ประวัติภาษาปาสคาล
Download
Report
Transcript ประวัติภาษาปาสคาล
ประวัติภาษาปาสคาล
ปาสคาลเป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นโดย ศาสตราจารย์
ดอกเตอร์นิเคลาส์ เวิร์ต(Dr. Niklaus Wirth) จากสถาบันเทคโนโลยี
แห่งซูริค ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เริ่ มใช้เมื่อปี พ.ศ. 2514
ชื่อภาษาตั้งขึ้นเพื่อเป็ นเกียรติแก่ เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal)
นักคณิ ตศาสตร์ และปรัชญาชาวฝรั่งเศส (พ.ศ. 2166-2205)
เป็ นผูส้ ร้างเครื่ องบวกเลขได้สาเร็ จเป็ นคนแรกของโลกในปี พ.ศ.
2185 ซึ่งเป็ นต้นแบบของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั
ดร.นิเคลาส์ เป็ นผูส้ ร้างภาษา PL/1 และ ALGOL-60 มาก่อน
บางส่ วนของปาสคาลจึงมีพ้นื ฐานมาจากภาษาทั้งสองนี้
ลักษณะของภาษาปาสคาล
เป็ นภาษาที่มีโครงสร้าง สามารถแบ่งเป็ นโปรแกรมย่อยได้ง่าย รู ปแบบ
ของคาสัง่ มีความชัดเจน เหมาะอย่างยิง่ สาหรับผูเ้ ริ่ มต้นเขียนโปรแกรม
อย่างมีโครงสร้าง
เป็ นภาษามาตรฐานที่แท้จริ ง ซึ่งสะดวกและง่ายที่จะใช้กบั เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ได้ทุกชนิด
ไม่จากัดอยูก่ บั งานในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เป็ นภาษาที่มีความสามารถ
ทั้งในด้านการคานวณที่ซบั ซ้อน งานทางด้านการศึกษา งานทางธุรกิจ
งานทางด้านกราฟิ ก
มีสิ่งอานวยความสะดวกให้ผใู ้ ช้ ทาให้ผใู ้ ช้สามารถพัฒนาโปรแกรมได้
อย่างรวดเร็ ว
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาปาสคาล
Create/Edit
Text File
คาสัง่
pico <filename>.pas
Source Code
Compile
By compiler
Machine Code
คาสัง่
gpc <filename>.pas [-o outputfile]
คาสัง่
Execute
(Run)
a.out หรื อ
<outputfile>
การตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม
ประเภทของข้อผิดพลาด
Syntax error
–
–
–
–
เกิดจากการเขียนไวยากรณ์ของภาษาผิด
ตรวจพบได้ในขณะทาการแปล(compile)โปรแกรม
สามารถแก้ไขได้ง่ายที่สุด
เช่น a:=10;
writtln(a);
Syntax error
Writeln(a);
การตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม
Run-time error
– เป็ นความผิดพลาดของโปรแกรมในระหว่างการปฎิบตั ิงาน
– ตรวจไม่พบในขณะทาการแปลโปรแกรม
– เช่น คาสั่ง 1/x โดยกาหนดให้ x>=0 และ x <=10 ซึ่ งการหารด้วย 0 จะทาให้
เกิดข้อผิดพลาดตอน Run-time (ซึ่ งในการแปลจะไม่พบข้อผิดพลาด)
Logical error
– เกิดจากการตีความหมายของปั ญหาผิดไป
– เป็ นข้อผิดพลาดที่แก้ไขได้ยากที่สุด
– เช่น x = b เขียน x = b/2*a ตีความเป็ น x = (b/2)*a จะผิด
2a
ที่ถูกต้อง เป็ น x = b/(2*a)
โครงสร้ างของภาษาปาสคาล
PROGRAM ชื่ อโปรแกรม;
LABEL
VAR
CONST
TYPE
PROCEDURE or FUNCTION
BEGIN
….
END.
