ฝ่ายสารพิษ สารปนเปื้อน และไดออกซิน

Download Report

Transcript ฝ่ายสารพิษ สารปนเปื้อน และไดออกซิน

โครงสร้ างพืน้ ฐาน และขีดความสามารถด้ าน
การตรวจวิเคราะห์ สารประกอบกลุ่ม POPs ของ
กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
นายสุพฒ
ั น์ แสงสวย
นักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ชานาญการ
สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
สานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
โครงสร้ าง และบุคลากร (94, 120)
สคอ.
กลุ่มเคมี
ฝ่ ายสารพิษ สารปนเปื ้ อน
และไดออกซิน
ฝ่ ายสารกาจัดศัตรู พืช
และยาสัตว์ ตกค้ าง
ฝ่ ายนา้ และสาร
กัมมันตรั งสี
กลุ่มชีววิทยา
ฝ่ ายวัตถุเจือปน
อาหาร
กลุ่มพัฒนาคุณภาพ
และวิชาการ
ฝ่ ายวัสดุสัมผัส
อาหาร
ฝ่ ายบริหารทั่วไป
ฝ่ ายส่ วนประกอบ
อาหาร
บทบาทหน้ าที่
• กาหนดและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบและวิธีการ
ตรวจวิเคราะห์อาหาร
• ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั พัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีทาง
ห้ องปฏิบตั ิการด้ านอาหาร
• ให้ บริ การตรวจวิเคราะห์ทางห้ องปฏิบตั ิการ เพื่อสนับสนุนการ
คุ้มครองผู้บริ โภคด้ านอาหาร
• เป็ นห้ องปฏิบตั ิการอ้ างอิงด้ านผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ
ฝ่ ายสารพิษ สารปนเปื ้ อน และไดออกซิน
• สารประกอบกลุม่ ไดออกซิน จานวน 17 congeners เช่น 2,3,7,8-Tetrachlorodibenzo-pdioxin (TCDD), 1,2,3,7,8-Pentachlorodibenzo-p-dioxin (PeCDD), 1,2,3,7,8,9Hexachlorodibenzo-p-dioxin (HxCDD), 1,2,3,7,8,9-Hexachlorodibenzofuran (HxCDF)
1,2,3,4,6,7,8,9-Octachlorodibenzofuran (OCDF) เป็ นต้ น
• สารประกอบกลุม่ พีซีบีที่คล้ ายไดออกซิน จานวน 12 congeners เช่น PCB 77, PCB 88,
PCB 126, PCB 105, PCB157 เป็ นต้ น
• สารประกอบกลุม่ พีซีบีที่ไม่คล้ ายไดออกซิน จานวน 6 congeners ได้ แก่ PCB 28, PCB 101,
PCB 138, PCB 153 และ PCB 180
• โลหะหนัก เช่น ปรอท ตะกัว่ แคดเมียม สารหนู ดีบกุ เป็ นต้น
• ไมโครท็อกซิ น เช่น aflatoxin G1, G2,B1, B2, M1 and M2 Ochratoxin Patulin
• อืน่ ๆ เช่น 3-MCPD, Acrylamide, Melamine, Cyanuric acid, Tetrodotoxin ไอโอดีน เป็ นต้น
ฝ่ ายสารกาจัดศัตรูพชื และยาสัตว์ ตกค้ าง
• สารกาจัดศัตรูพืช ได้ แก่
- Organochlorine compounds
- Organophosphorus compounds
- Carbamates
- Synthetic pyrethroid
- Carbendazim และ Thiabendazole เป็ นต้น
• ยาสัตว์ตกค้ างเช่น สารเคมี กลุ่มเบต้าอะโกนิ สต์ ได้แก่ Clenbuterol,
Salbutamol, Brombuterol และ Ractopamine, คลอแรมเฟนิ คอล สารไนโตรฟู
รานส์ เมตาโบไลต์, กลุ่มเตตตร้าไซคลิ น, กลุ่มซัลโฟนาไมด์ เป็ นต้น
เครื่องมือที่ใช้
•
•
•
•
•
HRGC/HRMS จานวน 1 เครื่ อง
GC-µECD จานวน 1 เครื่ อง
GC/MS จานวน 1 เครื่ อง
ห้ องปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 12 ห้ อง
Clean room class 1000, 10000 และ
100000 อย่างละ 1 ห้ อง
ศักยภาพ
สคอ.



















โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (1)
ปี พ.ศ. 2552
 แผนการทดสอบความชานาญการตรวจวิเคราะห์สารกาจัดศัตรูพืชออร์ กาโนคลอรี นในไขมัน มี
ห้ องปฏิบตั ิการเข้ าร่วม 15 ห้ องปฏิบตั ิการ ผลพบว่าห้ องปฏิบตั ิการรายงานผลได้ เป็ นที่น่าพอใจ
ร้ อยละ 80.0 – 93.3
 งานบริ การการตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช ตรวจนมพร้ อมดื่ม น ้านมถัว่ เหลือง
ถัว่ เหลือง ข้ าว แป้ง และบะหมี่สาเร็จรูป จานวน 111, 51, 21, 11, 9 และ 9 ตัวอย่าง ตามลาดับ
ทุกตัวอย่างตรวจไม่พบ
 ตรวจน ้าประปา น ้าบาดาล น ้าผิวดินและน ้าใช้ จานวน 42 ทุกตัวอย่างตรวจไม่พบ POPs ในกลุม่
ยากาจัดศัตรูพืช
 ตรวจนมผง จานวน 29 ตัวอย่าง ตรวจพบการตกค้ างของ DDT 4 ตัวอย่าง ระหว่าง 0.01 – 0.07
mg/kg
 ตรวจผักและผลไม้ สด 12 ตัวอย่าง ทุกตัวอย่างตรวจไม่พบ POPs ในกลุม่ ยากาจัดศัตรูพืช
 ตรวจเนื ้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ 29 ตัวอย่าง ตรวจพบ DDT 1 ตัวอย่าง ปริ มาณ 0.01 mg/kg
โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (2)
ปี พ.ศ. 2553
 โครงการจัดตังห้
้ องปฏิบตั ิการตรวจวิเคราะห์ไดออกซินแห่งแรกของประเทศไทย
 โครงการสารวจปริ มาณการตกค้ างสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในพืชผักสมุนไพรที่มี
ความสาคัญต่อการส่งออก กรมวิทย์ฯ รวมกับ มกอช เก็บตัวอย่าง ผักชี ผักชีฝรั่ง ใบแมง
รัก ใบสาระแหน่ ใบโหระพา ใบกะเพรา ใบมะกรูด จานวน 122 ตัวอย่าง ผลการ
วิเคราะห์ตรวจไม่พบยากาจัดศัตรูพืชที่เป็ น POPs ในทุกตัวอย่าง
 งานบริ การการตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชในอาหารทุกชนิดจานวน 316
ตัวอย่าง ตรวจไม่พบยากาจัดศัตรูพืชที่เป็ น POPs ในทุกตัวอย่าง
 งานบริ การการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุม่ ไดออกซินโดยวิธี DR CALUX ในอาหาร
อาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จานวน 62 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบกลุ่มไดออก
ซิน ไม่เกินข้ อกาหนดมาตรฐานของ EU ในทุกตัวอย่าง
โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (3)
ปี พ.ศ. 2554
งานวิจยั ประเมินความเสี่ยงการได้ รับสัมผัสสารพิษจากอาหาร โครงการย่อย
การศึกษาปริมาณสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช สารประกอบกลุม่ PCBs ในอาหารที่
คนไทยบริโภค พ.ศ. 2553-2554 โดยเก็บตัวอย่างจาก 8 จังหวัด จานวน 888
ตัวอย่าง ตรวจไม่พบยากาจัดศัตรูพืช และสารประกอบกลุม่ PCBs ที่เป็ น POPs ใน
ทุกตัวอย่าง
งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชในอาหารทุกชนิดจานวน
583 ตัวอย่าง ตรวจไม่พบยากาจัดศัตรูพืชที่เป็ น POPs ในทุกตัวอย่าง
งานบริการการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุม่ ไดออกซินโดยวิธี DR CALUX ใน
อาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จานวน 35 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบ
กลุม่ ไดออกซิน ไม่เกินข้ อกาหนดมาตรฐานของ EU ในทุกตัวอย่า
