ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท างาน โครงการพัฒนานักบริหารมหาวิทยาลัยมหิดล บรรยายโดย

Download Report

Transcript ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท างาน โครงการพัฒนานักบริหารมหาวิทยาลัยมหิดล บรรยายโดย

ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
โครงการพัฒนานักบริหารมหาวิทยาลัยมหิดล
บรรยายโดย
รศ.ดร.เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล
เรื่ อง นโยบายด้ านความปลอดภัยของมหาวิทยาลัยมหิดล
ด้วยมหาวิทยาลัยมหิ ดลเป็ นสถาบันอุดมศึกษาที่มีการเรี ยนการสอน
การวิจยั และการบริ การวิชาการในหลายสาขาวิชาทั้งด้านการแพทย์
สาธารณสุ ข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ
และมีคณะ/สถาบัน/วิทยาลัย/สานัก/โครงการ/ศูนย์ อยูใ่ นพื้นที่หลายวิทยาเขต
มหาวิทยาลัยมหิ ดลจึงได้ตระหนักถึงความสาคัญในการดูแลความ
ปลอดภัยของสุ ขภาพอนามัยของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงสิ่ งแวดล้อมใน
การปฏิบตั ิงาน และเนื่องจากมหาวิทยาลัยมีการดาเนินการเรี ยนการสอนและ
การวิจยั ที่มีการใช้มีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม ( genetically modified organisms)
เซลล์ตน้ กาเนิด (stem cells) เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค (infectious agents) แมลงและ
สัตว์ที่เป็ นพาหะ (arthropod vectors) สารเคมีอนั ตราย (hazardous chemicals)
รังสี (radiation) และสารกัมมันตรังสี ( radioisotopes) ทั้งในห้องปฏิบตั ิการและ
ภาคสนาม จึงมีนโยบายด้านความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานด้านการเรี ยนการ
สอน การวิจยั และการบริ การวิชาการ รวมทั้งความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ
สิ่ งแวดล้อม โดยมีความมุ่งมัน่ ดาเนินการเพื่อให้สภาพและสิ่ งแวดล้อมในการ
ทางานมีความปลอดภัยถูกสุ ขลักษณะ พยายามลดและขจัดสิ่ งซึ่ งอาจเป็ นแหล่ง
หรื อสาเหตุของอันตราย และมีเจตนารมณ์ที่จะปฏิบตั ิตามมาตรฐานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของประเทศ และข้อเสนอแนะจากองค์กรทั้งในและ
ต่างประเทศซึ่ งเป็ นที่ยอมรับทัว่ ไป
นโยบายความปลอดภัยของมหาวิทยาลัยมหิดล เน้ นหลักสาคัญ ดังนี้
๑. การปฏิบตั ิตามกฎระเบียบและข้อบังคับ เพื่อความปลอดภัยด้าน
อาชีวอนามัยและสิ่ งแวดล้อม
๒. ประเมิน จัดการ และควบคุมการเสี่ ยงทุกระดับทั้งด้านการเรี ยนการ
สอน การวิจยั และการบริ การวิชาการ อย่างเหมาะสมครบวงจร
๓. การเสริ มสร้างขีดความสามารถของบุคลากร เพิม่ จิตสานึกให้ความรู ้
ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่บุคลากรและนักศึกษา
๔. พัฒนาสิ่ งอานวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องด้าน
ความปลอดภัยในด้านอาชีวอนามัยและสิ่ งแวดล้อม
๕. การบารุ งและการใช้ทรัพยากรทางชีวภาพให้เป็ นประโยชน์อย่างยัง่ ยืน
ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๐
(ศาสตราจารย์เกียรติคุณพรชัย มาตังคสมบัติ)
อธิ การบดีมหาวิทยาลัยมหิ ดล
คาสั่ งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ 1451/2549
เรื่ อง แต่ งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล
(Mahidol University Safety Committee)
ด้วยมหาวิทยาลัยมหิ ดล คานึงถึงความสาคัญในการควบคุมดูแลความปลอดภัย
ของบุคลากรและสิ่ งแวดล้อม ในการดาเนินงานวิจยั ที่มีการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลง
พันธุกรรม (Genetically modified organisms) เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค (Infectious agents)
แมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหนะ (Arthropod vector) สารเคมี (Hazardous chemical) รังสี
(Radiation) และสารกัมมันตภาพรังสี (Radioisotope) รวมไปถึงความปลอดภัยทาง
อาชีวอนามัยและสิ่ งแวดล้อม จึงเห็นสมควรให้ยกเลิกคาสัง่ มหาวิทยาลัยมหิ ดล ที่
831/2549 เรื่ อง แต่งตั้งคณะกรรมการชีวนิรภัย (Institute biosafety committee) ฉบับลง
วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 และแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิ ดล
โดยมีบุคคล ดังรายนามต่อไปนี้เป็ นคณะกรรมการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
อธิการบดี
ศาสตราจารย์เกียรติคุณสกล พันธุ์ยมิ้
รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั
ศาสตราจารย์บุญส่ ง องค์พิพฒั น์กลุ
รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
รองศาสตราจารย์ประเสริ ฐ เอื้อวรากุล
รองศาสตราจารย์ศนั สนีย ์ ไชยโรจน์
รองศาสตราจารย์มธุรส พงษ์ลิขิตมงคล
รองศาสตราจารย์ปทุมรัตน์ ตูจ้ ินดา
รองศาสตราจารย์สุพตั รา แสงรุ จิ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์มณ
ั ฑนา ธนะไชย
ผูอ้ านวยการกองบริ หารงานวิจยั
นางสาวจิราภรณ์ เทียมพันธ์พงศ์
ที่ปรึ กษา
ที่ปรึ กษา
ประธาน
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
กรรมการและ
ผูช้ ่วยเลขานุการ
ให้คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ ดังนี้
1. วางนโยบาย ข้อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวข้องกับการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลง
พันธุกรรม (Genetically modified organisms) เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค (Infectious
agents) แมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหนะ (Arthropod vector) สารเคมี (Chemical)
รังสี (Radiation) และสารกัมมันตภาพรังสี (Radioisotope) ในห้องปฏิบตั ิการและ
ภาคสนาม รวมไปถึงความปลอดภัยทางอาชีวอนามัยและสิ่ งแวดล้อม
(Occupational health safety and environment)
2. กากับดูแลการดาเนินงานคณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ
(Biosafety subcommittee) คณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางรังสี (Radiation
safety subcommittee) คณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางเคมี (Chemical safety
subcommittee) และอนุกรรมการความปลอดภัยทางอาชีวอนามัยและสิ่ งแวดล้อม
(Occupational health safety and environment)
3. สนับสนุนให้มีการพัฒนาความรู ้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง กับงานที่มีการใช้
สิ่ งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically modified organisms) เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อ
