การปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีกลายพันธุ์ Mutation Breeding

Download Report

Transcript การปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีกลายพันธุ์ Mutation Breeding

การปรับปรุงพันธุโ์ ดยวิธีกลายพันธุ ์
Mutation Breeding
การปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดยวิธีกลายพันธุ ์
Mutation Breeding
การกลายพันธุ ์ / มิวเตชัน่ (Mutation) คือ การ
เปลี่ยนแปลงของลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวติ
(เป็ นการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน)
Mutant คือ
สิง่ มีชีวติ ที่มีพนั ธุกรรมเปลี่ยนไป
เนื่ องจากการกลายพันธุ ์
Mutants
Link
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
1. การเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม (Chromosome Mutation)
การแลกเปลี่ยนส่วนของโครโมโซม การสูญหายไป หรือเพิม่ เข้า
มาของส่วนของโครโมโซมที่ครอบคลุมมากกว่า 1 ยีน
: การขาดหายไปของส่วนของ
โครโมโซม
B. Duplication : การที่มีสว่ นของโครโมโซม
เพิม่ เข้ามามากกว่าปกติ
A. Deletion
Karyotype
Animation
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
Inversion
Animation
การที่สว่ นของโครโมโซมขาด
แล้วต่อเข้าไปที่เดิมแบบกลับหัวกลับหาง
C. Inversion :
Inversion
Translocation
Animation
การที่สว่ นของโครโมโซมหัก
ขาด แล้วส่วนที่หดั ขาดไปต่อเข้ากับโครโมโซมอืน่
D. Translocation :
Translocation
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
Mutation
Animation
Mutation
Animation
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
- การเปลีย่ นแปลงของจานวนโครโมโซม
A. Aneuploidy : การเพิ่มหรือลดเพียงบาง
โครโมโซม เช่น 2n + 1, 2n - 1
Speciation
Animation
Mutation
Link
Nondisjunction
Animation
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
B. Polyploidy :
การเพิม่ ของโครโมโซมเป็ นชุด
Speciation
Animation
Mutation
Link
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
2.
การเปลีย่ นแปลงของยีน (Gene Mutation)
การสูญหายไป หรือเพิ่มเข้ามาของส่วนของยีน หรือการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างภายในยีน และการเปลี่ยนแปลงของลาดับนิ วคลีโอไทด์
Mutants
Link
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
(Ussery, 2000)
Gene Mutation
Animation
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
-
การแทนที่เบส (Base Substitution; Point Mutation)
- Missense Mutation
*
การเปลีย่ นแปลงเพียง 1 เบส
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ
กรดอะมิโน
(Case, 2004)
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
- Nonsense Mutation
* ทาให้เกิด nonsense codon
(Case, 2004)
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
- Frameshift Mutation
(Case, 2004)
*
การเพิ่มเข้ามาหรือขาดหายไป
ของตัง้ แต่ 1 นิ วคลีโอไทด์
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
2.
การเปลีย่ นแปลงของยีน (Gene Mutation)
- Recessive mutation: การกลายพันธุจ์ ากยีนเด่นเป็ นยีนด้อย
(A
a)
AA
AA
Aa
aa
Aa
Phenotype
Selfing
AA Aa aa
Phenotype
aa
รูปแบบของการกลายพันธุ ์
2.
