Values)
3. การมี
ส่วนร่
วมของคณะกรรมการบริหารและ
2. ความรู ้ความสามารถในการปฏิบต
ั งิ าน
คณะกรรมการตรวจสอบ
(Commitment
to Competence)
(Board
of Directors
and Audit
4. ปร ัชญาการบริหารและรู ปแบบการปฏิบต
ั งิ าน
Committee Participation)
(Management’s Philosophy
5. and
โครงสร
้างการจัดองค
์กร
Operating
Style)
(Organizational Structure)
6. วิธม
ี อบอานาจและความร ับผิดชอบ
(Assignment of Authority
7. นโยบายด้านทร ัพยากรมนุ ษย ์ (Human
and Responsibility)
Resource Policies and
Practices)
1. การกาหนดวัตถุประสงค ์
(Objectives)
่ (Risk
2. การระบุปัจจัยความเสียง
Identification)
่ (Risk
3. การวิเคราะห ์ความเสียง
Analysis)
 การกาหนดนโยบายและแผนงาน (Policies and
Plans)
 การสอบทานโดยผู บ
้ ริหาร (Management
Review)
 การประมวลผลข้อมู ล (Information
Processing)
 การควบคุมทางกายภาพ (Physical Control)
 การแบ่งแยกหน้าที่ (Segregation of Duties)
 ดัชนี วด
ั ผลการดาเนิ นงาน (Performance
Indicators)
 การจัดทาเอกสารหลักฐาน (Documentation)
1. ข้อมู ล
สารสนเทศ
2. การ
่
สือสาร
1. การติดตาม
เป็ นการควบคุม และกากับดู แล
ของฝ่ายบริหาร
่ ดตามตรวจสอบผล
เพือติ
ความก้าวหน้าของการ
ดาเนิ นงาน
2. การประเมินผล
ควร
ง่ าย
1. ไม่เสียค่าใช้จา
่ ยเกิน
่ าคัญ
2. ควบคุมในจุดทีส
3. เหมาะสมและเข้าใจ
4. สอดคล้องกับ
กองทุนชุมชนต้องจัดให้มรี ะบบ
่ โดยให้
การควบคุมภายในทีดี
แทรกอยู ่ในกระบวนการปฏิบต
ั งิ าน
ตามปกติ และต้องสร ้างจิตสานึ ก
กระตุน
้ ให้กรรมการกองทุน
ตระหนักถึงความสาคัญของการ
ควบคุมภายใน
่
 มีการจัดแบ่งส่วนงานช ัดเจน & กาหนดเป็ นหน้าทีและ
ความร ับผิดชอบของผู ป
้ ฏิบต
ั งิ าน
่ ด)
 มีการตรวจสอบภายใน (ทางานด้วยความอิสระมากทีสุ
 มีการกาหนดอานาจในการอนุ มต
ั ริ ายการอย่างเหมาะสม
(รายการสาค ัญ/วงเงินสู งควรมีการประชุมคณะกรรมการ
ลงมติอนุ มต
ั )ิ
่ าให้มนใจว่
่ั
 มีกระบวนการทางานทีท
า การทารายการต่าง ๆ
ถู กต้อง
(สอบทานทัง้ ก่อน ระหว่าง และหลัง เกิดรายการค้า)
 เอกสารประกอบการบันทึกบัญชี ครบถ้วน ถู กต้อง (กาหนด
่ าด ับ ก่อนหลัง)
เลขที/ล
่
 มีการดู แลร ักษาทร ัพย ์สินทีดี
่
(เก็บไว้ในทีปลอดภั
ย + มีทะเบียนคุม + มีการแบ่งแยก
่
หน้าทีระหว่
างคนอนุ มต
ั ิ คนปฏิบต
ั ิ
ช่วยดู แลร ักษาทร ัพย ์สิน
ของกองทุนชุมชน
ช่วยให้การดาเนิ นงานมี
ประสิทธิภาพ
รายงานทางการเงิน
่ อ
น่ าเชือถื
ระบบการควบคุมภายในกองทุนชุมชน
