Transcript File2

การตรวจสุขภาพทารกในครรภ์
นพ.ปราโมทย์ ศรี แก้ว
พบ. ป.ชั้นสูงทางคลินิก(สูตินรี เวช)
วว.สูตินรี เวช
อว.เวชกรรมป้ องกัน(แขนงสุ ขภาพจิตชุมชน)
การทดสอบสุขภาพจากการดิน้ ของทารก
• การเคลื่อนไหวลดลง
• ปัจจัย
ภาวะพร่ องออกซิ เจน(hypoxia)
ความพิการของทารก
ผลของยา เช่น barbiturate, narcotic, benzodiazepine
vibrioacoustic stimulation
serum glucose level
ท่าและการออกกาลัง
วิธีการนับลูกดิน้
• การบันทึกการคลี่อนไหวของทารกโดยมารดา
1.แบบกาหนดช่วงเวลา(fixed time period)
2.แบบกาหนดจานวนครั้งที่ทารกดิ้น( fixed number)
Sodovsky 30-60 นาที วันละ 3 ครั้งหลังอาหาร ถ้าเฉลี่ยแล้วน้อยกว่า3
ครั้งต่อชัว่ โมง ให้นบั ต่ออีก 6-12 ชม
เกณฑ์การวินิจฉัย ไมดิ
้ เลยใน 12 ชม ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง
่ น
ใน 12 ชม เรี ยกว่า movement alarm signal (MAS) ซึ่งมีผลการ
ตั้งครรภ์ไม่ดีถึงร้อยละ 78.4
Nonstress test
วิธีการทา
•
•
•
•
•
ท่า semi-fowler
วัด Blood pressure
Tocodynameter วัด uterine contraction
บันทึก FHS ไปเรื่ อยๆ
วัดอย่างน้อย 20-40 นาที
NST
การแปลผล
• Reactive NST= มี FHR acceleration อย่างน้อย 2 ครั้งใน 20 นาที ซึ่ งอาจเกิดในช่วงใด
ช่วงหนึ่งในการเฝ้ าสังเกต 40 นาที อัตราตายของทารกก่อนระยะคลอด 3.2/1000 สาเหตุผล
ลบลวง
abruptio placenta 24%
DM 21%
Cord abnormal 17%
Postterm 14%
IUGR 10%
• FHR acceleration หมายถึงการเพิ่มขึ้นของ FHR> 15 bpm กินเวลา > 15 วินาที
• Nonreactive ผลไม่เป็ นไปตามเกณฑ์
การอ่ านองค์ ประกอบของ EFM
• Baseline 110-160 bpm
< 110= fetal bradycardia
>160= fetal tachycardia
• Variability 5-25 bpm
<5 bpm= decrease variability
>25 bpm= mark vaiability
• Periodic pattern
acceleration
deceleration
early= head compression
variable= cord compression
late = placental insufficiency
Fetal Tachycardia
•
•
•
•
Baseline >160 bpm
ตอบสนองต่อภาวะเครี ยดไม่รุนแรง เช่นการมีไข้ ไม่ใช่ asphyxia
มารดามีไข้ วิตกกังวล คอพอกเป็ นพิษ ทารกซีดเล็กน้อย
ถ้าเป็ น Fetal distress ต้องมี การลดลงของ variability ร่ วมด้วย
Fetal bradycardia
•
•
•
•
อัตราการเต้นของหัวใจต่ากว่า 110 bpm นานกว่า 10 นาทีข้ ึนไป
ถ้ามี variability ปกติ และ accelerationร่ วมด้วยมักไม่มี fetal distress
มักเกิดจากการกดศีรษะทารกมาก(vagal reflex)
ถ้ารุ นแรงเป็ นผลจาก fetal hypoxia มักมีperiodic pattern ร่ วมด้วย
Sinusoidal pattern
•
•
•
•
•
Baseline FHR เป็ น sine waveมี amplitude 5-15 bpm
ความถี่ 2-5 cycle ต่อนาที
ไม่มี short term variability
ไม่มี acceleration
สัมพันธ์กบั fetal anemia จาก Rhesus isoimmunization หรื อ ทารก
เสี ยเลือด ยาบางอย่าง meperidine
• สัมพันธ์กบั fetal hypoxia
Management non reactive NST
• ทา EFM อีกครั้งหลังรับประทานอาหาร
• ถ้ายัง nonreactive NST ให้ทา Biophysical Profile
Biophysical profile (BPP)
• Fetal breathing หายใจอย่างน้อย 1 ครั้ง30 นาที
• Gross body Movement มีการขยับของแขนขาอย่างน้อย 2 ครั้งใน 30
นาที
• Fetal Tone มีการงอเหยียดของแขนขาหรื อกามืออย่างน้อย 1 ครั้งใน
30 นาที
• Reactive FHR
• Amniotic fluid = deep pocket> 2 cm
แนวทางการดูแลรั กษาตามคะแนน BPP
• 10/10
• 8/10
• 8/10(AFลด)
• 6/10
• 4/10
• 2/10
เฝ้ าติดตาม
เฝ้ าติดตาม
ให้ คลอดถ้ าครบกาหนด ทดสอบ
สั ปดาห์ ละ 2 ครั้งถ้ าไม่ ครบกาหนด
ให้ คลอดถ้ าครบกาหนด ถ้ าไม่ ครบ
กาหนดให้ ตรวจซ้าภายใน 24 ชม
ถ้ าน้ อยกว่ า 6 ให้ คลอด
มากกว่ า 32 สั ปดาห์ ให้ คลอด น้ อยกว่ า
32 สั ปดาห์ ให้ ทดสอบทุกวัน
.ให้ คลอด
Late Deceleration
• Uteroplacental insufficiency
• Fetal hypoxia
• มีการลดลงของ FHR แบบค่อยเป็ นค่อยไปและกับคืนสู่ปกติใน
ลักษณะเดียวกัน(gradual onset)
• เกิดเมื่อมี uterine contraction ไปแล้วสักระยะหนึ่ง
• กลไกจาก reflex late DC(กระตุน้ vagus nerve) nonreflex(hypoxia)DC จาก myocardia ischemia
Variable Deceleration
• Deceleration ไม่สม่าเสมอ ทั้ง onset ของการเกิด และ
duration
• มีความสัมพันธ์กบั การหดตัวของมดลูกไม่สม่าเสมอ
• รู ปร่ างมีความแตกต่างกันไปในแต่ละตัวของ Deceleration
• มีความสัมพันธ์กบั การกดสายสะดือ
NICHD fetal monitoring workshop(1997) interpretation of
Fetal Heart Rate Patterns
• Pattern
• Normal
• intermediate
• Severely abnormal
workshop interpretation
baseline 110-160
variability 6-25 bpm
Acceleration present
no consensus
recurrent late or variable DC with zero
variability
substantial bradycardia with zero variability
Management criteria for Nonreassuring Fetal
Heart Rate Pattern
• Repositioning of patient
• Discontinuation of uterine stimulation and correction of
uterine hyperstimulation
• Vaginal examination
• Correction of maternal hypotension associated with
regional analgesia
• Monitoring of fetal heart rate-by electronic fetal
monitoring or auscultation
• Request that qualified personnel be in attendance for
newborn resuscitation and care
• Administration of oxygen to the mother.