โรค (Infectious agents) แมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหนะ (Arthropod vector) สารเคมี
(Chemical) รังสี (Radiation) และสารกัมมันตภาพรังสี (Radioisotope) ใน
ห้องปฏิบตั ิการและภาคสนาม รวมไปถึงความปลอดภัยทางอาชีวอนามัยและ
สิ่ งแวดล้อม (Occupational health safety and environment)
4. เป็ นผูป้ ระสานงานกับคณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพของ
ประเทศไทย และคณะกรรมการระดับสถาบันอื่นๆ ที่มีงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป โดยมีวาระเท่ากับอธิการบดี
สัง่ ณ วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2549
(ศาสตราจารย์เกียรติคุณพรชัย มาตังคสมบัติ)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิ ดล
คาสั่ งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ 1450/2549
เรื่ อง แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ
มหาวิทยาลัยมหิดล (Biosafety Subcommittee)
ด้วยมหาวิทยาลัยมหิ ดล คานึงถึงความสาคัญในการควบคุมดูแล
ความปลอดภัยของบุคลากรและสิ่ งแวดล้อม ในการดาเนินงานวิจยั ที่มีการ
ใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically modified organisms)
เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค (Infectious agents) แมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหนะ
(Arthropod vector) จึงเห็นสมควรให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการความ
ปลอดภัยทางชีวภาพ โดยมีบุคคล ดังรายนามต่อไปนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
ศาสตราจารย์เกียรติคุณสกล พันธุ์ยมิ้
รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั
ศาสตราจารย์บุญส่ ง องค์พิพฒั น์กลุ
รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
รองศาสตราจารย์ประเสริ ฐ เอื้อวรากุล
รองศาสตราจารย์ศนั สนีย ์ ไชยโรจน์
รองศาสตราจารย์มธุรส พงษ์ลิขิตมงคล
ผูอ้ านวยการกองบริ หารงานวิจยั
นางสาวจิราภรณ์ เทียมพันธ์พงศ์
ที่ปรึ กษา
ประธานคณะอนุกรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
กรรมการและ
ผูช้ ่วยเลขานุการ
ให้คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ ดังนี้
1. วางระบบและมาตรการการตรวจสอบและควบคุมงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยที่
เกี่ยวข้องกับการใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically modified
organisms) เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค (Infectious agents) รวมทั้งแมลงและสัตว์ที่เป็ น
พาหนะ (Arthropod vector) ในห้องปฏิบตั ิการและภาคสนาม
2. ควบคุมดูแลการสัง่ ซื้อสิ่ งมีชีวิตที่เกิดจากงานวิจยั และ /หรื อการผลิตสิ่ งมีชีวิต
ดัดแปลงพันธุกรรม เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค รวมทั้งแมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหนะ
หรื อมีแผนการที่จะปล่อยสิ่ งมีชีวิตประเภทดังกล่าวสู่ สิ่งแวดล้อม
3. พิจารณาให้การรับรองโครงการวิจยั ที่ดาเนินการเกี่ยวกับ การใช้สิ่งมีชีวิต
ดัดแปลงพันธุกรรม เชื้อจุลินทรี ยก์ ่อโรค รวมทั้งแมลงและสัตว์ที่เป็ นพาหนะ ที่
จะมีการทดลองในห้องปฏิบตั ิการและภาคสนาม พร้อมทั้งติดตามผล /ประเมิน
ตรวจสอบการดาเนินงาน
4. รายงานผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพให้คณะกรรมการความ
ปลอดภัยมหาวิทยาลัยทราบ
5. ดาเนินการในเรื่ องเฉพาะกิจที่อธิการบดีมอบหมาย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป โดยมีวาระเท่ากับอธิการบดี
สัง่ ณ วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2549
(ศาสตราจารย์เกียรติคุณพรชัย มาตังคสมบัติ)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิ ดล
คาสั่ งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ 1856/2549
เรื่ อง แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางเคมี
มหาวิทยาลัยมหิดล (Chemical Safety Subcommittee)
ด้ ว ยมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ดล ค านึ งถึ ง ความส าคั ญ ในการ
ควบคุ ม ดู แ ลความปลอดภัย ของบุ ค ลากรและสิ่ ง แวดล้อ ม ในการ
ดาเนิ นงานที่มีการใช้สารเคมี (Chemical) โดยเฉพาะสารเคมีอนั ตราย
(Hazardous chemical) จึงเห็นสมควรให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการความ
ปลอดภัยทางเคมี โดยมีบุคคล ดังรายนามต่อไปนี้เป็ นคณะอนุกรรมการ
๑. รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั
๒. รองศาสตราจารย์ปทุมรัตน์ ตูจ้ ินดา
๓. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์อรอุมา เขียวหวาน
๔. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ศิวพร มีจู
๕. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ศิริมา สงวนสิ น
๖. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงวัฒนา วัฒนาภา
๗. รองศาสตราจารย์วีณา จิรัจฉริ ยากูล
๘. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์จารัส พร้อมมาศ
๙. อาจารย์ถิรวรรณ นิพิฎฐกุล
๑๐. ผูอ้ านวยการกองบริ หารงานวิจยั
ที่ปรึ กษา
ประธาน
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการและ
เลขานุการ
อนุกรรมการและ
เลขานุการ
ให้คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ดงั นี้
๑. กาหนดนโยบาย ข้อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิ ในการดาเนินการเกี่ยวกับ
การใช้สารเคมี ที่เป็ นมาตรฐานกลาง เพื่อให้ทุกหน่วยงานของ
มหาวิทยาลัยมหิ ดล นาไปปฏิบตั ิ
๒. วางระบบและมาตรการตรวจสอบและควบคุมงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ สารเคมี ในห้องปฏิบตั ิการและภาคสนาม
๓. รายงานผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยทางเคมีให้คณะกรรมการความ
ปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิ ดล ทราบ
๔. ปฏิบตั ิภารกิจอื่น ๆ ตามที่อธิการบดีและคณะกรรมการความปลอดภัย
มหาวิทยาลัยมหิ ดลมอบหมาย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป โดยมีวาระเท่ากับอธิ การบดี
สั่ง ณ วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
(ศาสตราจารย์เกียรติคุณพรชัย มาตังคสมบัติ)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิ ดล
คาสั่ งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ 1967/2549
เรื่ อง แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการความปลอดภัยทางรังสี
มหาวิทยาลัยมหิดล (Radiation Safety Subcommittee)
ด้วยมหาวิทยาลัยมหิ ดล คานึงถึงความสาคัญในการควบคุมดู แลความ