ส่ วนหัว
(Heading)
ส่ วนประกาศ
(Declarations)
ส่ วนคาสั่ ง
(Statements)
Start
Read num1,
num2,num3
avg=(num1+num2+num3)/3
Write avg
Stop
ตัวอย่ างโปรแกรมภาษาปาสคาล
ส่ วนหัว
ส่ วน
ประกาศ
ส่ วนคาสัง่
PROGRAM example;
{ Calculate average of three numbers }
CONST COUNT = 3;
VAR num1, num2, num3 : integer;
average : real;
BEGIN
readln(num1, num2, num3);
average:=(num1+num2+num3)/count;
writeln(‘The avarage is’,average:5:2);
END.
ส่ วนหัว (Heading)
สำหรับกำหนดชื่อโปรแกรม มีรูปแบบ ดังนี ้
PROGRAM ชื่อโปรแกรม ;
ต้องเริ่ มต้นด้วยคาว่า PROGRAM แล้วตามด้วยชื่อโปรแกรม เช่น
PROGRAM Test; ต้องมีเครื่ องหมาย ; (เซมิโคลอน) เมื่อจบประโยคคาสัง่
PROGRAM Calculate_Grade;
PROGRAM Hello;
ส่ วนประกาศ (Declarations)
LABEL สำหรับกำหนดชื่อ ซึง่ เป็ นตำแหน่งที่คำสัง่ GOTO จะไปหำ
มีรูปแบบดังนี ้
LABEL ชื่อ [,ชื่อ] ;
CONST สำหรับกำหนดชื่อ และค่ำที่ไม่เปลี่ยนแปลง มีรูปแบบดังนี ้
CONST ชื่อ = ค่ำที่กำหนด ;
เช่น CONST title = ‘TITANIC’;
max = 200;
ส่ วนประกาศ (Declarations)
VAR สำหรับกำหนด ชื่อตัวแปรและชนิดข้ อมูลของคำสัง่
VAR ชื่อ [,ชื่อ] : ชนิดของข้ อมูล ;
เช่น VAR title : string;
max, min, avg : integer;
ในโปรแกรมที่ไม่ใช้ variable ก็ไม่ต้องมีรำยกำรนี ้ในโปรแกรม
ส่ วนคาสัง่ (Statements)
เริ่มจำก BEGIN ถึง END ส่วนนี ้ประกอบด้ วยประโยคคำสัง่ ต่ำง ๆ
สำหรับสัง่ ให้ คอมพิวเตอร์ ทำงำนประเภทของคำสัง่
ตัวอย่ำง
PROGRAM hello;
BEGIN
writeln(‘Hello! World’);
END.
ต้องมีเครื่ องหมาย . (full stop) เมื่อจบประโยคคาสัง่ end
ทดลองเขียนโปรแกรม
สร้างไฟล์ที่เก็บ source code ชื่อ hello.pas โดยใช้คาสัง่ pico hello.pas
พิมพ์โปรแกรมดังนี้
PROGRAM hello;
Hello! World
BEGIN
writeln(‘Hello! World’);
>
END.
เมื่อพิมพ์เสร็ จแล้วบันทึกไฟล์โดยกด Ctrl+X
คอมไพล์โปรแกรมโดยใช้คาสัง่ gpc hello.pas
รันโปรแกรมโดยใช้คาสัง่ a.out
การตั้งชื่ อ (Identifiers)
1. ประกอบด้วยตัวอักษรตั้งแต่ A ถึง Z หรื อตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 9
ที่ไม่มีสญ
ั ลักษณ์พิเศษอื่น ๆ อยู่
2. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ (ห้ามเป็ นตัวเลข) และตัวถัดไป
อำจจะเป็ นตัวเลข ตัวอักษร หรื อเครื่ องหมำย Underline ( _ ) ก็ได้
3. ตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็กจะถือว่าเหมือนกัน
4. ความยาวของชื่อตัวแปรยาวได้ไม่เกิน 255 ตัวอักขระ
5. ชื่อที่ต้ งั นั้นจะต้องไม่เป็ นคาสงวน (Reserve Word)