แบ่งออกเป็ น 3 ด้าน ประกอบด้วย
1) การควบคุมด้านบัญชี
2) การควบคุมด้านบริหาร
่
3) การควบคุมเฉพาะเรือง
่
วัตถุประสงค ์ของการควบคุม เพือให้
่
มันใจว่
า
1. การจัดทาบัญชีและงบการเงินเป็ นไปตามระเบียบ
่ อ
กองทุนชุมชน รวมถึงมีความถูกต้องและเชือถื
ได้
ั ใิ นการจัดทาบัญชี
2. นโยบายการบัญชีทถื
ี่ อปฏิบต
เป็ นไปตามหลักการบัญชี
่
ทีร่ ับรองทัวไป
3. การแสดงรายการในงบการเงินเป็ นไปตาม
่
1. กาหนดนโยบายการบัญชีไม่เหมาะสม
2. ไม่มก
ี ารควบคุมเอกสารทางบัญชี ทาให้มเี อกสารสู ญหาย
เสียหาย
3. เอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไม่สมบู รณ์ ไม่ถูกต้อง
หรือไม่ครบถ้วน
4. บันทึกรายการบัญชีโดยไม่ผ่านการอนุ มต
ั จ
ิ ากผู ม
้ อ
ี านาจ
5. การบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็ นไปตามระเบียบ
กองทุนชุมชน
6. การบันทึกบัญชี การจัดทาบัญชีย่อยและทะเบียนต่าง ๆ ไม่
เรียบร ้อย ไม่เป็ นปั จจุบน
ั
่
7. ยอดรวมบัญชีย่อยไม่ถูกต้องตรงก ับบัญชีแยกประเภททัวไป
(บัญชีคม
ุ ยอด) เป็ นประจา
่ นสากล
8. การจัดทางบการเงินไม่เป็ นไปตามรู ปแบบทีเป็
9. การเปิ ดเผยข้อมู ลในงบการเงินไม่เพียงพอ
ตัวอย่าง เช่น
- มีการกาหนดนโยบายการบัญชี
- มีการกาหนดผู ร้ ับผิดชอบเก็บร ักษาเอกสารทางบัญชี
- มีการอนุ มต
ั ก
ิ ารเบิกใช้เอกสารทางบัญชีโดยผู ม
้ อ
ี านาจ
- มีการจัดทาทะเบียนคุมเอกสารทางบัญชีแต่ละประเภทเป็ นปั จจุบน
ั
่ ล่วงหน้า และใช้เอกสาร
- เอกสารทางบัญชีมก
ี ารเรียงลาดับเลขทีไว้
้
นันโดย
่
- มีการอนุ มต
ั โิ ดยผู ม
้ อ
ี านาจก่อนทีจะบั
นทึกรายการบัญชี
- มีการจัดทาบัญชีเรียบร ้อย เป็ นปั จจุบน
ั มีเอกสารประกอบการบันทึก
บัญชีสมบู รณ์ ถู กต้อง ครบถ้วน
- มีการตรวจสอบความถู กต้องในการบันทึกบัญชีและการผ่านรายการ
่
ไปบัญชีแยกประเภททัวไป
บัญชีย่อยและทะเบียนต่าง ๆ สม่าเสมอ
- มีการเปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยให้ถูกต้องตรงก ับบัญชีคุมยอด
- มีการตรวจสอบยอดคงเหลือตามบัญชีกบ
ั เอกสารจาก
บุคคลภายนอก
- มีการจัดทางบทดลองประจาเดือน
การควบคุมด้านบริหารจัดการของกองทุ น
ชุมชน แบ่งเป็ น 4 ด้าน
1) การควบคุมด้านการจัดการ
2) การควบคุมด้านทร ัพยากรบุคคล
3) การควบคุมด้านการปฏิบต
ั ต
ิ าม
กฎหมาย ข้อบังคบ
ั
ระเบียบและนโยบาย
1. การจัดแบ่งส่วนงานภายในกองทุนชุมชนเป็ นไปอย่าง
เหมาะสม
่
2. การแบ่งแยกหน้าทีความร
ับผิดชอบของกรรมการ
กองทุนชุมชนเป็ นไปอย่างเหมาะสม
3. การกาหนดระเบียบของกองทุนชุมชนครอบคลุมการ
