โดย ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร - สำนักงาน บริหาร กิจการ เหล่า กาชาด

Download Report

Transcript โดย ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร - สำนักงาน บริหาร กิจการ เหล่า กาชาด

นโยบายและแผนแม่บทระบบงาน
อาสาสมัครสภากาชาดไทย
2 ธันวาคม 2557
ประชุมนายกเหล่ากาชาดจังหวัด เหรัญญิก และเลขานุการ
1
JAPAN
US
CHINA
SWITZERLAND
THAILAND
Number of
Volunteers
2
Millions
1
Millions
0.31
Millions
50,000
45,000
Number of
Employees
(approx.)
60,000
30,000
70,000
4,800
8,900
Volunteers/
Employees
Ratio
33 : 1
33 : 1
4 :1
10 :1
5: 1
Population
125
Millions
317
Millions
1,355
Millions
7.9
Millions
64
Millions
2
มูลค่างานอาสาสมัครที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมีมูลค่าทางเศรษฐกิจ
เท่ากับ 77,049 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.83 ของ GDP *
มูลค่างานอาสาสมัครคิดเป็น % ต่อ GDP**
*ทีม
่ า: การสารวจองค์การเอกชนที่ไม่แสวงหากาไร พ.ศ. 2549 สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ
่ สาร
**ทีม
่ า: Putting volunteering on the economic map of the world. Paper presented at the 2008 IAVE Conference
3
่
ฒนาระบบ
รายงานและข้อเสนอแนะเพือการพั
อาสาสมัครโดย IFRC
“Volunteer are our strength. They
are what defines us and what makes
us a unique humanitarian force in
the world”
“Volunteering is free but volunteer
management is not”
“Establishing a national Red Cross
society that is volunteer-friendly”
4
ประเด็นสาคัญจาก รายงาน Taking Volunteers
Seriously ขององค์การกาชาดสากล (IFRC)




อาสาสมัครเป็นตัวตนขององค์กรกาชาดเเละเป็นรากฐานสาคัญที่จะทาให้
องค์กรกาชาดมีความยั่งยืน
อาสาสมัครเป็นกาลังสร้างความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนภารกิจของ
องค์กรกาชาด ศักยภาพขององค์กรกาชาดนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถใน
การระดม และจัดการอาสาสมัครที่กระจายตัวอยู่ในชุมชนต่างๆ
งานอาสาสมัครเป็นหัวใจของการเสริมสร้างชุมชน (Volunteering is at
heart of community building) กาชาดมีหน้าที่ส่งเสริมให้เกิดจิตอาสาขึ้น
ในชุมชนเพื่อให้เกิดความเป็นเจ้าของ และตั้งใจดูแลรักษาสังคมของตน
นโยบายอาสาสมัคร และการบริหารที่บูรณาการและเชื่อมโยงอาสาสมัคร
อย่างเป็นระบบ เป็นสิ่งจาเป็นขององค์กรกาชาด
5
“จิตอาสา เป็นต้นกาเนิด
และเป็นหัวใจสาคัญ
ในการขับเคลื่อน
การพัฒนาสภากาชาดไทย
และสังคมไทย”
6
ลาดับกิจกรรมการดาเนินงาน
มิ.ย. 56
ที่ประชุมกรรมการสภากาชาดไทยเห็นชอบในหลักการเรื่อง “แนวคิดการ
พัฒนาระบบงานอาสาสมัคร” ที่เสนอโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ก.ค. 56
สภากาชาดไทยแต่งตั้งคณะทางานพัฒนาระบบงานอาสาสมัคร (คาสั่ง
สภากาชาด ๑๐๑๑/๒๕๕๖) ซึ่งมีผู้อานวยการสานักงานบริหารกิจการเหล่า