ปลอดภัย ของบุ ค ลากรและสิ่ ง แวดล้อ ม ในการปฏิ บ ัติ ง านที่ มี ก ารใช้รั ง สี
(Radiation) และสารกัมมันตภาพรั งสี (Radioisotope) จึ งเห็ นสมควรแต่งตั้ง
คณะอนุ กรรมการความปลอดภัยทางรังสี โดยมีบุคคลดังรายนามต่อไปนี้เป็ น
คณะอนุกรรมการ
๑. รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั
๒. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุ พตั รา แสงรุ จิ
๓. ศาสตราจารย์วรชาติ สิ รวราภรณ์
๔. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงชนิสา โชติพานิช
๕. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สุรัตน์ วินิจสร
๖. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ชาญณรงค์ แสงหิ รัญ
๗. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ศิรินนั ท์ วิเศษสิ นธุ์
๘. อาจารย์นวลเพ็ญ ดารงกิจอุดม
๙. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงมัณฑนา ธนะไชย
๑๐.อาจารย์วิโรจน์ ช่างม่วง
๑๑. ผูอ้ านวยการกองบริ หารงานวิจยั
ที่ปรึ กษา
ประธานคณะอนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการและ
เลขานุการ
อนุกรรมการและ
ผูช้ ่วยเลขานุการ
อนุกรรมการและ
ผูช้ ่วยเลขานุการ
ให้คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ดงั นี้
๑. พิจารณาข้อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิ ในการดาเนินการเกี่ยวกับการใช้
รังสี และสารกัมมันตรังสี ที่เป็ นมาตรฐานกลาง เพื่อให้ทุกหน่วยงานของ
มหาวิทยาลัยมหิ ดล นาไปปฏิบตั ิ
๒. วางระบบและมาตรการตรวจสอบและควบคุมดูแลงานที่ใช้รังสี
(Radiation) และสารกัมมันตภาพรังสี (Radioisotope) ในห้องปฏิบตั ิการ
และภาคสนาม
๓. รายงานผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยทางรังสี ให้คณะกรรมการ
ความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิ ดล ทราบ
๔. ปฏิบตั ิภารกิจอื่น ๆ ตามที่อธิการบดีและคณะกรรมการความปลอดภัย
มหาวิทยาลัยมหิ ดลมอบหมาย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป โดยมีวาระเท่ากับอธิการบดี
สัง่ ณ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
(ศาสตราจารย์เกียรติคุณพรชัย มาตังคสมบัติ)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิ ดล
คาสั่ งมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ 1968/2549
เรื่ อง แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University
Occupational Safety, Health and Environment Subcommittee)
ด้วย มหาวิทยาลัยมหิ ดล ตระหนักถึงความสาคัญของสุ ขภาพ
ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของบุคลากรและ
นั ก ศึ ก ษาที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ งานวิ จ ัย ของมหาวิ ท ยาลัย มหิ ด ล จึ ง
เห็ นสมควรแต่งตั้งคณะอนุ กรรมการความปลอดภัยอาชี วอนามัย
และสิ่ งแวดล้อม โดยมีบุคคลดังรายนามต่อไปนี้
๑. รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั
๒. รองศาสตราจารย์เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์
๓. ศาสตราจารย์อรษา สุ ตเธียรกุล
๔. รองศาสตราจารย์วิชยั พฤกษ์ธาราธิกลุ
๕. รองศาสตราจารย์มธุรส พงษ์ลิขิตมงคล
๖. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รพีพฒั น์ ชคัตประกาศ
๗. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์วินยั รัตนสุ วรรณ
๘. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์อภิชาต นนท์ประเสริ ฐ
๙. รองศาสตราจารย์วนั ทนีย ์ พันธุ์ประสิ ทธิ์
๑๐. ผูอ้ านวยการกองบริ หารงานวิจยั
ที่ปรึ กษา
ประธานคณะอนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการ
อนุกรรมการและเลขานุการ
อนุกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
ให้คณะกรรมการชุดนี้มีหน้าที่ดงั นี้
๑. พิจารณาข้อกาหนด และแนวทางปฏิบตั ิงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยั
ให้สอดคล้องกับข้อเสนอแนะของ องค์กรระดับชาติ และนานาชาติ
๒. วางระบบและมาตรการตรวจสอบ และดูแลงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อให้สามารถดาเนิ น
งานวิจยั ได้ตามมาตรฐานและสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๓. รายงานผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานให้คณะกรรมการความปลอดภัย
มหาวิทยาลัยมหิ ดลทราบ
๔. ปฏิบตั ิภารกิจอื่น ๆ ตามที่อธิการบดีและคณะกรรมการความปลอดภัย
มหาวิทยาลัยมหิ ดลมอบหมาย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป โดยมีวาระเท่ากับอธิการบดี
สัง่ ณ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
(ศาสตราจารย์เกียรติคุณพรชัย มาตังคสมบัติ)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิ ดล
CARING FOR OUR PEOPLE
Increasing Awareness
• Intensive industrial and
economic development
over the past decade or
more.
• Strains on the
environment and
natural resources.
• Unprecedented air and
water pollution.
• Hazardous and solid waste
management challenges.
• International
emphasis on worker
health and safety.
Figure 1. Annual incidence of fatal occupational
50
accidents per 100,000 workers in selected countries
40
30
20
10
0
FI
Fatalities/100,000
workers
SE
NO DK BE
US
CA AU
JP
MY TH KR
ID
FJ
Country
Country codes :
FI = Finland; SE = Sweden; NO = Norway; DK = Denmark; BE = Belgium; US = USA; CA = Canada;
AU = Australia; JP = Japan; MY = Myanmar; TH = Thailand; KR = Republic of Korea; ID = Indonesia; FJ = Fiiji
Source : Jukka Takala.1992. Safety and health information system: Analysis of local,national and global methods
(doctoral thesis). Tampere University of Technology,Tampele,Finland.
ส่ งสิ นค้ าไปต่ างประเทศ
ISO
มาตรฐานระบบบริหารจัดการ
9000
คุณภาพ
14000
สิ่ งแวดล้ อม
26000
Social Responsibility
(SA 8000, มรท.8001)
OHSAS 18001
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(ILO-OSHMS 2001, มอก.18001)
HA
มาตรฐานรับรองโรงพยาบาล
สถิติการประสบอันตรายเนื่องจากการทางาน 2535 – 2547
(ในข่ ายกองทุนเงินทดแทน)
ทีม่ า : สานักงานกองทุนเงินทดแทน
สานักงานประกันสั งคม กระทรวงแรงงาน
การเจ็บป่ วย-โรคเกีย่ วเนื่องจากการทางาน
• การสู ญเสี ยการได้ยนิ
- ปั๊ มโลหะ 56.7 %
- ทอผ้า 51.0 %
- ซ่อมบารุ ง 35.4 %
• โรคปอด
- ไยฝ้าย (Byssinosis)
PR = 22 %
IR = 3 %
- ฝุ่ นทราย (Silicosis)
PR = 9.3 %
- ไยหิน (Asbestosis)
PR = 5.2 %
(ทาเบรค, คลัทซ์, ท่อไยหิ น,ปูนซีเมนต์)