คาสงวน (Reserved word)
เป็ นคาเฉพาะที่ภาษาปาสคาลกาหนดขึ้นมาเพื่อใช้ในภาษาโดยเฉพาะ
ผูเ้ ขียนโปรแกรมไม่สามารถนาไปกาหนดเป็ นชื่อ (Identifiers) ได้
นิ ยมเขียนด้วยตัวใหญ่เพื่อให้แตกต่างจากชื่ออื่น ๆ แต่ถา้ จะเขียนเป็ น
ตัวเล็กก็ไม่ผดิ
ตัวอย่ าง
AND
END
NIL
SET
ARRAY FILE
NOT
THEN
BEGIN
FOR
OF
TO
คาสงวน (Reserved word)
CASE
CONST
DIV
DO
DOWNTO
ELSE
FUNCTION
GOTO
IF
IN
LABEL
MOD
OR
PACKED
PROCEDURE
PROGRAM
RECORD
REPEAT
TYPE
UNTIL
VAR
WHILE
WITH
ชื่อ(Identifiers)
ชื่ อทีถ่ ูกต้ อง
R2D2O
Pattittan
Top40_Farrah
ชื่ อทีไ่ ม่ ถูกต้ อง
2Bar02B
First*Run
Fawcett-Major
ชนิดของข้ อมูล (Data Type)
ข้อมูลชนิ ดธรรมดา (Simple-type data)
– ข้อมูลแบบมาตรฐาน (Standard Data Type)
– ข้อมูลที่ผใู ้ ช้กาหนดเอง (User-defined Data Type)
ข้อมูลชนิ ดมีโครงสร้าง (Structured-type Data)
ข้อมูลชนิ ดตัวชี้ (Pointer-type Data)
ข้ อมูลแบบมาตรฐาน(Standard Data Type)
1. ข้อมูลแบบเลขจานวนเต็ม (integer) เช่น 0 1 -1 -500 44 89
2. ข้อมูลแบบเลขจานวนจริ ง (real) เช่น 12.1 0.5 22/7
3. ข้อมูลแบบอักขระ (char) เช่น ‘A’ ‘2’ ‘*’
4. ข้อมูลแบบสตริ ง (string) เช่น ‘SILPAKORN’ ‘SC’
5. ข้อมูลแบบตรรกศาสตร์ (boolean) เช่น จริ ง (true) เท็จ (false)
ข้ อแตกต่ างระหว่ าง ตัวเลขกับตัวอักขระ
่
คือ การมีต ัวอ ักขระจะมีเครืองหมาย
‘’
ข้ อมูลเลขจานวนเต็ม (integer)
ตัวเลขที่มีค่าเป็ นจานวนเต็ม
ได้แก่ จานวนเต็มบวก จานวนเต็มลบ ศูนย์ ไม่มีเศษหรื อทศนิ ยม
มีค่าได้ต้ งั แต่ -32 768 ถึง 32767
เช่น 0
1
-1 +1 -2225
12358
ข้ อมูลเลขจานวนจริง (real)
ชุดของข้อมูลเลขจานวนจริ ง ที่ประกอบด้วยตัวเลข จุดทศนิ ยม
ตัวเลขหลังจุดทศนิยม รวมทั้งเครื่ องหมายบวกหรื อลบที่
มีค่าอยูร่ ะหว่าง 1 x 10-38 - 1 x 1038
สามารถเขียนในรู ปแบบของเลขยกกาลัง (Exponent) โดยใช้
ตัวอักษร E เป็ นสัญลักษณ์ที่แสดงการคูณ
เช่น 3x1010 สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปแบบ E ได้ดงั นี้
3.0E+10 3.0E10
3e+10
3E10
0.3E+11 0.3e11
30.0E+9
30e9
ข้ อมูลเลขจานวนจริง (real)
เช่น -7.026x10-17 สามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปแบบ E ได้ดงั นี้
-7.026E-17 -0.7026E-16 -70.26e-18 -0.0007026e-13
พิจารณาเลขจานวนจริ งต่อไปนี้วา่ ถูกต้องหรื อไม่ …
ไม่มีตวั เลขหลังจุดทศนิยม
9.E + 10
5e2.3
ค่ายกกาลังต้องเป็ นจานวนเต็ม
.333e-3
ไม่มีตวั เลขหน้าทศนิยม
มีช่องว่างหลัง E
4E 10
มีช่องว่างอยูก่ ่อน e
8.9 e+4
ข้ อมูลแบบอักขระ (Character)