กาชาดเป็นประธานคณะทางานฯ
ส.ค.-พ.ย.56
คณะทางานพัฒนาระบบงานอาสาสมัครทาการทบทวนระบบงาน
อาสาสมัคร
มิ.ย. 57
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเสนอนโยบายอาสาสมัีครของสภากาชาด
ไทย (Volunteering Policy) ต่อกรรมการสภากาชาดไทยในการประชุม
ครั้งที่ 313 เมื่อวันที่ 19 มิ.ย.57 โดยที่ประชุมมีมติอนุมัติและประกาศใช้
ก.ย. 57
ที่ประชุมกรรมการสภากาชาดไทยอนุมัติแผนแม่บทการพัฒนาระบบงาน
อาสาสมัคร เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินงานตามนโยบายที่กาหนด
7
เนื้อหา
1) นโยบายอาสาสมัครสภากาชาดไทย
(TRC Volunteer Policy)
2) แผนแม่บทการพัฒนาระบบงานอาสาสมัคร
(TRC Volunteer System Development Master Plan)
8
(1)
นโยบายอาสาสมัครของสภากาชาดไทย
(อนุมัติโดยที่ประชุมกรรมการสภากาชาดไทย เดือนมิถุนายน 2557)
9
หลักการและการดาเนินการ



นโยบายอาสาสมัคร (Volunteering Policy) ถือเป็นหัวใจ
สาคัญของการพัฒนาระบบงานอาสาสมัครของสภากาชาด
ไทย เป็นต้นทางของการปรับปรุงระบบงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
IFRC สนับสนุนให้สภากาชาดทุกประเทศมีนโยบาย
อาสาสมัคร โดยถือเป็นนโยบายสาคัญของสภากาชาด และถือ
เป็นเงื่อนไขสาคัญของการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
องค์กรในภาพรวม
ให้คณะทางานพัฒนาระบบงานอาสาสมัคร ดาเนินการพัฒนา
ระบบงานอาสาสมัครให้สอดคล้องกับหลักการตามนโยบาย
อาสาสมัครสภากาชาดไทยฉบับนี้
10
นโยบายอาสาสมัครของสภากาชาดไทย (1/5)
ข้อที่
หลักการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๑ สภากาชาดไทยกาหนดให้อาสาสมัครมีบทบาทสาคัญในการ
ปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนพันธกิจด้านบริการทางการแพทย์และ
สุขภาพอนามัย ด้านบรรเทาทุกข์ ด้านบริการโลหิต และส่งเสริม
คุณภาพชีวิตของสภากาชาดไทยให้บรรลุผล เพื่อมนุษยธรรมตาม
หลักการกาชาดสากล และเป็นที่พึ่งของประชาชนโดยเฉพาะ
ผู้ด้อยโอกาสให้มีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้
สภากาชาดไทยดารง
ความเป็นองค์กรแห่ง
อาสาสมัคร
(Volunteer
Organization)
ข้อ ๒ สภากาชาดไทยจะสนับสนุนและพัฒนาระบบงานอาสาสมัครของ
สภากาชาดไทยให้เป็นกลไกระดับชาติที่สนับสนุนและทางาน
ร่วมกับองค์การและอาสาสมัครอื่นที่มีเจตนารมย์เดียวกัน เพื่อ
เพิ่มพูนจิตอาสาและจิตสานึกสาธารณะในสังคมไทยวงกว้าง
สภากาชาดไทยเป็นกลไก
ระดับชาติในการเพิ่มพูน
จิตสานึกสาธารณะใน
สังคมไทย
(National Platform)
11
นโยบายอาสาสมัครของสภากาชาดไทย (2/5)
ข้อที่
หลักการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๓ สภากาชาดไทยจะสรรหาอาสาสมัครมีคุณภาพและปริมาณ
เพียงพอกับความต้องการกาลังอาสาสมัครของหน่วยงานต่างๆทั้ง
ภาวะปกติและภาวะภัยพิบัติ โดยไม่จากัดอายุ เพศ อาชีพ ฐานะ
ทางสังคม ภูมิลาเนา ศาสนา ชาติพันธุ์ หรือความทุพพลภาพของ
ร่างกาย และจะมอบหมายงานตามความสมัครใจและตามคุณสมบัติ
ข้อกาหนดด้านการปฏิบัติงาน
มีระบบการสรรหา
