แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบด้วยสถาบันฯ

Download Report

Transcript แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบด้วยสถาบันฯ

การแก้ไขปัญหาหนี้สินนอกระบบ กรมการพัฒนาชุมชน
สานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
นโยบายการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบของรัฐบาล
กระทรวงมหาดไทย เป็ นส่วนหนึ่งที่เข้าไปมีส่วนในการแก้ไข
ปัญหาหนี้นอกระบบ กรมการพัฒนาชุมชน เป็ นหน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่จะเข้าไปร่วมสนับสนุนการ
ขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว ให้เกิดประสิทธิ ภาพและความ
ยั่ งยื น โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
กรมการพัฒนาชุมชน จัดทาบันทึกเสนอ กระทรวงมหาดไทย
ขอร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายการแก้ไขปัญหาหนี้นอก
ระบบของรัฐบาล โดยอ้ างหนังสือที่ มท 0407.3/2546 ลงวันที่
17 มิถนุ ายน 2553
∆ ดาเนินการ ในส่วนการเพิม่ ประสิทธิ ภาพ และความยั่ งยืน
∆ นาเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เพือ่ โปรดทราบ
1. กลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต
∆ ข้อมูลปัจจุบัน : 35,891 กลุ่ม เงินสัจจะ 25,121,514,600 บาท
∆ แนวทางการดาเนินงาน : กลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต ที่
มีผลการพัฒนาในระดับ 3 (ดีเด่น) ดูแลช่วยเหลือบุคคลเป้าหมายใน
พื้นที่ที่รับผิดชอบ
2. สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
∆ ปี 2551- 2553 จานวน 162 แห่ง
∆ ปี 2554 จานวน 150 แห่ง
บทบาทของกรมการพัฒนาชุมชน : เป็ นผูส้ ่งเสริม สนับสนุน มิใช่ การสั่งการ
กลุ่มเป้าหมายที่จะต้องดาเนินการ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย
∆ กลุ่มที่ 1 ลูกหนี้นอกระบบที่ลงทะเบียน แต่ยังไม่ได้รับการช่วยเหลือ
จากสถาบันการเงิน (บัญชี 1)
∆ กลุ่มที่ 2 ลูกหนี้นอกระบบที่ไม่ได้ลงทะเบียน หรือ ไม่ประสงค์จะ
ลงทะเบียน (บัญชี 2 )
เงื่อนไข ลูกหนี้นอกระบบทั้ง 2 กลุ่ม จะต้องเป็ นประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมูบ่ า้ น และต้อง
เป็ นสมาชิกของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน หรือ กลุ่มออมทรัพย์ เพือ่ การ
ผลิตที่ตั้งอยู่ในหมูบ่ า้ นนั้น
1. ทุนดาเนินการ
1) ทุนขององค์กรการเงินชุมชน (สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน และ
กลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต )
2) รัฐบาลสนับสนุนผ่าน ธนาคาร
3) กรมการพัฒนาชุมชน ประสานกับธนาคาร (ธกส. และออมสิน)
เพือ่ ขอรับการสนับสนุน
2. การสร้างความเข้าใจผูเ้ กี่ยวข้อง
1) เจ้าหน้าที่พฒ
ั นาชุมชน
2) ภาคีการพัฒนา
3) คณะกรรมการบริหารสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน และคณะกรรมการ
กลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต
3. เอกสาร สิ่งพิมพ์ และสื่อวีดีทัศน์
1) แนวทางการขับเคลื่อนโครงการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ
ของกรมการพัฒนาชุมชน
2) โปสเตอร์
3) แผ่นพับ
4) วีดีทัศน์
รัฐบาล
นโยบายการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ
1
แนวคิดหลัก
ลงทะเบียน
ทางเลือก
มอบหมายให้ “ชุมชนแกไขปัญหากันเอง”
เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการขับเคลื่อน