ตัวอักขระเพียง 1 ตัว ที่อยูภ่ ายในเครื่ องหมาย Single Quote หรื อ
Apostrophes(‘ ’)
อาจเป็ นตัวอักษร ตัวเลข หรื อสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ
เป็ นข้อมูลที่ไม่สามารถนาไปคานวณได้
ตัวอย่างเช่น
‘A’ , ‘2’ , ‘b’ , ‘*’ , ‘%’
ข้ อมูลแบบสตริง (String)
กลุ่มของตัวอักขระ (characters) ที่นามาเขียนเรี ยงกันภายใน
เครื่ องหมาย Single quote ไม่สามารถนาไปใช้ในการคานวณใด ๆ
ได้
ข้อมูลชนิ ดนี้ จะมีความยาวไม่เกิน 255 ตัวอักขระ
เช่น
‘PASCAL PROGRAMMING’
‘270-32-222’
‘3*(I+4)/J’
ข้ อมูลแบบตรรกศาสตร์ (Boolean)
ข้อมูลที่แสดงการตัดสิ นใจว่า ข้อความหรื อนิพจน์น้ นั เป็ นจริ งหรื อ
เท็จ
มีค่า 2 แบบ คือ
– True (จริ ง)
– False (เท็จ)
ค่ าคงที่ (Constants)
รูปแบบ
CONST identifier = constant;
ตัวอย่ าง
CONST PI = 3.1415927;
TAXRATE = 0.07;
BLANK = ‘ ‘;
MAX = True;
CONTINUE = ‘Press enter to continue..’;
ตัวแปร (Variables)
รูปแบบ
VAR identifier [, identifier, . . ] : Data Type;
ตัวอย่ าง
VAR radias, high : real;
row, column : integer;
name : string;
choice : char;
done : boolean;
Operator ในการคานวณเลขจานวนเต็ม
การคานวณ
สั ญลักษณ์
ตัวอย่าง
Operand
ผลลัพธ์
บวก
+
A+B
integer
integer
ลบ
-
A-B
integer
integer
คูณ
*
A*B
integer
integer
หาร
/
A/B
integer
real
หารตัดเศษ
DIV
A DIV B
integer
integer
หารเอาเศษ
MOD
A MOD B
integer
integer
การหาร
การหารมีขอ้ แตกต่างระหว่างเลขทศนิยม และเลขจานวนเต็ม
เช่น
4 หารด้วย 3 คือ 1.33333333333E + 00 ผลลัพธ์เป็ นเลขทศนิยม
4 หารด้วย 3 คือ 1 และเศษ 1
ผลลัพธ์เป็ นเลขจานวนเต็ม
จะเห็นว่าในกรณี ที่สอง ผลลัพธ์ที่ได้มีการปั ดตาแหน่ งทศนิ ยมทิ้งไป
เหลือแค่ผลลัพธ์ที่เป็ นเลขจานวนเต็มอย่างเดียว
การหารแบบตัดเศษ (DIV)
เป็ นการหารที่เก็บค่าผลลัพธ์เฉพาะจานวนเต็มไว้ โดยไม่สนใจเศษที่
ได้ โดยทั้งตัวตั้งและตัวหารจะต้องเป็ นเลขจานวนเต็ม
ให้ผลหารที่เป็ นเลขจานวนเต็ม โดยปราศจากจุดทศนิ ยมและเศษที่
เหลือ ค่าของตัวหารต้องมีเศษไม่เป็ น 0
เช่น 15 DIV 2 = 7 (15/2 = 7.5)
=1
9 DIV 5
24 DIV 9 = 2
-19 DIV 5 = -3
1 DIV 5
=0
การหารเอาเศษ (MOD)
ใช้ในการหารเลขจานวนเต็ม แล้วให้ผลลัพธ์ที่เป็ นเศษจากการหาร
จะได้ผลลัพธ์เป็ นเศษที่เหลือจากการหารจานวนเต็ม โดยที่ท้ งั ตัวตั้ง
และตัวหารต้องเป็ นเลขจานวนเต็ม ค่าของตัวหารต้องมีเศษไม่เป็ น
0
เช่น 15 MOD 2 = 1 (15/2 = 7 เศษ 1)
=4
9 mod 5
24 mod 9
=6
9 mod 24
=9
คาสั่ งพืน้ ฐานในการเขียนโปรแกรม
คาสัง่ ทางคณิ ตศาสตร์ และตรรกะ (arithmetic-logic