โครงการงานวิจัยที่ผ่านมา (4)
ปี พ.ศ. 2555
งานบริการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุม่ ไดออกซินโดยวิธี DR CALUX ใน
อาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุกชนิด จานวน 32 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบ
กลุม่ ไดออกซิน ไม่เกินข้ อกาหนดมาตรฐานของ EU ในทุกตัวอย่าง
งานบริการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุม่ ไดออกซิน (17 ชนิด)และพีซีบีที่คล้ าย
ไดออกซิน (12 ชนิด)โดยวิธี HRGC/HRMS ในอาหารอาหารสัตว์และวัตถุดิบทุก
ชนิด จานวน 20 ตัวอย่าง ตรวจพบสารประกอบกลุม่ ไดออกซิน ไม่เกินข้ อกาหนด
มาตรฐานของ EU ในทุกตัวอย่าง
โครงการงานวิจัยที่อยู่ระหว่ างดาเนินการ
• โครงการสารวจปริมาณสารประกอบกลุม่ ไดออกซิน (17 ชนิด)และพีซีบี
คล้ ายไดออกซิน (12 ชนิด) โดยวิธี HRGC/HRMS ในอาหารตามธรรมชาติที่
จาหน่ายในประเทศไทย เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานของประเทศ
• เฝ้าระวังอาหารทะเลจากเหตุน ้ามันรั่วลงสูท่ ะเล จังหวัดระยอง ตรวจหา
สารประกอบกลุม่ PCBs ที่เป็ นสารบ่งชี ้ (Marker PCBs หรื อ indicator PCBs)
จานวน 6 ตัว ได้ แก่ PCB 28, 52, 101, 138, 153 และ 180 ต่อเนื่องเป็ นเวลา 6
ปี
โครงการงานวิจัยในอนาคต
ปี พ.ศ. 2557 – 2558
โครงการสารวจปริมาณ สารประกอบกลุม่ ไดออกซิน (17 ชนิด), พีซีบีที่
คล้ ายไดออกซิน (12 ชนิด) และสารประกอบกลุม่ PCBs ที่เป็ นสารบ่งชี ้
(Marker PCBs หรื อ indicator PCBs 6 ชนิด) โดยวิธี HRGC/HRMS ใน
อาหารแปรรูปโดยเน้ นสาหรับทารกและเด็กเล็ก
การพัฒนาศักยภาพของ สคอ.
• ส่งบุคลากรเข้ าร่วมการอบรมจากหน่วยงานทังภายในประเทศและ
้
ต่างประเทศเช่น อังกฤษ สวีเดน ญี่ปนุ่
• เข้ าร่วมในกิจกรรมทดสอบความชานาญห้ องปฏิบตั ิการกับองค์กร
ต่างประเทศ (FAPAS, UK, BIPEA, FR)
• ได้ รับการรับรองความสามารถห้ องปฏิบตั ิการตามมาตรฐาน ISO/IEC
17025:2005 สาหรับการตรวจวิเคราะห์สารกาจัดศัตรูพืชในกลุม่ OC ตังแต่
้ ปี
พ.ศ. 2552
• สาหรับการตรวจวิเคราะห์สารประกอบกลุม่ ไดออกซินอยูร่ ะหว่างดาเนินการ
เพื่อขอการรับรองความสามารถห้ องปฏิบตั ิการตามมาตรฐาน ISO/IEC
17025:2005
กิจกรรมเพื่อพัฒนาห้ องปฏิบัตกิ ารในประเทศ
• PT Provider ของการตรวจวิเคราะห์สารกาจัดศัตรูพืชกลุม่ OC ในไขมัน
ไก่
ปี
2551
2554
จานวนสมาชิก
เข้ าร่ วม
14
16
จานวนสมาชิกที่
ผ่ านเกณฑ์
93%
93.8%
ข้ อคิดเห็น
เทคโนโลยีในปั จจุบนั นี ้ ความสามารถของเครื่ อง GC/MS-MS สามารถ
ใช้ ตรวจวัดสารประกอบกลุม่ ไดออกซิน สารประกอบกลุม่ พีซีบีที่คล้ าย
ไดออกซิน และสารประกอบกลุม่ พีซีบีตวั ชี ้บ่ง ซึง่ มีความสามารถ
ใกล้ เคียงกับเครื่ อง HRGC/HRMS
ในตัวอย่างสิง่ แวดล้ อมขันตอนการเก็
้
บตัวอย่าง การสกัด การทาสาร
สกัดให้ บริสทุ ธิ์ การระเหยตัวทาละลายอินทรี ย์ทิ ้ง การแยกส่วนของ
สาระเคมีแต่ละกลุม่ ออกจากกัน ล้ วนเป็ นงานที่ละเอียดอ่อน ต้ องใช้
กาลังคน ทรัพยากรและเวลา ดังนันควรมี
้
การใช้ ให้ ค้ มุ ค่าทังในปั
้ จจุบนั
และอนาคต
ขอบคุณสาหรั บการรั บฟั ง