ดาเนิ นงานและการดาเนิ นธุรกิจ
ทุกด้าน รวมถึง
่ าหนดในระเบียบของ
เป็ นไปตามว ัตถุประสงค ์ทีก
กองทุนชุมชน
4. การบริหารบุคลากรของกองทุนชุมชนเป็ นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ
5. การกาหนดนโยบาย แผนงาน หรือเป้ าหมายและ
งบประมาณประจาปี เป็ นไปอย่างช ัดเจน เหมาะสมและ
สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบน
ั
6. การปฏิบต
ั งิ านของกรรมการกองทุนชุมชนเป็ นไป
่
1. การจัดแบ่งส่วนงานภายในกองทุนชุมชนไม่เหมาะสม
่
2. การแบ่งแยกหน้าทีความร
ับผิดชอบของกรรมการกองทุนชุมชนเป็ นไปอย่างไม่เหมาะสม
่
หรือไม่ได้คานึ งถึงการควบคุมภายในทีดี
3. การกาหนดระเบียบของกองทุนชุมชนไม่ครอบคลุมการดาเนิ นงานและการดาเนิ นธุรกิจ
่ าหนดใน ข้อบังคับกองทุนชุมชน
ทุกด้าน หรือไม่เป็ นไปตามว ัตถุประสงค ์ทีก
่
่ าหนดในระเบียบของกองทุนชุมชน
4. มีการดาเนิ นการทีนอกเหนื
อจากว ัตถุประสงค ์ทีก
5. การบริหารทร ัพยากรบุคคลของกองทุนชุมชนไม่มป
ี ระสิทธิภาพ
6. การกาหนดนโยบาย แผนงาน หรือเป้ าหมายและงบประมาณประจาปี ไม่ช ัดเจน ไม่
เหมาะสม และไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบน
ั
่ าหนด
7. กรรมการกองทุนชุมชนละเว้น หรือไม่ปฏิบต
ั ใิ ห้เป็ นไปตามระเบียบ และนโยบายทีก
8. กรรมการการเงินทาหน้าทีร่ ับ – จ่ายและเก็บร ักษาเงินและบันทึกบัญชี (บุคคลเดียวทา
หลายหน้าที)่
9. ร ับเงินแล้วไม่บน
ั ทึกบัญชี หรือบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน
่
10. บันทึกการร ับเงินตากว่
าจานวนเงินทีร่ ับจริง
่ าหนด
11. เก็บร ักษาเงินสดในมือเกินกว่าวงเงินทีก
่ ดขึนไม่
้
12. รายจ่ายทีเกิ
ใช่รายจ่ายของกองทุนชุมชน
13. จ่ายเงินโดยไม่ผา
่ นการอนุ มต
ั จ
ิ ากผู ม
้ อ
ี านาจ ไม่มห
ี ลักฐานการจ่าย จ่ายเงินซา้ หรือ
จ่ายเงินเกิน
่ ายจริง
14. บันทึกการจ่ายเงินสู งกว่าจานวนเงินทีจ่
แนวทางการควบคุมด ้านการ
จัดการ
ต ัวอย่าง เช่น
- มีการจัดแบ่งส่วนงานภายในเหมาะสมกับขนาด ปริมาณธุรกิจ
และลักษณะการดาเนิ นธุรกิจ
่
- มีการแบ่งแยกหน้าทีความร
ับผิดชอบของกรรมการในตาแหน่ ง
่ าหนดอย่างเหมาะสม โดยคานึ งถึงการ
ต่าง ๆ ตามส่วนงานทีก
่
ควบคุมภายในทีดี
่
- มีการกาหนดระเบียบของกองทุนชุมชนอย่างช ัดเจน เพือใช้
เป็ นแนวทางในการปฏิบต
ั ใิ ห้ครอบคลุมการดาเนิ นงานและการดาเนิ น
ธุรกิจทุกด้าน
- มีการแจ้งเวียนให้กรรมการทราบและถือปฏิบต
ั ใิ ห้เป็ นไปตาม
่ าหนด
ระเบียบของกองทุนชุมชนทีก
่
- มีการสับเปลียนหมุ
นเวียนกรรมการในตาแหน่ งต่าง ๆ เป็ นครง้ั