statement)
คาสัง่ รับข้อมูลและแสดงผล (input/output statement)
คาสัง่ เลือกทางานตามเงื่อนไข (selection statement)
คาสัง่ ทางานซ้ า (looping statement)
คาสัง่ เรี ยกให้โปรแกรมย่อยทางาน (call subprogram)
คาสัง่ ทางคณิ ตศาสตร์และตรรกะ (arithmetic-logic statement)
คาสั่ งการกาหนดค่ า (Assignment Statement)
คือ การกาหนดค่ าให้ กบั ตัวแปรโดยการใช้ เครื่ องหมาย :=
รู ปแบบ
identifier := constant;
identifier := Expression;
ตัวอย่าง
Price:=100;
tax:=0.07*price;
คาสัง่ รับข้อมูลและแสดงผล (input/output statement)
คาสั่ งการแสดงผลลัพธ์ (Output Statement)
เป็ นคาสั่ งการแสดงผลลัพธ์ หรื อข้ อมูลออกทางจอภาพ ได้ แก่
คาสั่ ง Write , Writeln สาหรับการแสดงผลนั้นแสดงได้ 2 อย่ าง คือ
1. แสดงค่ าของ ค่ าคงที่ ตัวแปรหรื อนิพจน์
2. แสดงอักขระ(char)หรื อกลุ่มข้ อความ(string)
รู ปแบบ
write(parameter[:length:decimal],...);
writeln(parameter[:length:decimal],...);
writeln;
ประโยคคาสั่ งปฏิบัตกิ าร (Executable Statements)
ข้ อแตกต่ างระหว่ างคาสั่ ง write และ writeln
คาสั่ ง writeln จะทาให้ มีการขึน้ บรรทัดใหม่ หลังจากที่มกี ารแสดงผลแล้ว
ตัวอย่าง
x :=10;
y :=20;
write(x);
write(y);
num1:=10;
x = 10
Write(num1:10:2);
y = 20
x
10
y
20
10
20
10.00
writeln(‘x = ‘, x);
writeln(‘y = ‘, y);
เขียนโปรแกรมแสดงผล
สร้างไฟล์ที่เก็บ source code ชื่อ display.pas และพิมพ์โปรแกรม
ดังนี้
write(x,y);
PROGRAM display;
10
var x,y : integer;
BEGIN
20>
writeln(x,y);
x := 10;
y := 20; = ‘, x);
writeln(‘x
writeln(x);
x = 1010
write(x); = ‘, y);
writeln(y);
writeln(‘y
write(y);
y20
=
20
10
END.
>
20
บันทึกและคอมไพล์โปรแกรม
ประโยคคาสั่ งปฏิบัตกิ าร (Executable Statements)
การแสดงผลด้ วยคาสั่ ง write[ln] แบบหลาย parameter
ตัวอย่าง
x := 10; y := 20;
sum := x + y ;
write(x,’ + ‘,y,’ = ‘,sum);
x
y
10 20
x + y = sum
10 + 20 = 30
sum
30
10 + 20 = 30
งานทีม่ อบหมายครั้งที่ 1
โครงสร้ างของภาษาปาสคาลและคาสั่ งรับ-แสดงผลข้ อมูล
ให้ เขียนโปรแกรมกำหนด
ค่ ำเลขจำนวนเต็มจำนวน 2 ค่ ำ
ทำกำรหำ
• ผลบวก(Summary)
• ผลลบ(Different)
• ผลคูณ(Multiply)
• ผลหำร(Devide)
• ผลหำรเอำส่ วน (DIV)
• ผลหำรเอำเศษ (MOD)
โดยให้ มีกำรแสดงผลดังนี ้
ประโยคคาสั่ งปฏิบัตกิ าร (Executable Statements)
คาสั่ งการรับค่ าข้ อมูลเข้ า (Input Statement)
เป็ นคาสั่ งการรับข้ อมูลจากอุปกรณ์ นาข้ อมูลเข้ า (keyboard) นาไป