นโยบาย
2
กลุ่มเป้าหมาย
คนที่เป็ นหนี้นอกระบบ
A . การเพิม่ ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนนโยบาย
กระทรวงมหาดไทย
•กรมการปกครอง
วงเงิน 50,001 ถึง
200,000 บาท
ธนาคาร
กระทรวงการคลัง
วงเงิน ไม่เกิน
50,000 บาท
องค์กรการเงินชุมชน
ไม่ได้ลงทะเบียน
•สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 312 แห่ง
•กลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต 35,891 กลุ่ม
ไม่อนุมตั ิ
อนุมัติ
เฉพาะสมาชิก
ไม่อนุมตั ิ
3
รายงานตามขั้นตอน
อนุมัติ
เข้าสู่กระบวนการแก้ไข
ปัญหาอย่างยั่งยืน
สร้างความเข้าใจผูเ้ กี่ยวข้อง/สนับสนุนการดาเนินงาน
1. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
2. ประชุมเชิงปฏิ บัติการ จนท./ภาคี/กรรมการกลุ่ม
3. แนวทางการขับเคลื่อน/โปสเตอร์/แผ่นพับ/วีดีทัศน์
การประชุมสัมมนาฯ ผูเ้ กี่ยวข้อง
1. ค้นหาปัญหา/อุปสรรค
2. ค้นหาปัจจัยแห่งความสาเร็จ
3. สรุป / ทบทวนบทเรียน
ข้อมูลลูกหนี้นอกระบบ
บัญชี 1
บัญชี 2
ข้อมูลจากกรมการปกครอง
สถาบันฯ
ออมทรัพย์
และผูเ้ กี่ยวข้อง
-ไม่ลงทะเบียน
-ไม่ลงทะเบียน
การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ
สถาบันการจัดการฯ
กลุ่มออมทรัพย์
- สมาชิกสถาบันฯ
-กลุ่มออมทรัพย์ฯ ที่มีระดับการพัฒนา
ในระดับ 3 (ดีเด่น) ดูแลสมาชิก
ทุนสนับสนุนการดาเนินงาน
1. ทุนขององค์กรการเงินชุมชน
2. รัฐบาลสนับสนุนผ่านธนาคาร
3. กรมฯ ประสาน ออมสิน/ธกส.
-การประชาสัมพันธ์การดาเนินงาน
-การติดตาม/ประเมินผลการ
ดาเนินงาน
- การเยี่ยมชมจุดตัวอย่าง
1. บันทึกนาเรียนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เพือ่ ขอความเห็นชอบ
2. ประสานขอข้อมูลกลุ่มเป้าหมายลูกหนี้นอกระบบ ที่ลงทะเบียน แต่ยังไม่ได้รับ
การช่วยเหลือจาก กรมการปกครอง หรือ ผูเ้ กี่ยวข้องมาจัดทา บัญชี 1
3. จัดทาเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบของ
กรมการพัฒนาชุมชน
4. หนังสือแจ้งแนวทางการขับเคลื่อนโครงการแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบของ
กรมการพัฒนาชุมชน ให้จังหวัดทราบและถือเป็ นแนวทางปฏิบัติ
5. หนังสือแจ้งจังหวัด สารวจลูกหนี้นอกระบบ ที่ไม่ได้ลงทะเบียน หรือ ไม่
ประสงค์จะลงทะเบียน ในพื้นที่ตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน หรือกลุ่ม
ออมทรัพย์เพือ่ การผลิต ให้กรมฯ เพือ่ จัดทา บัญชี 2
6. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการเจ้าหน้าที่ผูร้ ับผิดชอบ ภาคีการพัฒนา และ
คณะกรรมการบริหารองค์กรการเงินชุมชน ( สถาบันการจัดการเงินทุน
ชุมชน และกลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต )
7. หารือ หรือทาข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับธนาคาร ธกส.
หรือธนาคารออมสิน เพือ่ สนับสนุนด้านเงินทุน
8. กาหนดวัน D-Day และระยะเวลาสิ้นสุด
9. เชิญ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
หรือ รัฐมนตรีว่ากระทรวงการคลัง เยี่ยมชมจุดตัวอย่าง
10. จัดทาระบบฐานข้อมูล
1) การรายงานผล
2) การติดตามความก้าวหน้า
11. การประชาสัมพันธ์
12. รายงานผลการดาเนินงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบเป็ นระยะ
13. การติดตามและประเมินผลโครงการ
14. การประชุมสัมมนาฯ ผูเ้ กี่ยวข้อง
1) ค้นหาปัญหาอุปสรรค
2) ค้นหาปัจจัยแห่งความสาเร็จ
3) ทบทวนบทเรียน