• โรคพิษโลหะหนัก
- ตะกัว่
- ปรอท
- แมงกานีส
- สารหนู
• โรคตา
- การทางานกับจอคอมพิวเตอร์
- การเชื่อม ตัด โลหะ
• โรคปวดหลัง
- กล้ามเนื้อ
- กระดูก
การสู ญเสี ยจากการอุบัตเิ หตุ
(ACCIDENT COSTS)
* DIRECT COSTS (INSURED COSTS)
• Medical
• Compensation
• Hospitalization
• Burial
INDIRECT COSTS
• Poor employee
morale
• Poor public
relations
(UNINSURED COSTS)
(HIDDEN COSTS)
ICEBERG THEORY
•
•
•
•
•
•
Building
Tool
Damage
Equipment
Product
Material
Production delays
and interruptions
• Wage paid to victims
other than
compensation
HIPPO
PHENOMENON
สู ญเสี ยทางตรง
1600 ล้านบาท
4% GDP
= 200,000 ล้านบาท
สู ญเสี ยทางอ้ อม
ค่ ารักษาพยาบาล
ค่ าทดแทนสู ญเสี ยอวัยวะ
ค่ าทาศพ
อุบัตเิ หตุ/ การสู ญเสีย
Accident/ Loss
เหตุการณ์ ที่ไม่ พงึ ปรารถนา
Undersired event
แหล่งพลังงาน
Source of Energy
- ไฟฟ้า - เครื่ องจักร - ความร้ อน - แสง
- เสียง - รังสี
- สารเคมี - ฯลฯ
สัมผัส
Contact
เกินกว่าขีดจากัดความทนได้
(Threshold Limit)
โครงสร้ างอาคารสถานที่
เครื่ องจักร ฯลฯ
ร่ างกาย
อุบัตเิ หตุ/ การสู ญเสีย
ชีวติ
ทรัพย์ สิน
กระบวนการผลิต
สาธารณะสิ่งแวดล้อม
AICCDENT RATIO STUDY
• อุบตั ิเหตุที่มีการบาดเจ็บร้ายแรง
(SERIOUS OR MAJOR INJURY)
• อุบตั ิเหตุที่มีการบาดเจ็บเล็กน้อย
(MINOR INJURY)
• อุบตั ิเหตุที่มีการสู ญเสี ยทรัพย์สิน
(PROPERTY DAMAGEACCIDENTS)
• อุบตั ิการณ์ที่ไม่มีการบาดเจ็บหรื อ
สู ญเสี ยทรัพย์สิน (ภาวะใกล้เกิด
อุบตั ิเหตุ)
(INCIDENTS WITH NO VISIBLE
INJURY OR DMGE) (NAER-MISS)
FRANK E BIRDศึกษาจากอุบตั เิ หตุ 1,750,000 ราย จาก 297 บริษัท (ปี คศ.1969)
1
10
30
600
ความสั มพันธ์ ระหว่ างระบบงานกับการอุบัตเิ หตุ
1.การกระทาไม่
ปลอดภัย
(Unsafe Act)
คน
เครื่ องจักร
เครื่ องมือ
การบริหาร การจัดการ
วัตถุดบิ
สิ่ งแวดล้ อม
อุบตั ิเห
ตุ
+
โรค
จากการ
ทางาน
2.สภาพการทางาน
ที่ไม่ ปลอดภัย
(Unsafe condition)
สาเหตุอบุ ัตเิ หตุ
-ไม่ปฏิบตั ิตามกฏความปลอดภัย
-ขาดจิตสานึกความปลอดภัย
-ทางานเสี่ ยงอันตราย
-ทัศนคติไม่ถูกต้อง
-หยอกล้อขณะทางาน
-เครื่ องป้องกันอันตรายไม่ใช้
-แต่งกายไม่รัดกุม
-ทางานโดยไม่มีหน้าที่
-ทางานเร็ วเกินไป
-ใช้เครื่ องมือไม่เหมาะกับงาน
-สุขภาพไม่สมบูรณ์
-สุขภาพจิตใจ
-เครื่ องมือ เครื่ องจักรชารุ ด
-เครื่ องจักรไม่มีการ์ด
-อาคารชารุ ด ไม่มนั่ คง
-พื้นสกปรก ลื่น
-การจัดวางไม่เป็ นระเบียบ
-สิ่ งแวดล้อมผิดสุขลักษณะ
* แสงไม่เพียงพอ
* ความร้อนสูง
* เสี ยงดัง
* สารเคมีฟ้งุ กระจาย
* การระบายอากาศไม่เหมาะสม
รูปแบบการเกิดอุบัตเิ หตุ
เทคโนโลยี
ระบบการทางาน
(สาเหตุและการป้ องกัน)
ความล้มเหลว
การกระทาที่ไม่ปลอดภัย
การบริ หารจัดการ
สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัย
ข้อมูล-ข่าวสาร
ไม่มีการบาดเจ็บหรื อเสี ยหาย
ความผิดพลาด
ในการบริ หารจัดการ
ความผิดพลาด
ในระบบ
ความผิดพลาดของ
ผูป้ ฏิบตั ิงาน
-การฝึ กอบรม
-การจูใจ กระตุน้
-การออกแบบงาน
-การออกแบบใหม่
-นโยบาย
-วิศวกรรม
-การฝึ กอบรม
-การกระตุน้ จูงใจ
อุบัตเิ หตุ
การบาดเจ็บหรื อเสี ยหาย
กิจกรรมกาจัดวงการสูญเ้ สี ย
- การป้องกันอัคคีภยั
- การกูภ้ ยั
- การช่วยชีวิต
- การปฐมพยาบาล
LOSS CAUSATION MODEL
แผนภูมิ : สาเหตุการสู ญเสี ย
ขาดมาตรการควบคุม
LACK OF CONTROL
สาเหตุพ้ืนฐาน
BASIC CAUSE
สาเหตุหลัก
IMMEDIATE
CAUSE
อุบตั ิการณ์
INCIDENT
การสูญเสี ย
LOSS
ไม่สามารถปฏิบตั ิตามกฎหมายหรื อ ตามมาตรฐานความปลอดภัย
FAILURE TO MAINTAIN COMPLIANCE W ADEQUATE STD.
ปัจจัยเกี่ยวกับ
คนทางาน (PERSONAL FACTORS)
ปัจจัยเกี่ยวกับงาน
(JOB FACTORS)
การกระทาที่ ไม่ปลอดภัย
สภาพที่ไม่ปลอดภัย
UNSAFE ACT OR
UNSAFE COUNDITION
SUBSTANDARD PRACTICES OR SUBSATANDARD CONDITIONS
สัมผัส (CONTACT)
-ถูกหนีบ -ถูกกระแทก -ถูกตี
-ถูกชน
-ลิ่น หกล้ม -สัมผัส
-ไฟฟ้าและอื่นๆ -ทางานหนัก
คนงาน
บาดเจ็บ
- รุ นแรงมาก
- ปานกลาง
- น้อย
ทรัพย์สิน
เสี ยหาย
- มาก
- ปานกลาง
- น้อย
กระบวนการผลิต
เสี ยหาย
- มาก
- ปานกลาง
- น้อย
ระบบการจัดการ
อาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัย
แผนภูมิ : การพัฒนาการความปลอดภัย
การป้ องกันการสู ญเสี ย
การควบคุมการสู ญเสี ย
การป้องกัน
การสูญเสี ย
LOSS PREVENTION
ความปลอดภัย
(SAFETY)
ความเสี ยหายและภาวะใกล้
เกิดอุบตั ิเหตุ
DAMAGE AND NEARMISS ACCIDENT
การบริ หารความเสี่ ยง
RISK MANAGEMENT
การควบคุม
การสูญเสี ย
LOSS CONTROL
การประกันภัย
INSURANCE
• อัคคีภยั
•รักษาความปลอดภัย (SECURITY)
•มลพิษ(POLLUTION)
•ความเชื่อถือได้ของผลผลิต
(PRODUCT LIABILITY)
•ความชะงักงันของธุรกิจ
(BUSINESS INTERUPTION)
มอก 18001
OSHAS 18001
ILO-OSHMS 2001
การบริหารเพื่อควบคุม
ความสูญเสี ย
LOSS CONTROL MANAGEMENT
Serious injury
Minor injury
1
10
Property damage
30
Near accident
600
อุบัตเิ หตุร้ายแรง (หยุดงาน)
อุบัตเิ หตุเล็กน้ อย (ปฐมพยาบาล)
ทรัพย์ สิน เสี ยหาย
เหตุการณ์ เกือบเกิดอุบัตเิ หตุ
(NEAR MISS)
สภาพการทางานที่ไม่ ปลอดภัย
* (Substandard Condition)
การกระทาที่ไม่ ปลอดภัย
** (Substandard Practice)
การบริหารจัดการความปลอดภัยอาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้ อมในการทางาน
(OHS&E Management)
•ผูบ้ ริ หารสูงสุด
•คณะกรรมการความปลอดภัย
•จป.บริ หาร
•จป.หัวหน้างาน
“ความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน”
หมายความว่ า การกระทาหรื อสภาพการทางาน ซึ่งปลอดจาก
อุบัตเิ หตุอนั จะทาให้ เกิดการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อ
ความเดือดร้ อนราคาญ อันเนื่องจากการทางานหรื อเกีย่ วกับการ
ทางาน
กฎหมายด้ านอาชีวอนามัยความปลอดภัย และสภาพแวดล้ อม
ในการทางาน
1. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้ านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2549
2. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการฯ เกีย่ วกับความ
ร้ อน แสงสว่ าง และเรื่ อง พ.ศ. 2549
3. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการฯ ในทีอ่ บั อากาศ
พ.ศ. 2547
4. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการฯ เกีย่ วกับงาน
ประดานา้ พ.ศ. 2548
5. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการฯ เกีย่ วกับรังสี ชนิด
ก่อไอออน พ.ศ. 2547
6. ประกาศกระทรวงมหาดไทยเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
1. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร
2. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม (สารเคมี)
3. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับสารเคมีอนั ตราย
4. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า
5. ความปลอดภัยในการทางานก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง
6. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับปั้นจัน่
7. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวการตอกเสาเข็ม
8. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างว่าด้วยลิฟท์ขนส่ ง
วัสดุชวั่ คราว
9. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับการก่อสร้างด้วยนัง่ ร้าน
10.ความปลอดภัยในการทางานในสถานที่ที่มีอนั ตรายจากการตกจากที่สูง
วัสดุ กระเด็น ตกหล่นและการพังทลาย
11. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับหม้อน้ า
12. การป้องกันและระงับอัคคีภยั ในสถานประกอบการเพื่อความปลอดภัย
ในการทางานสาหรับลูกจ้าง
บทบาทและหน้ าที่และความรับผิดชอบของนักบริหารอุตสาหกรรม
หลักทั่วไปในกระบวนการบริหาร
•
•
•
•
•
บทบาทหน้ าที่
การวางแผนงาน (Planning)
การจัดการ (Organizing)
การจัดหาและพัฒนาบุคลากร
(Staffing)
การอานวยการ (Leading)
การควบคุมประเมินผล
(Controlling)
•
•
•
•
•
•
ความรับผิดชอบ
ผลผลิต (Production)
คุณภาพ (Quality)
ต้นทุน (Cost)
การส่ งมอบ (Delivery)
ความปลอดภัย (Safety) สุ ขภาพอนามัย
(Health) และสิ่ งแวดล้อม
(Environment)
สวัสดิการขวัญและกาลังใจ (Morale)
ระบบบริหารความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทางาน
ตัวอย่ าง
ประกาศ
นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริษทั ไทยฮอนด้ า แมนูแฟคเจอริ่ง จากัด
บริษัทฯ มีความห่ วงใยต่ อความปลอดภัยของชีวติ และสุ ขภาพอนามัยของพนักงาน
ทุกคน ในการปฏิบัติงานจึงกาหนดนโยบายด้ านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดย
มีหลักการปฏิบัติดงั นี้
1. ความปลอดภัยในการทางานเป็ นหน้ าที่ของพนักงานทุกคน
2. บริษัทฯ จะสนับสนุนการฝึ กอบรมและการจูงใจพนักงาน การพัฒนาสภาพการ
ทางาน สภาพแวดล้ อมให้ ถูกสุ ขลักษณะและปลอดภัยตลอดจนส่ งเสริมกิจกรรมความ
ปลอดภัยอื่นๆ
3. ผู้บังคับบัญชาทุกคน ต้ องควบคุมดูแลผู้ใต้ บังคับบัญชาให้ มีและใช้ อุปกรณ์ คุ้มครอง
ความปลอดภัยที่เหมาะสม
4. ผู้บังคับบัญชาทุกคน ต้ องฝึ กสอนและเป็ นตัวอย่ างในการปฏิบัติตามกฎความปลอด
ภัยแก่ พนักงาน
5. ผู้บังคับบัญชา ต้ องรับผิดชอบเกีย่ วกับความปลอดภัยของผู้ใต้ บังคับบัญชา ตลอดจน
อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ และสภาพการทางาน
6. พนักงานทุกคน ต้ องดูแลรักษาความสะอาด ความเป็ นระเบียบเรียบร้ อยของสถานที่
ทางาน
7. พนักงานทุกคน ต้ องคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองและเพื่อนร่ วมงาน ตลอดจน
ทรัพย์ สินของบริษัทฯ
8. พนักงานทุกคน ต้ องให้ ความร่ วมมือในโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ต่ างๆ ของบริษัทฯ
9. บริษัทฯ จะถือผลเกีย่ วกับความปลอดภัยเป็ นหลักเกณฑ์ หนึ่งในการประเมินผลการ
ปฏิบัติงาน
จึงประกาศมาเพื่อทราบ และถือปฏิบัติด้านความปลอดภัยในการทางานต่ อไป
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๐๓ แห่ งพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑ อันเป็ นกฎหมายทีม่ บี ทบัญญัตบิ างประการเกีย่ วกับการจากัดสิ ทธิและเสรีภาพ
ของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐
ของกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่ อไปนี้
ข้ อ ๑ กฎกระทรวงนีใ้ ห้ ใช้ บังคับแก่ กจิ การหรื อสถานประกอบกิจการ ดังต่ อไปนี้
(๑) การทาเหมือแร่ เหมืองหิน กิจการปิ โตรเลียมหรื อปิ โตรเคมี
(๒) การทา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่ อม ซ่ อมบารุ ง เก็บรักษา ปรับปรุ ง ตกแต่ ง เสริมแต่ ง
ดัดแปลง แปรสภาพ ทาให้ เสี ย หรื อทาลายซึ่งวัตถุหรื อทรัพย์ สิน รวมทั้งการต่ อเรื อ การให้
กาเนิด แปลง และจ่ ายไฟฟ้ าหรื อพลังงานอย่ างอื่น
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๓) การก่ อสร้ าง ต่ อเติม ติดตั้ง ซ่ อม ซ่ อมบารุ ง ดัดแปลง หรื อรื้อถอนอาคาร สนามบิน
ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ ดนิ ท่ าเรื อ อู่เรื อ สะพานเทียบเรื อ ทางนา้ ถนน เขื่อน อุโมงค์
สะพาน ท่ อระบายนา้ ท่ อนา้ โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้ า ก๊าซหรื อประปา หรื อสิ่ งก่อสร้ างอื่นๆ
รวมทั้งการเตรียมหรื อวางรากฐานของการก่อสร้ าง
(๔) การขนส่ งคนโดยสารหรื อสิ นค้ าโดยทางบก ทางนา้ ทางอากาศ และรวมทั้งการบรรทุก
ขนถ่ ายสิ นค้ า
(๕) สถานีบริการหรื อจาหน่ ายนา้ มันเชื้อเพลิงหรื อก๊าซ
(๖) โรงแรม
(๗) ห้ างสรรพสิ นค้ า
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๘) สถานพยาบาล
(๙) สถาบันทางการเงิน
(๑๐) สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ
(๑๑) สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรื อการกีฬา
(๑๒) สถานปฏิบัติการทางเคมีหรื อชีวภาพ
(๑๓) สานักงานทีป่ ฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม (๑) ถึง (๑๒)
(๑๔) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกาหนด
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๓ ให้ นายจ้ างจัดให้ มีข้อบังคับ และค่ มู ือว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานไว้ ในสถาน
ประกอบกิจการ
ข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานตามวรรคหนี่ง อย่างน้ อยต้ องกาหนดขั้นตอน
และวิธีการปฏิบัตงิ านทีป่ ลอดภัยเพื่อควบคุมมิให้ มกี ารกระทาทีอ่ าจก่ อให้ เกิดความไม่ ปลอดภัย
ในการทางาน ทั้งนี้ นายจ้ างต้ องจัดให้ มกี ารอบรมและฝึ กปฏิบัตจิ นกว่ าลูกจ้ างจะสามารถทางาน
ได้ อย่ างถูกต้ องปลอดภัย รวมทั้งจัดวางระบบควบคุม กากับ ดูแล โดยกาหนดให้
เป็ นหน้ าทีร่ ับผิดชอบของเจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานทุกระดับ
ข้ อ ๔ ให้ นายจ้ างซึ่งมีผ้ รู ับเหมาชั้นต้ นหรื อผู้รับเหมาช่ วงเข้ ามาปฏิบัติงานในสถานประกอบ
กิจการ จัดให้ มขี ้ อบังคับและคู่มือตามข้ อ ๓ สาหรับผู้รับเหมาดังกล่ าวเพื่อกากับดูแลการ
ดาเนินงานของผู้รับเหมาให้ เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๕ ในกรณีทนี่ ายจ้ างรับลูกจ้ างเข้ าทางานใหม่ หรื อให้ ลูกจ้ างทางานใน
ลักษณะหรื อสภาพของงานทีแ่ ตกต่ างไปจากเดิมอันอาจเป็ นอันตรายต่ อสุ ขภาพ