คราวตามความเหมาะสม
- มีการพัฒนาความรู ้ ความสามารถ และทักษะในการ
แนวทางการควบคุมด ้านการปฏิบต
ั ต
ิ าม
กฎหมาย
ระเบี
ย
บและนโยบาย
ตัวอย่าง เช่น
่ ร้ ับเงินในเอกสารการร ับเงิน
• มีการลงลายมือชือผู
• กรณี ยกเลิกการร ับเงินได้นาต้นฉบับมาแนบติดไว้ก ับสาเนา
ครบถ้วนและประทับตรา “ยกเลิก”
• มีการจัดทาทะเบียนคุมเอกสารการร ับเงินเป็ นปั จจุบน
ั
้ งทีจ่
่ ายเป็ นเงินสดได้อย่างเหมาะสม
• มีการกาหนดวงเงินขันสู
• มีการตรวจสอบความครบถ้วน ถู กต้องของเอกสารการ
จ่ายเงิน
• มีการอนุ มต
ั จ
ิ า
่ ยเงินโดยผู ม
้ อ
ี านาจและเป็ นไปตามระเบียบของ
กองทุนชุมชน
่ ร้ ับเงินและประทับตรา “จ่ายแล้ว” ใน
• มีการลงลายมือชือผู
เอกสารการจ่ายเงิน
• มีการจัดทาทะเบียนคุมเอกสารการจ่ายเงินเป็ นปั จจุบน
ั
2. การควบคุมด้านการ
บริหารธุรกิจ
แบ่งได ้เป็ น 3 ด ้าน ได ้แก่
ิ เชอ
ื่
1. การควบคุมด ้านธุรกิจสน
ิ ค ้ามา
2. การควบคุมด ้านธุรกิจจัดหาสน
จาหน่าย
3. การควบคุมด ้านธุรกิจเงินรับฝาก
่
การควบคุมด้านธุรกิจสินเชือ
่ ้มันใจว่
่
วัตถุประสงค ์ของการควบคุม เพือให
า
่ ประสิทธิภาพ
1. การควบคุมภายในด ้านธุรกิจสินเชือมี
่ นไปตามระเบียบของ
2. การดาเนิ นธุรกิจสินเชือเป็
่ าหนด
กองทุนชุมชนและแผนงาน หรือเป้ าหมายทีก
่
3. การบันทึกรายการบัญชีเกียวกั
บธุรกิจสินเชือ่
เป็ นไปอย่างถูกต ้อง ครบถ ้วน
้ นให ้กู ้คงเหลือมีอยูจ
4. ลูกหนี เงิ
่ ริงและสิทธิเรียกร ้อง
เป็ นของกองทุนชุมชน
ฯลฯ
่
การควบคุมด้านธุรกิจสินเชือ
้
่
ดขึน
ข้อผิดพลาดทีอาจเกิ
่
่ เป็ นไปตาม
1. การให ้สินเชือแก่
สมาชิก หรือกองทุนชุมชนอืนไม่
ระเบียบของกองทุนชุมชน
่ เป็ นไปตามแผนงาน หรือเป้ าหมาย
2. การดาเนิ นธุรกิจสินเชือไม่
่ าหนด
ทีก
่ าหน้าทีจ่่ ายเงินให ้กู ้ ร ับชาระหนี และบั
้
3. กรรมการสินเชือท
นทึก
้ นให ้กู ้
บัญชียอ
่ ยลูกหนี เงิ
่
ม
4. จ่ายเงินให ้กู ้โดยไม่ผ่านการอนุ มต
ั จิ ากทีประชุ
คณะกรรมการเงินกู ้
่ ้ร ับอนุ มต
5. จ่ายเงินให ้กู ้เกินกว่าวงเงินทีได
ั ิ
6. จ่ายเงินให ้กู ้โดยไม่มห
ี ลักประกันการกู ้เงิน หรือหลักประกัน
การกู ้เงินไม่เป็ นไปตาม
ระเบียบของกองทุนชุมชน
่
การควบคุมด้านธุรกิจสินเชือ
่
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมด้านธุรกิจสินเชือ
้
่
- มีการเปรียบเทียบยอดรวมบัญชียอ
่ ยลูกหนี การค
้าให ้ถูกต ้องตรงกับ บัญชีแยกประเภททัวไป
กรณี ทพบข
ี่
้อแตกต่างให ้ค ้นหาสาเหตุ
้
- มีการขอยืนยันยอดลูกหนี การค
้าอย่างน้อยปี ละ 1 ครง้ั