อาสาสมัครที่มี
ประสิทธิภาพ
(Recruitment)
ข้อ ๔ สภากาชาดไทยจะส่งเสริมการพัฒนาอาสาสมัครให้มีความรู้
ความสามารถ ทักษะสาหรับการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ รวมทั้ง
การพัฒนาด้านจิตวิญญาณ ทัศนคติ อุดมการณ์และคุณธรรม และ
ความรู้เรื่องหลักการกาชาด 7 ประการ อย่างเป็นระบบ จริงจังและ
ต่อเนื่อง
มีระบบการฝึกอบรมและ
พัฒนาอาสาสมัครให้มี
ความพร้อม
(Training)
12
นโยบายอาสาสมัครของสภากาชาดไทย (3/5)
ข้อที่
หลักการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๕ สภากาชาดไทยจะจัดให้มีระบบการจัดการ ดูแลและคุ้มครองสวัสดิ
ภาพของอาสาสมัครที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานด้วย
ความมั่นใจ ทั้งในด้านความรู้ความสามารถ ความรู้สึกปลอดภัยใน
ชีวิต ด้วยการให้ข้อมูลล่วงหน้าเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การจัดหา
เครื่องมืออุปกรณ์ที่เหมาะสม การมีคู่มือปฏิบัติงานที่ชัดเจน การมี
ระบบรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การชดเชย
ค่าใช้จ่ายที่จาเป็นในการปฏิบัติงาน และการจัดทาประกันอุบัติเหตุ
ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงานให้แก่อาสาสมัคร
มีระบบการดูแล คุ้มครอง
และสนับสนุนการ
ปฏิบัติงานของอาสาสมัคร
ที่เพียงพอ
(Welfare and
Operation)
ข้อ ๖ สภากาชาดไทยจะจัดการเก็บข้อมูลการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร
ทุกประเภทของสภากาชาดไทยเพื่อการยกย่องเชิดชูเกียรติอย่าง
เหมาะสม
มีระบบการยกย่องเชิดชู
เกียรติอาสาสมัครที่
เหมาะสม
(Recognition)
13
นโยบายอาสาสมัครของสภากาชาดไทย (4/5)
ข้อที่
หลักการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๗ สภากาชาดไทยจะจัดให้มีโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการ
งานอาสาสมัครที่ชัดเจน เป็นกลไกสนับสนุนและบูรณาการการ
ดาเนินงานของอาสาสมัครทุกกลุ่มของสภากาชาดไทยทั้งในภาวะ
ปกติและภาวะภัยพิบัติ และมีผู้รับผิดชอบการจัดทาและกากับ
นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน ตลอดจนการติดตาม ประเมินและ
รายงานผลการดาเนินงานของระบบงานอาสาสมัครของ
สภากาชาดไทย
มีระบบการบริหารจัดการ
แบบบูรณาการที่มี
ประสิทธิภาพ
(One TRC Volunteer
System)
ข้อ ๘ อาสาสมัครของสภากาชาดไทย จะต้องปฏิบัติงานตามระเบียบและ
ข้อบังคับด้านอาสาสมัคร ตามหลักการกาชาดและระมัดระวังใน
การใช้เครื่องหมายกาชาดและสัญลักษณ์ของสภากาชาดไทย
อย่างเคร่งครัด
อาสาสมัคร
ต้องเข้าใจหลักการและ
หน้าที่พื้นฐานในการ
ปฏิบัติงาน
(Volunteer Principle
& Code of Conduct)
14
นโยบายอาสาสมัครของสภากาชาดไทย (5/5)
ข้อที่
หลักการที่เกี่ยวข้อง
ข้อ ๙ สภากาชาดไทยควรมีมาตรการสนับสนุนบุคลากรของสภากาชาด
ไทยให้มีจิตอาสาและสนับสนุนให้ปฏิบัติงานอาสาสมัครที่เป็น
ประโยชน์แก่ประชาชน สังคมและประเทศชาติอย่างสม่าเสมอ ทั้ง
งานของสภากาชาดไทย และงานอาสาสมัครที่จัดขึ้นโดย
