2) มัธยฐาน (Median - สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

Download Report

Transcript 2) มัธยฐาน (Median - สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า

วิสยั ทัศน์
เป็นองค์กรนำที่ผลักดันตัวชี้วดั ด้ำนเศรษฐกิจกำรค้ำ
ตำมมำตรฐำนสำกล
ให้เป็นที่รจ้ ู กั และใช้ประโยชน์อย่ำงกว้ำงขวำง
ค่ำนิยมของสำนักงำนปลัดกระทรวงพำณิชย์
มุง่ เน้นผลงำน
โปร่งใสให้ตรวจสอบ
บริกำรด้วยใจ
ตอบสนองพันธกิจ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่อง
การใช้สตู รค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต
ในกระบวนการจัดทาดัชนี ราคาผูบ้ ริโภค
1. การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูลมีก่วี ธิ ี
มีระเบียบวิธีทางสถิติ 5 วิธี คือ
1) ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ต (Arithmetic Mean)
2) มัธยฐาน (Median)
3) ฐานนิ ยม (Mode)
4) ค่าเฉลี่ ยเรขาคณิ ต (Geometric Mean)
5) ค่าเฉลี่ ยฮาร์โมนิ ค (Harmonic Mean)
2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
ข้อดี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ต
1) เข้าใจและคานวณง่าย
2) ได้ใช้คะแนนทุกตัวในการคานวณ
3) คานวณได้เสมอทุกกรณี และเป็ นค่าที่แน่ นอนไม่ว่าข้อมูลจะ
แจกแจงหรือไม่แจกแจงความถี่
4) ใช้คานวณในสถิติขนั้ สูงมากกว่าค่าเฉลี่ยแบบอื่น ๆ
5) ส่วนเบี่ยงเบนของคะแนนจากค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตให้ค่าน้อยที่สุด
2. ข้อดี - ข้อเสียของค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
ข้อเสีย ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ต
1) จากการที่ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตต้องใช้คะแนนทุกตัวในการ
คานวณ ฉะนัน้ ถ้ามีคะแนนตัวใดผิ ดปกติค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะให้
ค่าเฉลี่ยที่ผิดปกติดว้ ย
2) ค่าของค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตจะตรงกับค่าที่เป็ นจริงข้อมูลเพียง
ไม่กี่รายการ หรืออาจไม่ตรงกันเลย
1. การหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อจัดทาดัชนี มีก่วี ธิ ี
3 วิธี ดังนี้
1) The relative of arithmetic mean prices : RA
(สัมพัทธ์ของค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของรำคำ)
2) The arithmetic mean of price relatives : AR
(ค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของรำคำสัมพัทธ์)
3) The geometric mean of price relatives = The relative
of geometric mean prices : GM
(ค่ำเฉลี่ยเรขำคณิตของรำคำสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่ำเฉลี่ยเรขำคณิตของรำคำ)
2.บอกความหมาย สูตร และนัยสาคัญของแต่ละวิธี
1) The relative of arithmetic mean prices : RA
(สัมพัทธ์ของค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของรำคำ)
ตัวอย่ าง ตารางการคานวณโดยใช้ สูตร RA
RA
75.7400
74.8600
101.1688
2) The arithmetic mean of price relatives : AR
(ค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของรำคำสัมพัทธ์)
ตัวอย่ าง ตารางการคานวณโดยใช้ สูตร AR
AR
-
-
101.2600
3) The geometric mean of price relatives = The relative
of geometric mean prices : GM
(ค่ำเฉลี่ยเรขำคณิตของรำคำสัมพัทธ์ = สัมพัทธ์ของค่ำเฉลี่ยเรขำคณิตของรำคำ)
ตัวอย่ าง ตารางการคานวณโดยใช้ สูตร GM
GM
75.6689
74.7646
101.2088
3.เชื่อมโยงสูตรกับการจัดทาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้า
สูตรคำนวณดัชนี Modified Laspeyres
สัมพัทธ์เฉลี่ย
นา้ หนักถ่วง/ค่าใช้จ่าย
4.ผลกระทบจากการคานวณค่าเฉลี่ยแต่ละวิธี ที่มีต่อค่าดัชนี
สู ตร
RA
AR
GM
ราคาเฉลีย่ ปัจจุบัน ราคาเฉลีย่ ช่ วงก่อนหน้ า
75.7400
75.6689
74.86
74.7646
สั มพัทธ์
101.1688
101.26
101.2088
- ค่าสัมพัทธ์ ทคี่ านวณได้จากสู ตร AR จะมีค่ามากกว่าสู ตร RA และ GM เสมอ ซึ่ง
ส่ งผลให้ ตวั เลขดัชนีสูงด้ วย
- ค่ าสั มพัทธ์ ทคี่ านวณได้ จากสู ตร GM อาจจะมากหรือน้ อยกว่ าสู ตร RA
สรุป
AR > RA,GM
5.สรุปจุดเด่น – จุดด้อยของวิธีต่างๆที่ใช้ในอดีต->ปัจจุบนั
ตารางแสดงคุณสมบัตขิ องสูตรดัชนีผลรวมพืน้ ฐานที่
สาคัญ
- ควำมเป็นสัดส่วนกัน
- กำรเปลี่ยนแปลงหน่วย
RA
AR
GM
+
+
+
+
+
-
- กำรเปลี่ยนกลับกันของเวลำ
+
- กำรถ่ำยทอด
+
-
+
+
No
No
Yes
- กำรทดแทนกัน
6.ปัจจุบนั ใช้ก่วี ธิ ี อะไรบ้าง
2 วิธี คือ
1) สูตร AR - ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของราคาสัมพัทธ์
2) สูตร GM – ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ตของราคาสัมพัทธ์ หรือเท่ากับ
สัมพัทธ์ของค่าเฉลี่ ยเรขาคณิ ตของราคา
7.ทาไมจึงเปลี่ยนวิธีการหาค่าเฉลี่ยของราคาสินค้าเพื่อทาดัชนี
?? ทาไมจึงเปลีย่ นสู ตรจาก RA มาเป็ น AR
1. สู ตร RA ขาดคุณสมบัตกิ ารเปลีย่ นแปลงหน่ วย หมายความว่ า ต้ อง
เปรียบเทียบด้ วยหน่ วยเดียวกันเท่ านั้น
2. การเปลีย่ นแปลงราคาของ spec. ทีม่ รี าคาสู ง จะมีความสาคัญ
มากกว่ า spec. ทีม่ ีราคาต่า ซึ่งจะมีแนวโน้ มที่จะชี้นาดัชนี
8.การคัดเลือกสินค้าที่ใช้กบั แต่ละวิธี มีหลักเกณฑ์อย่างไร