อนามัยของลูกจ้ าง ให้ นายจ้ างจัดการอบรมลูกจ้ างให้ มคี วามรู้ เกีย่ วกับข้ อบังคับและ
คู่มือตามข้ อ ๓ ก่อนการปฏิบัติงาน
ข้ อ ๖ ในกรณีทนี่ ายจ้ างสั่ งให้ ลูกจ้ างไปทางาน ณ สถานทีอ่ ื่น ซึ่งอาจเสี่ ยงต่ อการเกิด
อันตราย ให้ นายจ้ างแจ้ งข้ อมูลเกีย่ วกับอันตรายจากการทางานในสถานทีด่ ังกล่ าวพร้ อมทั้ง
วิธีการป้ องกันอันตรายให้ ลูกจ้ างทราบก่ อนการปฏิบัติงาน
เจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
และหน่ วยงานความปลอดภัย (ตามกฎกระทรวงแรงงาน)
เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการ
ทางาน (จป.)
ระดับหัวหน้างาน
ระดับเทคนิค(ท)
ระดับเทคนิคขั้นสู ง (ทส)
ระดับวิชาชีพ
สถานประกอบกิจการ
ตามข้ อ
จานวนลูกจ้ าง
»2 คน
1(1) – (5)
1(6) – (14) »20 คน
1(2) – (5) 20 – 49 คน
1(2) – (5) 50 – 99 คน
1(1)
»2 คน
1(2) – (5) »100 คน
หน้ าที่
9 ข้อ
6 ข้อ
9 ข้อ
12 ข้อ
เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการ
ทางาน (จป.)
ระดับบริ หาร
คณะกรรมการความปลอดภัย
หน่วยงานความปลอดภัย
สถานประกอบกิจการ
ตามข้ อ
จานวนลูกจ้ าง
»2 คน
1(1) – (5)
1(6) – (14) »20 คน
1(1) – (14) »50 คน
1(1)
»2 คน
1(2) – (5) »200 คน
หน้ าที่
4 ข้อ
11 ข้อ
10 ข้อ
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๒๕ ให้ คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้ อมในการทางานมี
หน้ าที่ ดังต่ อไปนี้
(๑) พิจารณานโยบายและแผนงานด้ านความปลอดภัยในการทางาน รวมทั้งความ
ปลอดภัยนอกงาน เพื่อป้ องกันและลดการเกิดอุบัตเิ หตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อ
การเกิดเหตุเดือดร้ อนราคาญอันเนื่องมาจากการทางาน หรื อความไม่ ปลอดภัยในการทางาน
เสนอต่ อนายจ้ าง
(๒) รายงานและเสนอแนะมาตรการหรื อแนวทางปรับปรุ งแก้ ไขให้ ถูกต้ องตามกฎหมาย
เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางานและมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานต่ อนายจ้ าง
เพื่อความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้ าง ผู้รับเหมา และบุคคลภายนอกทีเ่ ข้ ามาปฏิบัติงาน
หรื อเข้ ามาใช้ บริการในสถานประกอบกิจการ
(๓) ส่ งเสริม สนับสนุน กิจกรรมด้ านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบ
กิจการ
(๔) พิจารณาข้ อบังคับและคู่มือตามข้ อ ๓ รวมทั้งมาตรฐานด้ านความปลอดภัยในการ
ทางานของสถานประกอบกิจการเสนอต่ อนายจ้ าง
(๕) สารวจการปฏิบัตกิ ารด้ านความปลอดภัยในการทางาน และตรวจสอบสถิตกิ าร
ประสบอันตรายที่เกิดขึน้ ในสถานประกอบกิจการนั้น อย่างน้ อยเดือนละหนึ่งครั้ง
(๖) พิจารณาโครงการหรื อแผนการฝึ กอบรมเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
รวมถึงโครงการหรื อแผนการอบรมเกีย่ วกับบทบาทหน้ าที่ความรับผิดชอบในด้ านความ
ปลอดภัยของลูกจ้ าง หัวหน้ างาน ผู้บริหาร นายจ้ าง และบุคลากรทุกระดับเพื่อเสนอความเห็น
ต่ อนายจ้ าง
(๗) วางระบบการรายงานสภาพการทางานทีไ่ ม่ ปลอดภัยให้ เป็ นหน้ าทีข่ องลูกจ้ างทุกคนทุก
ระดับต้ องปฏิบัติ
(๘) ติดตามผลความคืบหน้ าเรื่ องที่เสนอนายจ้ าง
(๙) รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมทั้งระบุปัญหา อุปสรรค และข้ อเสนอแนะใน
การปฏิบัติหน้ าที่ของคณะกรรมการเมื่อปฏิบัติหน้ าทีค่ รบหนึ่งปี เพื่อเสนอต่ อนายจ้ าง
(๑๐) ประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัยในการทางานของสถานประกอบ
กิจการ
(๑๑) ปฏิบัติงานด้ านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามที่นายจ้ างมอบหมาย
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๓๔ ให้ หน่ วยงานความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานมี
หน้ าที่ ดังต่ อไปนี้
(๑) วางแผนการดาเนินงานสาหรับการขจัดความเสี่ ยงของสถานประกอบกิจการ และดูแล
ให้ มีการดาเนินการอย่างต่ อเนื่อง
(๒) จัดทาข้ อเสนอแนะเกีย่ วกับการป้ องกันอันตรายจากอุบัตเิ หตุ อุบัตภิ ัยและควบคุม
ความเสี่ ยงภายในสถานประกอบกิจการ
(๓) จัดทาคู่มือและมาตรฐานว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานไว้ ในสถานประกอบ
กิจการเพื่อให้ ลูกจ้ างหรื อผู้ทเี่ กีย่ วข้ องได้ ใช้ ประโยชน์
(๔) กาหนดชนิดของอุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลทีเ่ หมาะสมกับลักษณะ
ความเสี่ ยงของงานเสนอต่ อนายจ้ าง เพื่อจัดให้ ลูกจ้ างหรื อผู้ทเี่ กีย่ วข้ องสวมใส่ ขณะปฏิบัติงาน
(๕) ส่ งเสริม สนับสนุน ด้ านวิชาการและการปฏิบัติงานของหน่ วยงานต่ างๆ ในสถาน
ประกอบกิจการ เพื่อให้ ลูกจ้ างปลอดจากเหตุอนั จะทาให้ เกิดการประสบอันตรายหรื อการ
เจ็บป่ วยอันเนื่องจากการทางาน รวมทั้งด้ านการควบคุมป้ องกันอัคคีภัยและอุบัตภิ ัยร้ ายแรง
ด้ วย
(๖) จัดอบรมเกีย่ วกับความรู้ พืน้ ฐานและข้ อปฏิบัตเิ กีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
แก่ ลูกจ้ างทีเ่ ข้ าทางานใหม่ ก่อนให้ ปฏิบัติงาน รวมทั้งลูกจ้ างซึ่งต้ องทางานทีม่ ีความแตกต่ าง
ไปจากงานเดิมทีเ่ คยปฏิบัตอิ ยู่และอาจเกิดอันตรายด้ วย
(๗) ประสานการดาเนินงานความปลอดภัยในการทางานกับหน่ วยงานต่ างๆ ทั้งภายใน
และภายนอกสถานประกอบกิจการ รวมทั้งหน่ วยงานราชการที่เกีย่ วข้ อง
(๘) ตรวจประเมินระบบความปลอดภัยในการทางานในภาพรวมของสถานประกอบกิจการ
(๙) รวบรวมผลการดาเนินงานของเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานทุกระดับ และ
ติดตามผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัยในการทางานให้ เป็ นไปตามนโยบาย และแผนงาน
ของสถานประกอบกิจการ พร้ อมทั้งรายงานให้ นายจ้ างและคณะกรรมการทราบทุกสามเดือน
(๑๐) ปฏิบัติงานด้ านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามทีน่ ายจ้ างมอบหมาย
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๙ ให้ เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้ างานมีหน้ าที่
ดังต่ อไปนี้
(๑) กากับ ดูแล ให้ ลูกจ้ างในหน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบปฏิบัติตามข้ อบังคับและคู่มือตาม
ข้ อ ๓
(๒) วิเคราะห์ งานในหน่ วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้ นหาความเสี่ ยงหรื ออันตรายเบื้องต้ น
โดยอาจร่ วมดาเนินการกับเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิค
ขั้นสู งหรื อระดับวิชาชีพ
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๓) สอนวิธีการปฏิบัติงานทีถ่ ูกต้ องแก่ ลูกจ้ างในหน่ วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้ เกิดความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