หน่วยงานอื่น โดยถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของงาน
สนับสนุนบุคลากร
สภากาชาดไทยให้มีจิต
อาสาที่เข้มข้น
(Volunteer Spirit)
15
(2)
แผนแม่บทการพัฒนาระบบงานอาสาสมัคร
ปี 2557-2561
(อนุมัติโดยที่ประชุมกรรมการสภากาชาดไทย เดือนกันยายน 2557)
16
วัตถุประสงค์ของแผนแม่บทการพัฒนา
ระบบงานอาสาสมัคร
• ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานตามนโยบายอาสาสมัครที่ได้รับอนุมัติ
เพื่อให้การพัฒนาระบบงานอาสาสมัครสภากาชาดไทยเป็นระบบที่ทันสมัย มี
ประสิทธิผล ตามมาตรฐานสากลของ IFRC (International Federation of
Red Cross and Red Crescent Societies)
17
โครงสร้างแผนแม่บทฯ
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
เป้าหมาย
ผลลัพธ์
กลยุทธ์การดาเนินงาน
หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัดความสาเร็จ
18
วิสัยทัศน์
ของระบบงานอาสาสมัคร สภากาชาดไทย
“สภากาชาดไทยเป็นองค์กรผู้นาด้านอาสาสมัคร
ของประเทศ ที่ประชาชนเชื่อถือและปรารถนาเข้า
ร่วมทางานอาสาสมัครมากทีส
่ ุด”
19
พันธกิจ
ของระบบงานอาสาสมัคร สภากาชาดไทย
ระบบงานอาสาสมัครของสภากาชาดไทยมีพันธกิจดังนี้
 จัดการอาสาสมัครแบบบูรณาการตามหลักการกาชาด ดาเนินงานด้วย
อาสาสมัครทุกประเภท ทุกวัย ทุกพื้นที่ ทุกเชื้อชาติ และทุกฐานะทาง
สังคมให้เป็นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนพันธกิจของสภากาชาดไทย
 เป็นเครือข่ายระดับชาติเพื่อปลุกระดมจิตวิญญาณอาสาสมัครให้เกิดขึ้น
ในสังคมไทยในวงกว้างอย่างยั่งยืน
20
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ปี 2557-2561
เป้าหมายที่ 1:
เป้าหมายที่ 2:
เป้าหมายที่ 3:
เป้าหมายที่ 4:
สร้างระบบอาสาสมัครแบบบูรณาการ
ปลูกฝังจิตสาธารณะและสร้างอาสาสมัครที่มีคุณภาพ
ดูแลอาสาสมัครให้มีประสบการณ์การทางานที่ดี
พัฒนาสภากาชาดไทยเป็นองค์กรจิตอาสาที่เข้มแข็ง
และยั่งยืน
เป้าหมายที่ 5: เสริมสร้างสภากาชาดไทยให้เป็นองค์กรอาสาสมัคร
ชั้นนาที่สังคมเชื่อมั่น
เป้าหมายที่ 6: เชื่อมโยงระบบอาสาสมัครของสภากาชาดไทยให้เป็น
เครือข่ายระดับชาติเพื่อปลุกระดมจิตอาสาในสังคมไทย
21
เป้าหมายการดาเนินงานหลักในแต่
ละช่วงเวลา
6 เป้าหมาย
23 กลยุทธ์
22
เป้าหมายที่ 1: สร้างระบบอาสาสมัครแบบบูรณาการ (1/2)
ผลลัพธ์:
1. สภากาชาดไทยมีระบบการจัดการอาสาสมัครทีบ
่ รู ณาการของทุก
หน่วยงานในสภากาชาดไทย ครอบคลุมการสรรหา การพัฒนาการ
ทางาน และการยกย่องเชิดชูเกียรติ สาหรับสถานการณ์ทงั้ ในภาวะปกติ
และภาวะวิกฤติ
2. สภากาชาดไทยมีระบบการจัดการอาสาสมัครทีร่ องรับอาสาสมัครทุก
ประเภท (อาสายุวกาชาด อาสากาชาด เหล่ากาชาดจังหวัด และระบบ
อาสาสมัครด้านอื่นๆ) ที่สามารถบริหารความแตกต่างหลากหลายของ
อาสาสมัครแต่ละกลุม
่ ได้
23
เป้าหมายที่ 1: สร้างระบบอาสาสมัครแบบบูรณาการ
Expected Results
Total Volunteer
Journey
Integrated Volunteer
Process
Synchronized
Volunteer System
เป้าหมายที่ 1: สร้างระบบอาสาสมัครแบบบูรณาการ (2/2)