้
้ ทางบัญชีในอัตราทีก
่ าหนดตาม
- มีการคานวณค่าปร ับลูกหนี การค
้าค ้างร ับ ณ วันสินปี
ระเบียบของกองทุนชุมชน
่ เคลือนไหว
่
่
- มีการจัดทารายงานสินค ้าคงเหลือและรายงานสินค ้าทีไม่
เสนอทีประชุ
ม
คณะกรรมการดาเนิ นการอย่างสม่าเสมอ
่
- มีการเก็บสินค ้าเสือมสภาพ/ช
ารุด/ล ้าสมัย แยกจากสินค ้าปกติ
้
- มีการแต่งตังคณะกรรมการตรวจนั
บสินค ้าคงเหลือ
้
- ไม่ตรวจนับสินค ้าต่อไปนี รวมเป็
นสินค ้าคงเหลือ
-สินค ้าร ับฝากขาย
-วัสดุทมี
ี่ ไว ้ใช ้ในสานักงานและโรงงาน
่ ญชีขายแล ้ว แต่ผูซ
-สินค ้าทีลงบั
้ อยั
ื ้ งไม่ได ้ร ับสินค ้าไป
่ ้ร ับแล ้ว แต่ยงั ไม่ได ้บันทึกบัญชีซอในปี
-สินค ้าทีได
ื้
ปัจจุบน
ั
การควบคุมด้านธุรกิจจัดหาสินค้า
มาจาหน่ าย
่ ้มั่นใจว่า
วัตถุประสงค ์ของการควบคุม เพือให
1. การควบคุมภายในด ้านธุรกิจจัดหาสินค ้ามาจาหน่ ายมีประสิทธิภาพ
2. การดาเนิ นธุรกิจจัดหาสินค ้ามาจาหน่ ายเป็ นไปตามระเบียบของ
กองทุนชุมชนและแผนงาน
่ าหนด
หรือเป้ าหมายทีก
่
3. การบันทึกรายการบัญชีเกียวกั
บธุรกิจจัดหาสินค ้ามาจาหน่ ายเป็ นไป
อย่างถูกต ้องครบถ ้วน
้
4. ลูกหนี การค
้าคงเหลือมีอยู่จริงและสิทธิเรียกร ้องเป็ นของกองทุนชุมชน
์
5. สินค ้าคงเหลือมีอยู่จริงและเป็ นกรรมสิทธิของกองทุ
นชุมชน
้ าเผือหนี
่
้ ยจะสูญไว ้ในจานวนทีเพี
่ ยงพอสาหร ับการ
6. มีการตังค่
สงสั
่
ขาดทุนทีอาจเกิ
ดขึน้
และเป็ นไปตามระเบียบของกองทุนชุมชน
้ ญและการตัดสินค ้าขาดบัญชี หรือสินค ้า
7. การตัดจาหน่ ายหนี สู
่
เสือมสภาพ/ช
ารุด/ล ้าสมัยเป็ นไปตามระเบียบกองทุนชุมชน
การควบคุมด้านธุรกิจจัดหาสินค้า
มาจาหน่ าย
่
้
ข้อผิดพลาดทีอาจเกิ
ดขึน
1. การจัดหาสินค ้ามาจาหน่ ายให ้สมาชิกไม่เป็ นไปตามระเบียบของกองทุน
ชุมชน
2. การดาเนิ นธุรกิจจัดหาสินค ้ามาจาหน่ ายไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรือ
่ าหนด
เป้ าหมายทีก
่ ดซือสิ
้ นค ้าทาหน้าทีเก็
่ บร ักษาสินค ้าและบันทึกทะเบียนคุม
3. เจ ้าหน้าทีจั
สินค ้า
้ นค ้าไม่ตรงตามความต ้องการของสมาชิก หรือตลาด
4. ซือสิ
้ นค ้าจากผูข
้ สามารถหา
่
5. ซือสิ
้ ายสินค ้าเพียงรายเดียว หรือกลุม
่ เดียวทังที
่
จากแหล่งอืนได
้
้ นค ้าในราคาสูงกว่าท ้องตลาด
6. ซือสิ
้ นค ้าโดยไม่ผ่านการอนุ มต
7. ซือสิ
ั จิ ากผูม้ อ
ี านาจ
้
8. บันทึกบัญชีย่อยเจ ้าหนี การค
้าไม่ถก
ู ต ้อง ไม่ครบถ ้วน หรือไม่เป็ นปัจจุบน
ั
้ าสินค ้าเกินกว่าหนี ที
้ มี
่ อยู่
9. จ่ายชาระหนี ค่
้
10. เจ ้าหนี การค
้าไม่มต