การเปลีย่ นแปลงของยีน (Gene Mutation)
- Dominant mutation: การกลายพันธุจ์ ากยีนด้อยเป็ นยีนเด่น
(a
A)
aa
Aa
Aa
Phenotype
AA
ผลของการกลายพันธุ ์
A. Macro - mutant
การกลาย
พันธุท์ ่สี ามารถสังเกตได้ดว้ ยตา หรือ
สามารถแยกได้ดว้ ยวิธีการเพียงง่าย ๆ
ส่วนใหญ่เป็ นลักษณะด้อยและเสือ่ ม
เช่น การเปลี่ยนแปลงของคลอโรฟิ ลล์
ลักษณะที่สามารถทดสอบได้งา่ ย ๆ
เช่น การต้านทานโรค เปอร์เซ็นต์
โปรตีน
ผลของการกลายพันธุ ์
B. Micro - mutant
การกลายพันธุท์ ่ีมีค่าในเชิง
ปริมาณมากกว่าคุณภาพ ซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ของยีนเป็ นกลุม่ ๆ สามารถตรวจสอบได้โดยใช้วธิ ีการ
ทางสถิติเท่านั้น ทาให้เกิดความแปรปรวนกับลักษณะ
ต่าง ๆ เช่น ความสูง ขนาดเมล็ด ผลผลิต
Arabidopsis plants with
mutations in GAI genes
(Clarke, Online)
แหล่งที่มาของการกลายพันธุ ์
1. การกลายพันธุท์ ่เี กิดขึ้นเองในธรรมชาติ
อาจเกิดจาก
รังสีบางชนิ ดในธรรมชาติ อุณหภูมิสูงตา่ กว่า
ปกติ สารเคมีต่าง ๆ ที่ปนอยู่ในบรรยากาศ
หรือสิง่ แวดล้อม มีอตั ราเกิดตา่ มาก (10-3–
10-9) แต่เกิดติดต่อกันไปอย่างต่อเนื่ อง ทา
ให้เกิดวิวฒั นาการของพืชและสัตว์ และเกิด
ความหลากหลายทางชีวภาพ
(Spontaneous Mutation)
(Radiation Protection Center)
แหล่งที่มาของการกลายพันธุ ์
สาเหตุของ Spontaneous Mutation
(Krempels, 2004)
1. ความผิดพลาดของการจาลองโมเลกุลดีเอ็นเอ (DNA replication)
2. การเปลี่ยนแปลงของเบส หรือการที่เบสเสียหาย เช่น deamination ของเบส
(Ussery, 2000)
3. Spontaneous frameshift mutations ที่เกิดจากการจับคู่ผิดพลาด
ระหว่างดีเอ็นเอต้นแบบและดีเอ็นเอสายใหม่ระหว่างการจาลองโมเลกุล
4. Transposon
แหล่งที่มาของการกลายพันธุ ์
2.
การกลายพันธุท์ ่เี กิดโดยการกระตุน้ (Induced
Mutation )
มนุ ษย์ชกั นาให้เกิดขึ้นเพือ่ การปรับปรุงพันธุ ์
- ใช้ส่อื กระตุน้ การกลายพันธุ ์ (Mutagen)
- ใช้การเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่อพืช
Mutation
Source Link
การกระตุน้ ให้เกิดการกลายพันธุ ์
สือ่ กระตุน้ การกลายพันธุ ์ (Mutagen) แบ่งเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ ๆ
1)
สารเคมี (Chemicals)
2) รังสี (Radiation)
สารเคมี (Chemicals)
สารเคมีอาจก่อให้เกิดการกลายพันธุร์ ะดับยีนและ/หรือ
โครโมโซม ใช้ได้กบั เมล็ด ตา ท่อนพันธุ ์ ฯลฯ
ชนิ ดของ chemical mutagen
1. Alkylating agent
สารเคมีท่มี ี alkyl
group ซึ่งสามารถเข้าทาปฏิกริ ย
ิ ากับเบส purine
ของ DNA ทาให้เกิดการจับคู่เบสผิด และทาให้
เบส purine หลุดจากโมเลกุล DNA เช่น ethyl
methane sulfonate (EMS), diethyl
sulphate (DES), ethyleneimine (EI)
Transversion, transition
ชนิ ดของ chemical mutagen
2. Base analogues
สารเคมีท่มี ีโครงสร้างคล้ายเบส
ของ DNA จึงสามารถเข้าแทนที่เบสได้ เช่น
5-BU
2-AP
Thymine
Adenine
Transition
ชนิ ดของ chemical mutagen
3. Acridine
สียอ้ ม เช่น acridine orange และ
ethidium bromide มีผลต่อ DNA เช่น ทาให้มีคู่เบสเพิ่มขึ้น
หรือลดลง
Frameshift
mutation
ชนิ ดของ chemical mutagen
4. Nitrous acid ทาให้
เกิด deamination ของ
cytosine, adenine
Transition
(Ussery, 2000)
ชนิ ดของ chemical mutagen
5. อืน่ ๆ เช่น
- Sodium azide มีประสิทธิภาพสูง ทาให้เกิดการหักขาดของโครโมโซม
ไม่มีอนั ตราย
- Psoralens ทาให้เกิด crosslinks ภายในและระหว่างสาย DNA
- Peroxides ฯลฯ ทาให้เกิดการหักขาดของ DNA
Induced
Mutation Link
ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสารเคมี
1. ชนิ ดของสารเคมี
2. วิธีการใช้
3. ระยะเวลาการใช้
4. อุณหภูมิ ฯลฯ
รังสี (Radiation)
ประเภทของรังสี