(๔) ตรวจสอบสภาพการทางาน เครื่ องจักร เครื่ องมือ และอุปกรณ์ ให้ อยู่ในสภาพที่
ปลอดภัยก่อนลงมือปฏิบัติงานประจาวัน
(๕) กากับ ดูแล การใช้ อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลของลูกจ้ างใน
หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
(๖) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิดเหตุเดือดร้ อนราคาญ อัน
เนื่องจากการทางานของลูกจ้ างต่ อนายจ้ าง และแจ้ งต่ อเจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน
ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสู ง หรื อระดับวิชาชีพ สาหรับสถานประกอบกิจการทีม่ ี
หน่ วยงานความปลอดภัยให้ แจ้ งต่ อหน่ วยงานความปลอดภัยทันทีทเี่ กิดเหตุ
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๗) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิดเหตุเดือดร้ อนราคาญ
อันเนื่องจากการทางานของลูกจ้ างร่ วมกับเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค
ระดับเทคนิคระดับสู ง หรื อระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ ไขปัญหา
ต่ อนายจ้ างโดยไม่ ชักช้ า
(๘) ส่ งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทางาน
(๙) ปฏิบัติงานด้ านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามที่เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการ
ทางานระดับบริหารมอบหมาย
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๒๑ ให้ เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหารมีหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้
(๑) กากับ ดูแล เจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของ
เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหาร
(๒) เสนอแผนงานโครงการด้ านความปลอดภัยในการทางานในหน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบ
ต่ อนายจ้ าง
(๓) ส่ งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางาน
ให้ เป็ นไปตามแผนงานโครงการเพื่อให้ มีการจัดการด้ านความปลอดภัยในการทางานที่
เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ
(๔) กากับ ดูแล และติดตามให้ มกี ารแก้ ไขข้ อบกพร่ องเพื่อความปลอดภัยของ
ลูกจ้ างตามทีไ่ ด้ รับรายงานหรื อตามข้ อเสนอแนะของเจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการ
ทางาน คณะกรรมการ หรื อหน่ วยงานความปลอดภัย
ข้ อ ๒๒ ให้ นายจ้ างจัดให้ เจ้ าหน้ าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานทุกระดับได้ รับการ
ฝึ กอบรมความรู้ เกีย่ วกับความปลอดภัยในการทางานเพิม่ เติม ตามระยะเวลา หลักเกณฑ์
และวิธีการทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้ อ ๑๘ ให้ เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพมีหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้
(๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้ นายจ้ างปฏิบัติตามกฎหมายเกีย่ วกับความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (ท, ทส)
(๒) วิเคราะห์ งานเพื่อชี้บ่งอันตราย รวมทั้งกาหนดมาตรการป้ องกันหรื อขั้นตอนการ
ทางานอย่างปลอดภัยเสนอต่ อนายจ้ าง (ท, ทส)
(๓) ประเมินความเสี่ ยงด้ านความปลอดภัยในการทางาน (ทส)
(๔) วิเคราะห์ แผนงานโครงการ รวมทั้งข้ อเสนอแนะของหน่ วยงานต่ างๆ และเสนอแนะ
มาตรการความปลอดภัยในการทางานต่ อนายจ้ าง (ทส)
(๕) ตรวจประเมินการปฏิบัตงิ านของสถานประกอบกิจการให้ เป็ นไปตามแผนงาน
โครงการหรื อมาตรการความปลอดภัยในการทางาน (ทส)
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๖) แนะนาให้ ลูกจ้ างปฏิบัตติ ามข้ อบังคับและคู่มือตามข้ อ ๓ (ท, ทส)
(๗) แนะนา ฝึ กสอน อบรมลูกจ้ างเพื่อให้ การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอนั จะทาให้ เกิด
ความไม่ ปลอดภัยในการทางาน (ทส)
(๘) ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้ อมในการทางาน หรื อดาเนินการร่ วมกับบุคคล
หรื อหน่ วยงานทีข่ นึ้ ทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็ นผู้รับรองหรื อ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานภายใน
สถานประกอบกิจการ
(๙) เสนอแนะต่ อนายจ้ างเพื่อให้ มกี ารจัดการด้ านความปลอดภัยในการทางานที่
เหมาะสมกับสถานประกอบกิจการ และพัฒนาให้ มีประสิ ทธิภาพอย่างต่ อเนื่อง
กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๔๙
(๑๐) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์ การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิด
เหตุเดือดร้ อนราคาญอันเนื่องมาจากการทางาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่ อนายจ้ าง
เพื่อป้ องกันการเกิดเหตุโดยไม่ ชักช้ า (ท, ทส)
(๑๑) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ ข้อมูล จัดทารายงาน และข้ อเสนอแนะเกีย่ วกับการประสบ
อันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิดเหตุเดือดร้ อนราคาญอันเนื่องจากการทางานของลูกจ้ าง
(ท, ทส)
(๑๒) ปฏิบัติงานด้ านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามทีน่ ายจ้ างมอบหมาย (ท, ทส)
พนักงานทั่วไป
1. ทางานด้วยความสานึกถึงความปลอดภัย
2. รายงานสภาพงานที่ไม่ปลอดภัย
3. เอาใจใส่ และปฏิบตั ิตามกฎข้อบังคับในการทางาน
4. ให้ความร่ วมมือกับบริ ษทั
5. เสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับความปลอดภัย
6. ไม่เสี่ ยงต่องานที่ยงั ไม่เข้าใจหรื อไม่แน่ใจ
7. ใช้อุปกรณ์ที่จดั ให้และแต่งกายให้รัดกุม
3 ป. กับการส่ งเสริมความปลอดภัย
3. ปรับเปลีย่ นให้ ปลอดภัย
(Make the change)
2. ประเมินความเสี่ ยง (Assess the risk)
1. ปลุก สานึกอันตราย (Spot the hazard)
กลยุทธ์ ในการลดอุบตั เิ หตุจากการทางาน
บริษทั ไทยฮอนด้ า แมนูแฟคเจอริ่ง จากัด
มาตรการ
เป้าหมาย
- อุบัติเหตุหยุดงานตั้งแต่ 1 วัน
ขึน้ ไปเป็ นศูนย์ Zero Accident/ Zero Fire
อุบัตเิ หตุร้ายแรง
- อุบัติเหตุข้ นั ปฐมพยาบาล
ลดลง 50 %
อุบัตเิ หตุข้นั ปฐมพยาบาล
- ต้ องรายงาน สอบสวน
วิเคราะห์ หาสาเหตุ
และแก้ไข ป้ องกัน
อุบัตเิ หตุทรัพย์ สินเสียหาย
เหตุการณ์ เกือบ
เกิดอุบัตเิ หตุ (Near-Miss)
สภาพการทางานที่ไม่ ปลอดภัย
การกระทาที่ไม่ ปลอดภัย
การบริหารจัดการความปลอดภัย
สอบสวนวิเคราะห์ หาสาเหตุและหามาตรการแก้ไขป้ องกัน
(เชิงรับ)
กิจกรรมเชิ งรุ ก
- การรายงานเหตุการณ์ เกือบอุบัติเหตุ
- การตรวจความปลอดภัย ,- การปรับปรุ งสภาพการทางาน
- 5 ส.