ี วั ตน
การควบคุมด้านธุรกิจจัดหาสินค้า
มาจาหน่ าย
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมด้านธุรกิจจัดหาสินค้า
มาจาหน่ าย
้
- มีการเปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยลูกหนี การค
้าให ้ถูกต ้องตรงกับ บัญชีแยก
่
ประเภททัวไป
กรณี ทพบข
ี่
้อแตกต่างให ้ค ้นหาสาเหตุ
้
- มีการขอยืนยันยอดลูกหนี การค
้าอย่างน้อยปี ละ 1 ครง้ั
้
้ ทางบัญชีในอัตราที่
- มีการคานวณค่าปร ับลูกหนี การค
้าค ้างร ับ ณ วันสินปี
กาหนดตามระเบียบของกองทุนชุมชน
่ เคลือนไหว
่
- มีการจัดทารายงานสินค ้าคงเหลือและรายงานสินค ้าทีไม่
เสนอที่
ประชุมคณะกรรมการดาเนิ นการอย่างสม่าเสมอ
่
-มีการเก็บสินค ้าเสือมสภาพ/ช
ารุด/ล ้าสมัย แยกจากสินค ้าปกติ
้
-มีการแต่งตังคณะกรรมการตรวจนั
บสินค ้าคงเหลือ
การควบคุมด้านธุรกิจเงินร ับ
ฝาก
่
่ ้มันใจว่
วัตถุประสงค ์ของการควบคุม เพือให
า
1. การควบคุมภายในด ้านธุรกิจเงินร ับฝากมี
ประสิทธิภาพ
2. การดาเนิ นธุรกิจเงินร ับฝากเป็ นไปตามระเบียบของ
่ าหนด
กองทุนชุมชนและแผนงาน หรือเป้ าหมายทีก
่
3. การบันทึกรายการบัญชีเกียวกั
บธุรกิจเงินร ับฝาก
เป็ นไปอย่างถูกต ้อง ครบถ ้วน
้ นร ับฝากคงเหลือมีอยูจ
4. เจ ้าหนี เงิ
่ ริงและเป็ นภาระ
่
ผูกพันทีกองทุ
นชุมชนต ้องชดใช ้
ฯลฯ
การควบคุมด้านธุรกิจเงินร ับ
ฝาก
้
่
ดขึน
ข้อผิดพลาดทีอาจเกิ
่ เป็ นไปตาม
1. การร ับฝากเงินจากสมาชิก หรือกองทุนชุมชนอืนไม่
ระเบียบของกองทุนชุมชน
2. การดาเนิ นธุรกิจเงินร ับฝากไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรือเป้ าหมายที่
กาหนด
่
3. เจ ้าหน้าทีการเงิ
นทาหน้าทีร่ ับ – จ่ายเงินฝาก เก็บร ักษาเงินและบันทึก
้ นร ับฝาก
บัญชีย่อยเจ ้าหนี เงิ
4. ร ับฝากเงินจากบุคคลภายนอก
่ าการกองทุนชุมชนโดยไม่มม
5. ร ับฝากเงินนอกทีท
ี ติทประชุ
ี่
ม
คณะกรรมการให ้กระทาได ้
6. ร ับเงินฝากแล ้วไม่บน
ั ทึกบัญชี หรือบันทึกบัญชีไม่ถก
ู ต ้อง ไม่ครบถ ้วน
่ าเงินฝากของสมาชิกเข ้าบัญชีตนเอง หรือสมาชิกรายอืน
่
7. เจ ้าหน้าทีน
แล ้วถอนเงินฝากไปใช ้ส่วนตัว
่ บร ักษาสมุดคูฝ
่ ้
8. เจ ้าหน้าทีเก็
่ ากของสมาชิก หรือกองทุนชุมชนอืนไว
้
การควบคุมด้านธุรกิจเงินร ับ
ฝาก
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมด้านธุรกิจเงินร ับฝาก
่
่
- มีการแบ่งแยกหน้าทีความร
ับผิดชอบระหว่างเจ ้าหน้าทีการเงิ
น
่ ญชี
และเจ ้าหน้าทีบั
อย่างชัดเจน
่ ฝ้ ากเงิน และจัดทาสมุดคู่
- มีการจัดทาบัตรตัวอย่างลายมือชือผู