1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic Spectrum)
เดินทางเป็ นคลื่น เช่น X - ray, gamma ray, UV
(Microworlds, online)
(Lochner et al., 2004)
รังสี (Radiation)
ประเภทของรังสี
2. อนุ ภาค (Corpuscular Radiation) ประกอบด้วยอนุ ภาคเคลื่อนที่
เช่น protons, electrons, neutrons
อะตอมประกอบด้วย 1) นิ วเคลียส (proton+neutron) 2) electron
ถ้า # proton = neutron สมดุล ถ้าไม่เท่ากันจะไม่เสถียร มักมีการแผ่รงั สี
เรียกสารเหล่านี้ ว่า สารกัมมันตรังสี
รังสี (Radiation)
แบ่งตามการเกิดไอออน
A. รังสีท่ผี ลิตไอออน (Ionizing
Radiation) เช่น alpha ray,
beta
ทาให้เกิด free radicals
ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย
แก่เซลล์
ray, X-ray, gamma ray,
neutrons
B. รังสีท่ไี ม่ผลิตไอออน (Non-ionizing
Radiation) เช่น UV
(University of the Bristol, online)
(Radiation Protection Center, online)
รังสี (Radiation)
(Radiation Protection Center)
ชนิ ดของรังสี
1. รังสีอลั ฟา (Alpha Rays)
(Radiation Protection Center, online)
* ปลดปล่อย 24 He nucleus ซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและ
นิ วตรอนอย่างละ 2 หน่ วย ออกมาจากนิ วเคลียสที่ไม่เสถียร
* มีแรงแทรกซึมตา่ เพราะมีประจุบวก ถูกฉุดโดยประจุลบ
* มักทาให้เกิดความผิดปกติทางรูปร่างของโครโมโซม
* 226Ra (นน. สูง)
(University of the Bristol)
รังสี (Radiation)
(Radiation Protection Center)
2. รังสีเบต้า (Beta Rays)
(Radiation Protection Center, online)
* ปลดปล่อย อิเลคตรอน หรือ โพซิตรอนความเร็วสูงออกมา
จากนิ วเคลียสที่ไม่เสถียร
* มีประจุลบและมีแรงแทรกซึมสูงกว่ารังสีอลั ฟา
* ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโครโมโซมและการ
เปลี่ยนแปลงของยีน
* 32P,35S
sealevel.jpl.nasa.gov/.
รังสี (Radiation)
3.
รังสีเอกซ์ (X- rays)
* ความยาวคลื่นประมาณ 0.05 - 10 แองสตรอม
* เกิดจากการยิง electron beam ไปยังโลหะภายในหลอดแก้ว
* เมื่อวิ่งผ่านเนื้ อเยื่อ ทาให้เกิดไอออนจานวนมาก
* ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโครโมโซมและมักเกิดการ
เปลี่ยนแปลงของยีน
* นิ ยมใช้ชกั นาการกลายพันธุร์ องจากรังสีแกมมา
(University of the Bristol)
รังสี (Radiation)
4. รังสีแกมมา (Gamma Rays)
* มีความยาวคลื่นตา่ สุด (<0.01 แองสตรอม) มีแรงแทรกซึม
สูง
* มักทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของยีน
* นิ ยมใช้ชกั นาการกลายพันธุม์ ากที่สดุ
* 60Co, 137Cs
(Predieri, 2003)
Symptoms caused by γ-ray irradiation on tissue cultures of pear cultivar
'Conference' microcuttings irradiated with 60 Gy, after 30 day-culture.
(Predieri, 2003)
รังสี (Radiation)
5.
นิ วตรอน (Neutrons)
* อนุ ภาคที่ไร้ประจุ มีแรงแทรกซึมสูง
* ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของยีนและการหัก
ขาดของโครโมโซม
* เกิดจากปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เช่น 235U fission
(University of the Bristol)
www.flashkit.com
รังสี (Radiation)
6. แสงอัลตราไวโอเลต (UV)
* ความยาวคลืน่ ประมาณ 10-2 - 1 ไมโครเมตร
* มีแรงแทรกซึมตา่ เหมาะสาหรับชิ้นส่วนเล็ก ๆ เช่นละอองเกสร
* เมื่อเนื้ อเยื่อดูดแสงเข้าไปจะทาให้เกิดกิจกรรมทางเคมี เช่น
thymine dimer ขัดขวาง transcription, replication
* ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพของยีน
Radiation
Link
(Ussery, 2000)
รังสี (Radiation)
ปัจจัยที่มีผลในการกระตุน้ ให้เกิดการกลายพันธุ ์
ชนิ ดและโครงสร้างทางพันธุกรรม
ขนาดของ โครโมโซม ใหญ่ > เล็ก
B. จานวนชุดของ โครโมโซม
Diploid > polyploid
C. พันธุกรรม
heterozygous > homozygous
A.