กลยุทธ์การดาเนินงาน:
1. กาหนดให้มีนโยบายอาสาสมัคร ของสภากาชาดไทย
2. กาหนดมาตรฐานและแนวทางปฏิบต
ั งิ านอาสาสมัครสาหรับทัง้ องค์กร
3. ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการให้เกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานอาสาสมัคร
4. ปรับปรุงและพัฒนากระบวนงานของระบบงานอาสาสมัครทัง้ ระบบเพื่อ
สนับสนุนการจัดการอาสามัครแบบบูรณาการรวมทัง้ คูม
่ อ
ื การปฏิบต
ั งิ าน
ทั้งสาหรับสถานการณ์ปกติและวิกฤติ
5. พัฒนาระบบส่งต่ออาสาสมัครแต่ละประเภทอย่างเป็นระบบให้ครอบคลุม
ตลอดช่วงชีวต
ิ ของอาสาสมัคร
6. พัฒนาระบบฐานข้อมูลอาสาสมัครและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
จัดการอาสาสมัครแบบบูรณาการ (Volunteer Management
25
Information System-VMIS)
เป้าหมายที่ 2: ปลูกฝังจิตสาธารณะและสร้างอาสาสมัครทีม
่ ี
คุณภาพ
ผลลัพธ์:
1. สามารถสร้างอาสาสมัครทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพและมีจต
ิ อาสาที่ดเี พือ
่ เป็นกาลังสาคัญในการ
ดาเนินงานตามพันธกิจให้บรรลุเป้าหมายของสภากาชาดไทย
2. สามารถสร้างอาสาสมัครสภากาชาดไทยเพือ
่ เป็นบุคคลตัวอย่างให้กบ
ั สังคม
กลยุทธ์การดาเนินงาน:
1. พัฒนาระบบและวิธก
ี ารวิเคราะห์และกาหนดแผนความต้องการอาสาสมัคร
(Demand) เพื่อกาหนดเป็นแผนการสร้างอาสาสมัคร (Supply)
2. พัฒนาระบบการสรรหาอาสาสมัครเชิงรุกทีเ่ ชือ
่ มโยงกับแผนความต้องการใช้
อาสาสมัครทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
3. พัฒนาหลักสูตรและวิธก
ี ารฝึกอบรมอาสาสมัครทีเ่ ป็นมาตรฐาน ให้อาสาสมัครมี
ความพร้อมทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ ความรูแ
้ ละทักษะการทางานที่ต้องใช้
4. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา จิตสานึกสาธารณะและเผยแพร่ความรู้
ความเข้าใจในหลักการและอุดมการณ์จต
ิ สาธารณะให้แก่เด็กและเยาวชนไทย
26
ในวงกว้างทัง้ ในและนอกระบบโรงเรียน
เป้าหมายที่ 3: ดูแลอาสาสมัครให้มป
ี ระสบการณ์การทางานทีด
่ ี
(1/2)
ผลลัพธ์:
1. อาสาสมัครได้รบ
ั ประสบการณ์การทางานทีด
่ ี เกิดความปิติ ภาคภูมิใจและ
ความสุขใจในการทางาน โดยอาสาสมัครได้ทางานตามความถนัดหรือ
ความประสงค์ ได้รบ
ั การดูแลความปลอดภัยระหว่างการทางาน และ
ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติอย่างเหมาะสม
2. อาสาสมัครประสงค์ทจ
ี่ ะร่วมทางานอาสาสมัครกับสภากาชาดไทยอย่าง
ต่อเนื่อง รวมถึงเชิญชวนให้ญาติและมิตรสหายมาร่วมทางานอาสาสมัคร
กับสภากาชาดไทย
27
เป้าหมายที่ 3: ดูแลอาสาสมัครให้มป
ี ระสบการณ์การทางานทีด
่ ี
(2/2)
กลยุทธ์การดาเนินงาน:
1. กาหนดระบบการคุม
้ ครองการทางานของอาสาสมัครที่เหมาะสมและ
ครอบคลุมอาสาสมัครทุกกลุม
่ เพื่อสนับสนุนการปฏิบต
ั งิ านให้เกิด
ประสิทธิภาพ
2. พัฒนาระบบการยกย่องเชิดชูเกียรติทเี่ หมาะสมและให้ครอบคลุม
อาสาสมัครของสภากาชาดไทยทุกกลุม
่
3. สร้างระบบดูแลความพึงพอใจของอาสาสมัครทีม
่ ีตอ
่ สภากาชาดไทย