ฝากให ้สมาชิกในการเปิ ด
บัญชีเงินฝากแต่ละประเภท
่ ยนไม่ได ้
- เจ ้าของบัญชีเป็ นผูจ้ ด
ั ทาใบส่งเงินฝาก เว ้นแต่รายทีเขี
อาจให ้
่
เจ ้าหน้าทีกองทุ
นชุมชนเขียนแทน แต่เจ ้าของบัญชีต ้องเป็ นผูล้ ง
้ อ
ลายมือชือ่ หรือลายนิ วมื
ของตนเองตามบัตรตัวอย่างลายมือชือ่
้ ่าทีขอเปิ
่
- มีการตรวจสอบจานวนเงินขันต
ดบัญชีเงินฝากแต่ละ
การควบคุมด้านเงินกู ย
้ ม
ื
่ ้มั่นใจว่า
วัตถุประสงค ์ของการควบคุม เพือให
1. การควบคุมภายในด ้านเงินกู ้ยืมมีประสิทธิภาพ
้
่ ้ร ับ
2. เงินกู ้ยืมอยู่ภายในวงเงินกู ้ยืม หรือคาประกั
นทีได
่
อนุ มต
ั จิ ากทีประชุ
มใหญ่
กองทุนชุมชน
้ งและบันทึกรายการบัญชี
3. รายการกู ้ยืมเงินเกิดขึนจริ
อย่างถูกต ้อง ครบถ ้วน
่
น
4. เงินกู ้ยืมคงเหลือมีอยู่จริงและเป็ นภาระผูกพันทีกองทุ
ชุมชนต ้องชดใช ้
การควบคุมด้านเงินกู ย
้ ม
ื
่
้
ข้อผิดพลาดทีอาจเกิ
ดขึน
้
่ าหนด
1. กู ้ยืมเงินเกินกว่าวงเงินกู ้ยืม หรือคาประกั
นประจาปี ทีก
่
2. กู ้ยืมเงินโดยไม่ผ่านการอนุ มต
ั จิ ากทีประชุ
มคณะกรรมการดาเนิ นการ
3. มีการปลอมแปลงสัญญาเงินกู ้ยืม
่ ม้ อ
4. มีการปลอมแปลงลายมือชือผู
ี านาจลงนามแทนกองทุนชุมชนในการ
กู ้ยืม
5. การใช ้เงินกู ้ยืมไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค ์ของการกู ้ยืมเงิน
้ นกู ้ยืมไม่ถก
6. บันทึกบัญชีย่อยเจ ้าหนี เงิ
ู ต ้อง ไม่ครบถ ้วน หรือไม่เป็ นปัจจุบน
ั
้ นกู ้ยืมโดยไม่ผ่านการอนุ มต
7. จ่ายชาระหนี เงิ
ั จิ ากผูม้ อ
ี านาจ
้ นกู ้ยืมและดอกเบียไม่
้ เป็ นไปตามกาหนด
8. จ่ายชาระหนี เงิ
้ นกู ้ยืมเกินกว่าหนี ที
้ มี
่ อยู่
9. จ่ายชาระหนี เงิ
้ ายเงินกู ้ และดอกเบียเงิ
้ นกู ้ค ้างจ่ายไม่ถก
10. การคานวณดอกเบียจ่
ู ต ้อง
การควบคุมด้านเงินกู ย
้ ม
ื
ตัวอย่างแนวทางการควบคุมด้านเงินกู ย
้ ม
ื
- มีการกาหนดวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และวงเงินกู ้ยืม
้
- มีการตรวจสอบยอดรวมเงินกู ้ยืมให ้อยู่ภายในวงเงินกู ้ยืม/คาประกั
นประจาปี ที่
่
ได ้ร ับอนุ มต
ั จิ ากทีประชุ
มใหญ่
- มีการอนุ มต
ั ก
ิ ารกู ้ยืมโดยมติทประชุ
ี่
มคณะกรรมการและมีการกาหนดผูม้ ี
อานาจลงนามแทนกองทุนชุมชน
ในการกู ้ยืม
- มีการกาหนดผูม้ อ
ี านาจลงนามแทนกองทุนชุมชนในการกู ้ยืม
- มีการกาหนดวัตถุประสงค ์ของการกู ้ยืมเงินอย่างชัดเจน
- มีการจัดทาสัญญากู ้ยืมไว ้เป็ นหลักฐาน
้ นกู ้ยืมเป็ นปัจจุบน
- มีการจัดทาบัญชีย่อยเจ ้าหนี เงิ
ั
้
่ าหนดไว ้ในสัญญาเงินกู ้ยืม
- มีการทดสอบการคานวณดอกเบียตามอั