การฉายรังสี
1. Dose
* Rad (Radiant absorbed dose) 1 rad (R) = 10 -2 joules/ kg
แสดงเป็ น rad/ เวลา (วินาที, นาที, ชัว่ โมง)
* Gray (Gy)
1 Gy = 100 rad
* ขึ้นอยู่กบั ชนิ ดของเนื้ อเยื่อ
การฉายรังสี
2. ประเภทเนื้ อเยื่อ
- ส่วนของการสืบพันธุแ์ บบใช้เพศ เช่น เมล็ด ละอองเกสร
การฉายรังสี
2. ประเภทเนื้ อเยื่อ
- ส่วนของการสืบพันธุแ์ บบไม่ใช้เพศ เช่น หัว หน่ อ ท่อนพันธุ ์ ฯลฯ
การฉายรังสี
3.
การกาหนดกราฟ dose response curve (LD
50)
การใช้ประโยชน์จากการกลายพันธุ ์
1. ใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของยีน
A. เลือกจาก mutant
แล้วใช้ประโยชน์โดยตรง
B. เลือกพืชที่ตอ้ งการจาก mutants มาผสมกัน
หรือผสมระหว่าง mutant (s) กับพืชปกติ
การใช้ประโยชน์จากการกลายพันธุ ์
2. ใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม
A. ใช้ในการตัดต่อโครโมโซม
เช่นการผสมระหว่าง species
อาจทาให้เกิด translocation โครโมโซมหักขาดแล้วไปต่อกับ
โครโมโซมของต่าง species เช่น Dr. Sears ใช้รงั สีเอกซ์ กระตุน้
ให้
เกิด translocation ย้ายยีนต้านทานโรคราสนิ ม จากหญ้า
Aegilops umbellulata ไปต่อกับโครโมโซมข้าวสาลีทาให้ได้พน
ั ธุ ์
ข้าวสาลีท่ีตา้ นทานโรค
การใช้ประโยชน์จากการกลายพันธุ ์
2.
ใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม
. ใช้เพิ่มจานวนโครโมโซม
B
Allotetraploid
Allotetraploid
Diploid
Diploid
(Mosquin, 2003)
Polyploid Link
การใช้ประโยชน์จากการกลายพันธุ ์
3. ใช้ประโยชน์อน่ื ๆ
A.
ใช้ได้กบั พืชที่ขยายพันธุโ์ ดยไม่ใช้เพศ
B.
ใช้เปลี่ยนลักษณะบางอย่างใน genotype
ที่ลกั ษณะส่วนใหญ่ดีอยู่แล้ว
C.
เพิ่มความปรวนแปรของพืชนั้น ๆ
D.
แยก tight linkage
การใช้ประโยชน์จากการกลายพันธุ ์
นิ ยมใช้กบั
A.