- การปรับปรุ งสภาพแวดล้ อมในการทางาน
- การฝึ กอบรมสอนงานความปลอดภัย
- การปฏิบัติตามกฎระเบียบและมาตรฐาน
ความปลอดภัยในการทางาน
- การทากิจกรรมความปลอดภัยเชิ งรุ ก (KYT,Safety Talk,
ข้ อเสนอแนะความปลอดภัย)
- การทา JSA/ SSOP
ตัวอย่ างการจัดทาแผนงาน/ กิจกรรมด้ านสุ ขภาพอนามัยคนงาน
แผนงาน/ กิจกรรม
1. การจัดระบบบริหารความปลอดภัยและสุขภาพ
.- การกำหนดนโยบาย
มค.
กพ.
มีค.
เมย.
ปี 2542
พค. มิย.
กค.
สค.
กย.
ตค.
ธค.
ผู้รับผิดชอบ
คก.ภ.
.- การจัดตั้งองค์กร บุคลากรรับผิดชอบ
.- การประชุมคระกรรมการความปลอดภัยฯ
2. การค้นหาอันตรายและประเมินความเสี่ยง
.- การสำรวจข้อมูล
คก.ภ.
.- การตรวจประเมินการจัดงาน
.- การตรวจประเมินสุขภาพคนงาน
3. การควบคุมสาเหตุโรคจากการทำงาน
.- การจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน
คก.ภ.
.- โครงการ 5 ส.
.- การตรวจสุขภาพคนงาน
.- การส่งเสริมสุขภาพ
.- โครงการการออกกำลังกาย
.- โครงการลดความเครียด
.- โครงการงดสิ่งเสพติด
.- โครงการส่งเสริมโภชนาการ
.- การจัดซื้ออุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
.- การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและเครื่องจักร
ด้ วยวิธีการทางวิศวกรรม
.- การปรับปรุงงาน
4. การประเมินผลสถิติการเกิดโรคจากการทำงาน
คก.ภ.
OCCUPATIONAL SAFETY AND HEALTH SERVICE
การบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ENVIRONMENT
HEALTH
MAN
PREVENTION
SAFETY
ความปลอดภัยใน +PROMOTION
การป้องกันและ
การทางาน
ส่ งเสริมสุ ขภาพ
INDUSTRIAL
MEDICAL CARE
HYGIENE
การรักษาพยาบาล
สุ ขวิทยาของโรงงาน
FIRST AID
ปรับปรุงงานให้
เหมาะสมกับคน
ERGONOMIC
สิ่ งแวดล้ อม
การฝึ กฟื้ นฟูสมรรถภาพ
REHABILITATION
คน
ข้ อกาหนดของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก.18001
การปรับปรุงอย่ างต่ อเนื่อง
4.6.1 การติดตาม
และวัดผลปฏิบัติ
4.6.2 การตรวจ
ประเมิน
4.6.3 การแก้ไข
และการป้ องกัน
4.6.4 การจัดทาและ
เก็บบันทึก
การทบทวน
การจัดการ
การตรวจสอบ
และแก้ ไข
ทบทวนสถานะ
เริ่มต้ น
นโยบาย
อาชีวอนามัย
และความปลอดภัย
การวางแผน
การนาไปใช้
และการปฏิบัติ
องค์ ประกอบของความสาเร็จของการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
4.4.1 การประเมิน
ความเสี่ ยง
4.4.2 กฎหมายและ
ข้ อกาหนด
4.4.3 การเตรียมการ
จัดการอาชีว
อนามัยและ
ความปลอดภัย
4.5.1 โครงสร้ างและ
ความรับผิดชอบ
4.5.2 การฝึ กอบรม
4.5.3 การสื่ อสาร
4.5.4 เอกสารและ
การควบคุม
4.5.5 การจัดซื้อและ
จัดจ้ าง
4.5.6 การควบคุม
การปฏิบัติ
4.5.7 การเตรียมพร้ อม
ภาวะฉุกเฉิน
4.5.8 การเตือนอันตราย
International Safety Rating System (scores 10800)
องค์ ประกอบ (Element)
1. ภาวะผู้นาและการจัดการ
2. การอบรมด้ านการจัดการ
3. การตรวจสอบตามแผน
4. การวิเคราะห์ งานและขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน
5. การสอบสวนอุบัติเหตุ/ อุบัติการณ์
6. การสังเกตการณ์ การปฏิบัติงาน
7. การเตรี ยมการรั บเหตุฉุกเฉิน
8. กฎของหน่ วยงาน
9. การวิเคราะห์ อุบัติเหตุ/ อุบัติการณ์
10. การอบรมผู้ปฏิบัติงาน
11. อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่ วนบุคคล
12. การควบคุมด้ านสุขภาพอนามัย
13. โปรแกรมประเมินผล
14. การควบคุมด้ านวิศวกรรม
15. การสื่อสารระหว่ างบุคคล
16. การประชุมกลุ่ม
17. การส่ งเสริ มและสนับสนุนทั่วไป
18. การจ้ างและการบรรจุผ้ ป
ู ฏิบัติงาน
19. การควบคุมการจัดซือ้
20. ความปลอดภัยนอกเวลาทางาน
คะแนนเต็ม
1170
700
760
505
680
330
770
515
455
675
450
645
430
510
450
400
355
350
400
250