4. พัฒนาระบบกิจกรรมอาสาสมัคร ทั้งกิจกรรมทางสังคม นันทนาการ และ
กิจกรรมทีส
่ ง่ เสริมการพัฒนาของอาสาสมัครในมิตอ
ิ น
ื่ ๆ นอกเหนือจาก
การปฏิบต
ั งิ าน เช่น สโมสรอาสาสมัคร (Volunteer Club)
28
เป้าหมายที่ 4: พัฒนาสภากาชาดไทยเป็นองค์กรจิตอาสาที่
เข้มแข็ง และยั่งยืน
ผลลัพธ์:
1. บุคลากรของสภากาชาดไทยทุกระดับทางานด้วยจิตอาสาและทางาน
แบบ มืออาชีพ
2. มีอาสาสมัครเข้าร่วมทางานจิตอาสากับสภากาชาดไทยในสัดส่วนงานที่
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนือ
่ ง
กลยุทธ์การดาเนินงาน:
1. กาหนดให้มีผรู้ บ
ั ผิดชอบหรือหน่วยงานหลักทีม
่ ีบทบาทเป็นเจ้าภาพใน
การพัฒนาสภากาชาดไทยเป็นองค์กรจิตอาสา
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมจิตอาสาให้แก่บค
ุ ลากรปัจจุบน
ั ของสภากาชาดไทย
โดยกาหนดให้เป็นกิจกรรมหลักในการพัฒนาบุคลากร
3. กาหนดนโยบายและสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานภายในสภากาชาดไทย
ดาเนินภารกิจด้วยอาสาสมัคร และมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
29
เป้าหมายที่ 5: เสริมสร้างสภากาชาดไทยให้เป็นองค์กร
อาสาสมัครชั้นนาทีส
่ ังคมเชื่อมั่น
ผลลัพธ์:
1. สังคมไทยตระหนักว่าสภากาชาดไทยเป็นองค์กรจิตอาสาทีข
่ บ
ั เคลือ
่ น
ด้วยการทางานของอาสาสมัครด้วยความโปร่งใส สุจริต และได้รบ
ั การ
ยอมรับและความไว้วางใจจากสังคมให้ดาเนินงานในภารกิจต่างๆ
กลยุทธ์การดาเนินงาน:
1. ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการให้มห
ี น่วยงานหลักดูแลงานด้าน
ประชาสัมพันธ์และเกิดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. จัดทาโครงการประชาสัมพันธ์สอ
ื่ สารสังคมเชิงรุกเพื่อเสริมสร้าง
ภาพลักษณ์องค์กรจิตอาสาของสภากาชาดไทยผ่านสือ
่ ต่างๆ
3. จัดกิจกรรมจิตอาสาอย่างเป็นประจาโดยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและ
เอกชน
30
เป้าหมายที่ 6: เชื่อมโยงระบบอาสาสมัครของสภากาชาดไทยให้เป็น
เครือข่ายระดับชาติเพื่อปลุกระดมจิตอาสาในสังคมไทย
ผลลัพธ์:
1. ระบบอาสาสมัครของสภากาชาดไทยเป็นเครือข่ายเชือ
่ มประสานและ
บูรณาการระบบอาสาสมัครหลักอืน
่ ๆในพืน
้ ทีท
่ ว
ั่ ประเทศ
2. เกิดระบบอาสาสมัครชุมชนเพื่อสนับสนุนงานอาสาสมัครของประเทศใน
วงกว้าง
กลยุทธ์การดาเนินงาน:
1. พัฒนาระบบอาสาสมัครของเหล่ากาชาดจังหวัดให้เป็นระบบอาสาสมัคร
ชุมชน
2. บูรณาการกระบวนการทางานอาสาสมัครกับหน่วยงานอาสาสมัครภาครัฐ
ภาคเอกชนและหน่วยอาสาสมัครอื่นๆ ทั้งในระดับส่วนกลางและในพื้นที่
เพื่อสร้างเครือข่ายอาสาสมัคร
3. สร้างอาสาสมัครสภากาชาดไทยและเครือข่ายอาสาสมัครสภากาชาด
31
ไทย ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
32
ภาพรวมโครงการพ ัฒนาระบบงานอาสาสม ัคร
1
ึ ษาปร ัชญา
การศก
หล ักการ และ
แนวคิดทีเ่ ป็นหล ัก
สากลเรือ
่ ง
อาสาสม ัครหรือจิต
อาสา
2
ทบทวนระบบ
อาสาสม ัครของ
สภากาชาดไทย
โดยฝ่ายต่างๆของ
สภากาชาด
3
สรุปข้อเสนอแนะ
และแผนงานต่อ
ผูเ้ กีย