พืชผสมตัวเอง ทาให้เกิดความ
ปรวนแปรทางพันธุกรรม
B. พืชที่ขยายพันธุโ์ ดยไม่ใช้เมล็ด
มักเป็ นพันธุท์ าง ถ้าปรับปรุงพันธุ ์
โดยวิธีปกติอาจทาให้ลกั ษณะดี ๆ
สูญหายไป
(New Agriculturist, online)
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
1. เมล็ด: ทนทาน ง่ายต่อการปฏิบตั ิ ใช้เนื้ อที่นอ้ ย ขนย้าย
สะดวก
- รังสี : ให้รงั สีปริมาณที่พอเหมาะ
- สารเคมี : เช่น แช่เมล็ดในสารละลาย EMS ที่ความ
เข้มข้นเหมาะสม
- เมล็ดก่อนได้รบั mutagen เรียกว่า เมล็ด M0
- เมล็ดที่ได้รบั mutagen เรียกว่า เมล็ด M1
- ต้น M อาจเป็ นหมันเนื่ องจากการเปลี่ยนแปลงของ
1
AA
Aa
aa
M1
โครโมโซม และอาจมีลกั ษณะผิดปกติ จากความเสียหาย
ทางสรีระ (physiological damage)
- ถ้า Aa (recessive mutation) จะยังไม่แสดงออก
- เก็บเมล็ดจากต้น M1 แยกกัน ยังไม่มีการคัดเลือก
M2
- ปลูกเมล็ด M2 ที่เก็บจากต้น M1 ต้นละแถว (รวงละแถว)
แต่ละแถวปลูก 10 - 20 ต้น
AA
- หรือนาเมล็ด M2 จากต้น M1 ต้นละ 1 - 2 เมล็ด มาปลูก
รวมกันก็ได้
- ปลูกพันธุเ์ ดียวกันที่ไม่ได้ให้รงั สีไว้เปรียบเทียบ
- คัดเลือกลักษณะที่ตอ้ งการ
- เก็บเมล็ดจากต้น M2 แยกกัน
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
M3
ปลูกและคัดเลือกในชัว่ M3 แบบบันทึก
ประวัติต่อไป
หรืออาจทาการคัดเลือกแบบเก็บรวม หรือ
หนึ่ งเมล็ดต่อต้น ฯลฯ
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
เมื่อให้ mutagen แก่เอ็มบริโอที่มีเซลล์เริ่มต้น (initial cell) มากกว่า 1 เซลล์
แต่ละเซลล์อาจมียนี ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน ซึ่งเมื่อพัฒนาเป็ นต้น
จะแบ่งตัวอยู่เป็ นกลุม่ ๆ เรียกต้นพืชนี้ ว่า ไคเมอรา (chimera)
(Fehr, 1993)
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
2. ละอองเกสร ถ้าทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับ gamete
(embryo) เปลี่ยนแปลง
คัพภะ
* ทุกเซลล์ของ M1 เปลี่ยนแปลง
(pollen)
A
a x
Aa
A
M1
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
การใช้ละอองเกสร จะให้ตน้ กลายพันธุท์ ่ีไม่ใช่ chimera
(Fehr, 1993)
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
3. กล้า ใช้กล้าระยะพอเหมาะต้นไม่แก่เกินไป เกิดการกลายพันธุ ์ ได้งา่ ย
และไม่ออ่ นเกินไป จนเสียหายได้
4. ระยะออกดอก เพื่อให้เกิดการกลายพันธุใ์ นระยะที่เซลล์แบ่งตัวแบบ
meiosis เพื่อผลิต gamete
5. ส่วนอืน่ ๆ เช่น หน่ อ ตา ท่อนพันธุ ์ ท่อนพันธุท์ ่ีได้จากการชักนาให้เกิดการ
MV
กลายพันธุน์ ้ ี เรียกว่า M V
1
1
คัดเลือกและขยายพันธุ ์
1
2
วิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดย
การกลายพันธุ ์
6. การเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่อพืช ในกระบวนการเพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่อพืช อาจ
ทาให้เกิดการกลายพันธุโ์ ดยธรรมชาติ ในอัตราสูงกว่าปกติ เรียกว่า
somaclonal variation ซึ่งอาจเกิดจากอาหาร หรือสภาพการเลี้ยง
นอกจากนี้ ยงั อาจคัดเลือกใน selective media เช่น เติมเกลือเพื่อให้
ทนเค็ม เติมสารพิษจากเชื้อโรคเพื่อให้ตา้ นทานโรค
Somaclonal Variation
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่เกิดในระหว่างการ