เก็บไว้ ในตัวแปรที่กาหนดให้ ได้ แก่ คาสั่ ง Read , Readln
รู ปแบบ
read(identifier_1[,identifier_2,…,identifier_n]);
readln(identifier_1[,identifier_2,…,identifier_n]);
ตัวอย่าง
Read(number); Read(a,b,c);
Readln(text); Readln(x,y,z);
ประโยคคาสั่ งปฏิบัตกิ าร (Executable Statements)
ข้ อแตกต่ างระหว่ างคาสั่ ง read และ readln
คาสั่ ง readln จะมีผลให้ การใช้ คาสั่ ง read หรื อ readln ในคาสั่ ง
ถัดไปต้ องอ่านข้ อมูลจากบรรทัดใหม่ (รับค่าแล้วทาการขึน้ บรรทัดใหม่ )
ตัวอย่าง
Read(number); Read(a,b,c);
Readln(text); Readln(x,y,z);
เขียนโปรแกรมรับข้อมูลและแสดงผล
สร้างไฟล์ที่เก็บ source code ชื่อ read.pas และพิมพ์โปรแกรมดังนี้
PROGRAM readwrite;
read(x,y);
var x,y : integer;
>
BEGIN
readln(x);
write(‘Enter2
write(‘Enter 2 integer:’);
readln(y);
integer:’);
readln(x,y);
readln(x,y);
sum := x+y;
Enter
2
integer:
write(‘x+y=‘, sum);
END.
บันทึกและคอมไพล์โปรแกรม หาข้อผิดพลาด
รันโปรแกรมและสังเกตุผลที่ได้
ตัวดาเนินการ (Operators)
ตัวดาเนินการคานวณ
– จานวนเต็ม : + , -, * , / , DIV, MOD
– จานวนจริ ง : + , -, * , /
ตัวดาเนินการสตริ ง
:+
ตัวดาเนินการเปรี ยบเทียบ : =, <>, <, <=, >, >=
ตัวดาเนินการบูลลีน : AND, OR, NOT
นิพจน์ (Expression)
กลุ่มของข้ อมูล ซึ่งประกอบไปด้ วย Operand ที่เป็ นตัวแปร
ค่ าคงที่ 1 ตัวหรื อมากกว่ า ซึ่งเชื่ อมกันด้ วยสั ญลักษณ์ ทาง
การคานวณหรื อเปรียบเทียบทีเ่ รียกว่ า Operator
นิพจน์ ทางคณิตศาสตร์
เช่ น a+b/c*d
นิพจน์ ทางตรรกศาสตร์
เช่ น row > MAX
MAX and Done
ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการ
1. ถ้ ามีวงเล็บจะต้ องทาในวงเล็บก่อน
2. ในกรณีทมี่ ีวงเล็บซ้ อนกัน ให้ ทาเครื่ องหมายวงเล็บในสุ ดก่อน
3. จะทาการคานวณตามลาดับเครื่ องหมายดังนี้
+(เอกภาค) -(เอกภาค) NOT สู งสุ ด
* / DIV MOD AND
+ - OR
= <> < <= > >=
ต่าสุ ด
4. ถ้ าตัวดาเนินการอยู่ในลาดับเดียวกัน ให้ ทาจากซ้ ายไปขวา
ตัวอย่ าง
2 + 6/3*
33 1
2 * (2 * (2 +
3)4 + 4)2
2
1
=
8
3
= 28
ตัวอย่ าง
7 * 10 - 5 MOD 3 * 4 +
9
70
-
2
*4+9
70 - 8 + 9 = 71
ตัวอย่ าง
8
6
7 5 1 43 2
2 * ( ( 8 MOD 5 ) * ( 4 + ( 15 - 3 ) / sqr( -4 + 2 ) )42
) =
8 MOD 5 = 3
5 MOD 6 = 5
8 DIV 5 = 1
5 DIV 6 = 0
งานทีม่ อบหมายครั้งที่ 2
โครงสร้ างของภาษาปาสคาลและคาสั่ งรับ-แสดงผลข้ อมูล
ให้ เขียนโปรแกรมรั บค่ ำของอุณหภูมใิ นหน่ วยองศำเซลเซียส
แล้ วแปลงให้ เป็ นอุณหภูมใิ นหน่ วยองศำฟำเรนไฮน์ โดยแสดงผลดังนี ้
F = 9C + 32
5