่ วข้อง
33
“องค์กรกาชาดเกิดขึน
้ ด ้วยพลังจิตอาสา”
กาชาดสากล
นายอังรี ดูนังต์ นักธุรกิจชาวสวิสเซอร์แลนด์ได ้
ี่ มืน
ประสบพบเห็นภาพทหารจานวนสห
่ คนบาดเจ็บ
ล ้มตายในสงคราม ณ หมูบ
่ ้าน ซอลเฟริโน
(Solferino) ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ในปี
พ.ศ.2402

นายอังรี ดูนังต์จงึ ได ้รวบรวม “ชาวบ ้านอาสาสมัคร”
ทีเ่ ป็ นประชาชนในหมูบ
่ ้านและชุมชนละแวกนัน
้ มา
ชว่ ยเหลือทหารทีบ
่ าดเจ็บล ้มตายเหล่านัน
้ อย่าง
เต็มที่ ไม่มเี งือ
่ นไข และไม่แบ่งแยกฝ่ าย

สภากาชาดไทย
ถือกาเนิดขึน
้ เมือ
่ ปี พ.ศ. 2436 (ร.ศ.112) จากกรณี
พิพาทระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศส เรือ
่ งดินแดนฝั่ ง
้
้ เป็ นเหตุให ้ทหารบาดเจ็บล ้ม
ซายแม่
น้ าโขง มีการสูรบ
ตายจานวนมาก ไม่มอ
ี งค์การกุศลใดทาหน ้าทีช
่ ว่ ยเหลือ

สตรีไทยนาโดยท่านผู ้หญิงเปลีย
่ น ภาสกรวงษ์ ได ้นา
ความกราบบังคมทูลสมเด็จพระนางเจ ้าสว่างวัฒนา พระ
บรมราชเทวี ขอให ้เป็ นองค์อป
ุ ถัมภ์ในการจัดตัง้ องค์การ
เพือ
่ บรรเทาทุกข์ยากของทหาร

ความทราบถึงสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์
พระจุลจอมเกล ้าเจ ้าอยูห
่ วั จึงทรงพระราชทานพระบรม
ราชานุญาตให ้ตัง้ “สภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม”
เมือ
่ 26 เมษายน 2436 และถือเป็ นจุดเริม
่ ต ้นของการ
เกิดสภากาชาดไทย

34
กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบอาสาสมัคร
ที่ได้รับความเห็นชอบจากกรรมการสภากาชาดไทย
(ที่ประชุมกรรมการสภากาชาดไทย มิถุนายน 2556)
สภากาชาดไทยเป็นกลไกระดับชาติ (National Platform) เพื่อ
ขับเคลื่อนจิตอาสาและอาสาสมัครในสังคมไทย
ระบบอาสาสมัครชุมชน
การรณรงค์ จุดประเด็น
ความสาคัญเรื่องจิตอาสา
ให้เกิดในสังคมวงกว้าง
ระบบบริหารจัดการ
อาสาสมัครที่มี
ประสิทธิภาพ
(Community Volunteer)
(ควรส่งเสริม)
(ดาเนินการเพิ่มขึ้น)
(ควรส่งเสริม)
คนไทยมีนาใจ
้
ใจบุญ มีจิตอาสา
มีความพร้อมทางกาย ทางใจ และทางสังคมวัฒนธรรม
จิตอาสาและงานอาสาสมัครเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศไทย
ให้เป็นสังคมทีม
่ ีความสามัคคี สงบสุข
35
แผนการดาเนินงานของคณะทางานฯ
2556
กิจกรรม/ผลผลิต
ไตรมาส
4
2557
ไตรมาส
1
ไตรมาส
2
ไตรมาส
3
ไตรมาส
4
• พิจารณากรอบแนวคิด กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
• จัดทานโยบายอาสาสมัครสภากาชาดไทย
• จัดทาแผนแม่บทการพัฒนาระบบงานอาสาสมัคร
นาเสนอกรรมการ
สภากาชาดไทย
29 ก.ย. 57
• ดาเนินงานการพัฒนาตามแผนแม่บท
(เช่น การปรับโครงสร้าง การบูรณาการระบบงาน
อาสาสมัคร การจัดทาระบบ Volunteer Management
Information System - VMIS เพื่อการจัดการอาสาสมัคร
การสร้างระบบอาสาสมัครชุมชน ฯลฯ)
36
หน่วยงานที่เกีย
่ วข้องกับ
ระบบงานอาสาสมัคร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงเกี่ยวกับการ
จัดการอาสาสมัคร
หน่วยงานผู้ใช้อาสาสมัครมากและ/หรือมีอาสาสมัครของตนเอง
37