เพาะเลี้ยงเนื้ อเยื่อพืช มักเกี่ยวกับการอยูใ่ นระยะที่ไม่มีการ
จัดเรียงตัวของเซลล์ (disorganized; de-differentiated)
เช่น แคลลัส
ตัวอย่างพืชที่ได้จากการปรับปรุงพันธุโ์ ดยวิธีกลายพันธุ ์
กุหลาบ พันธุ ์ “Orange
Rosami" และ "Rad
Minino"
คาร์เนชัน่ พันธุ ์ “Vital”
เบญจมาศ พันธุ ์ “Taihei”
ได้ตน้ กุหลาบที่มีจานวนกลีบดอก
ขนาดของดอก รูปร่างดอก และสี
ดอกเปลีย่ นแปลงไป
ได้พนั ธุท์ ่ตี า้ นทาน Fusarium
- Ion beam และ รังสีแกมมา
oxysporum ให้ผลผลิตสูง และ
อายุหลังการเก็บเกีย่ วนานขึ้น
ี อก และรูปร่าง
- Tissue culture ร่วมกับการฉายรังสี ได้ คาร์เนชัน่ ที่มีสด
ion beam
ของดอกเปลีย่ นไป
สีเปลีย่ นจากสีชมพู เป็ นสีต่าง ๆ เช่น
- Ion beam และ รังสีแกมมา
สีสม้ แดง ม่วง จากการขยายพันธุ ์
- การฉายรังสี ion beam
- Ion beam ร่วมกับ plant
regeneration techniques
ผักกาด พันธุ ์ “Ice Cube”
และ “Mini-green”
- EMS
ได้เบญจมาศที่กลายพันธุจ์ ากสาย
พันธุเ์ ดิม 6 พันธุ ์ โดยมีสดี อก
เปลีย่ นแปลงไป
คาร์เนชัน่ ที่มีสแี ละรูปร่างของดอกเปลี่ยนแปลงไป
Chimera
ไคเมอร่า (Chimera) หมายถึงต้นพืชที่มีมากกว่า 1 genotypes ในต้นเดียวกัน
LII- Sporoderm
(sporogenous tissues,
reproductive organs)
LI-Epiderm
(epidermis)
LIII- Ground Tissue
(vascular tissues)
ชนิ ดของไคเมอร่า
Sectoral
Periclinal
Mericlinal
ชนิ ดของไคเมร่า
Sectoral
Periclinal
Mericlinal
ชนิ ดของไคเมร่า
Sectoral
Periclinal
Mericlinal
ชนิ ดของไคเมร่า
Sectoral
Periclinal
Mericlinal
Transposable Elements
Transposable Elements
(transposons, control elements, jumping genes)
ค้นพบโดย Dr. Barbara McClintock
Transposable Elements
* DNA
*
ที่สามารถเคลื่อนที่ไปยังตาแหน่ งอืน่ ในจีโนมได้
มีลาดับเบส “inverted repeat”
E F G H
E F G H
H G F E
H G F E
ระบบ Ac/Ds ในข้าวโพด
Ac = Autonomous element
Ds = Dissociation element
Transposon
Animation
ควรใช้การกลายพันธุเ์ มื่อ
1. ความแปรปรวนทางพันธุกรรมหมดไป เนื่ องจากแหล่ง
พันธุกรรมถูกทาลาย
2. เมื่อหายีนที่ตอ้ งการไม่ได้ ไม่มีพนั ธุซ์ ่ึงเป็ นแหล่งของยีน
หรือมีแต่อยู่ไกล หรือผสมไม่ตดิ
3. เมื่อไม่ทราบว่ามียนี นั้นหรือไม่ เช่น ยีนต้านทานโรค แมลง
ชนิ ดใหม่
ข้อดีและข้อเสียในการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดยวิธีกลายพันธุ ์
ข้อดี
1. ทาให้เกิดความปรวนแปรทางพันธุกรรมมากมาย ความ
ปรวนแปรโดยการกลายพันธุเ์ ป็ นการเปลี่ยนแปลงของยีนซึ่งเป็ น
ต้นตอของลักษณะใหม่ (ได้ allele ใหม่) ต่างจากความปรวนแปร
จากการผสมพันธุ ์ มักเกิดจากการรวมตัวของยีน (recombination)
แบบต่าง ๆ
ข้อดีและข้อเสียในการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดยวิธีกลายพันธุ ์
ข้อดี
2. ใช้เมื่อการปรับปรุงลักษณะต่างๆ มาถึงจุดสูงสุด ซึ่งอาจเกิดจาก
การขาดความปรวนแปร หรือแหล่งยีนที่ดี
3. ใช้เวลา แรงงาน และทุนน้อยกว่าวิธีอน่ื ๆ
ข้อดีและข้อเสียในการปรับปรุงพันธุพ์ ชื โดยวิธีกลายพันธุ ์
ข้อเสีย
1. ไม่สามารถกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ได้อย่างแน่ นอน
2. ไม่สามารถใช้ได้กว้างขวางและทัว่ ไป ต้องใช้เครื่องมือ
ราคาแพง และต้องการความรูห้ รือเทคนิ คเฉพาะในระดับสูง