ตราทีก
้
้
การควบคุมด้านสมาชิก เงิน
สัจจะ และค่าหุน
้
่ ้มั่นใจว่า
วัตถุประสงค ์ของการควบคุม เพือให
1. การควบคุมภายในด ้านสมาชิก เงินสัจจะ และ
เงินค่าหุ ้น
มีประสิทธิภาพ
่
บสมาชิก เงินสัจจะ และ
2. การดาเนิ นการเกียวกั
เงินค่าหุ ้น เป็ นไปตามระเบียบของกองทุนชุมชน
่
3. การบันทึกรายการบัญชีเกียวกั
บทุนเรือนหุ ้น
เป็ นไปอย่างถูกต ้อง ครบถ ้วน
การควบคุมด้านสมาชิก เงิน
สัจจะ และค่าหุน
้
่
้
ข้อผิดพลาดทีอาจเกิ
ดขึน
่
1. การดาเนิ นการเกียวกั
บสมาชิก เงินสัจจะ และเงินค่าหุ ้น ไม่
เป็ นไปตามระเบียบ
่ าหนด
หรือไม่เป็ นไปตามแผนงาน หรือเป้ าหมายทีก
2. การร ับสมาชิกไม่เป็ นไปตามระเบียบกองทุนชุมชน
3. ร ับเงินค่าหุ ้นและค่าธรรมเนี ยมแรกเข ้าจากสมาชิกแล ้วไม่
บันทึกบัญชี หรือบันทึก
บัญชีไม่ถก
ู ต ้อง ไม่ครบถ ้วน
4. บันทึกทะเบียนสมาชิกและทะเบียนค่าหุ ้นไม่ถก
ู ต ้อง ไม่
ครบถ ้วน หรือไม่เป็ นปัจจุบน
ั
5. การคานวณเงินปันผลตามหุ ้นไม่ถก
ู ต ้อง
การควบคุมด้านสมาชิก เงิน
สัจจะ และค่าหุน
้
ตัวอย่างการควบคุมด้านสมาชิก เงินสัจจะ และค่าหุน
้
ิ และทุนเรือนหุ ้นอย่าง
การกาหนดแผนงาน หรือเป้ าหมายเกีย
่ วกับสมาชก
ั เจนและมีความเป็ นไปได ้
ชด
่ ้นของแรกเข ้า
- การชาระเงินค่าหุ ้นและค่าธรรมเนี ยมแรกเข ้า รวมถึงการเพิมหุ
สมาชิกเป็ นไปตามระเบียบของกองทุน
่ ้ล่วงหน้า
- ใบเสร็จร ับเงินมีการเรียงลาดับเลขทีไว
่
่ าระเงินค่าหุ ้นและค่าธรรมเนี ยมแรกเข ้าหรือเพิมหุ
่ ้น
- มีการลงลายมือชือสมาชิ
กทีช
รวมถึงผูร้ ับเงินในใบเสร็จร ับเงิน
- มีการจัดทาทะเบียนสมาชิก และทะเบียนเงินสัจจะและเงินค่าหุ ้นเป็ นปั จจุบน
ั
- มีการเปรียบเทียบยอดรวมเงินสัจจะและค่าหุ ้นในทะเบียนหุ ้นให ้ถูกต ้องตรงกับ
่
บัญชีแยกประเภททัวไปอย่
างสม่าเสมอ กรณี พบข ้อแตกต่างให ้ค ้นหาสาเหตุ
่ ม
่ - ลดในระหว่างปี และสมาชิกคงเหลือ ณ
- มีการตรวจสอบจานวนสมาชิกทีเพิ
้ ทางบัญชี
วันสินปี
- มีการสอบทานหรือขอยืนยันยอดเงินสัจจะและค่าหุ ้นกับสมาชิกอย่างน้อยปี ละ 1
1. การละเว้น หรือไม่ปฏิบต
ั ต
ิ ามระบบการควบคุมภายใน
่ าหนด (Breakdown)
ทีก
้ (Abnormal
2. มีเหตุการณ์ทไม่
ี่ คาดว่าจะเกิดขึน
Course)
3. การร่วมมือกันกระทาการทุจริต
่
4. การก้าวก่ายหน้าทีของคณะกรรมการกองทุ
นชุมชน
(Collusion)
(Management Override)
่ ดให้มก
5. ค่าใช้จา
่ ยทีจั
ี ารควบคุมภายในสู งกว่า
่
้ หรือไม่คม
ค่าเสียหายทีอาจเกิ
ดขึน
ุ ้ ค่า
ก ับประโยชน์ทจะได้
ี่
ร ับ (Cost – Effective)