การบริโภค การออม และการ ลงทุน Classical Theory and The Keynesian Revolution Classical Theory • Classical Economist : Adam Smith – มีการจ้างงานเต็มทีใ่ นระยะยาว – Say’s Law Supply creates its.

Download Report

Transcript การบริโภค การออม และการ ลงทุน Classical Theory and The Keynesian Revolution Classical Theory • Classical Economist : Adam Smith – มีการจ้างงานเต็มทีใ่ นระยะยาว – Say’s Law Supply creates its.

การบริโภค การออม และการ
ลงทุน
Classical Theory
and
The Keynesian Revolution
Classical Theory
• Classical Economist : Adam Smith
– มีการจ้างงานเต็มทีใ่ นระยะยาว
– Say’s Law
Supply creates its own Demand
Keynesian School of Economics
• John Maynard Keynes
– The General Theory of Employment,
Interest and Money (ปี ค.ศ. 1939)
– Demand creates its own Supply
Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M)
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)
รายจ่ายเพือ
่ การบริโภคและการออม
Consumption Expenditure [C]
and Saving [S]
ปัจจัยทีม
่ ีผลต่อค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การบริโภคและการออม
1. รายได้สท
ุ ธิสว่ นบุคคลหรือรายได้ทใี่ ช้จา่ ยได้จริง
(Disposable Income)
รายได้
C
S
รายได้
C
S
ปัจจัยทีม
่ ีผลต่อค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การบริโภคและการออม
2. ขนาดของสินทรัพย์สภาพคล่อง สินทรัพย์สภาพ
คล่อง คือ สิง่ ทีเ่ ราถือว่าเป็ นเงิน (Money) ได้แก่
เงินสด เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจา
พันธบัตร ทองคา หุน
้ และทีด
่ น
ิ ซึง่ สิง่ ต่างๆ
เหล่านี้สามารถเปลีย่ นเป็ นเงินได้รวดเร็วและ
ไม่เสียค่าใช้จา่ ยมากนัก
นาย ก. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน
มีเงินฝากประจา 1,000,000 บาท
นาย ข. มีรายได้ 10,000 บาท/เดือน
มีทด
ี่ น
ิ มูลค่า 1,000,000 บาท
Cก
>
Cข
ปัจจัยทีม
่ ีผลต่อค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การบริโภคและการออม
3. สินค้าถาวรทีผ
่ บ
ู้ ริโภคมีอยู่
4. อุปนิสยั ในการใช้จา่ ยของผูบ
้ ริโภค
5. สินเชือ
่ เพือ
่ การบริโภคและอัตราดอกเบี้ย
6. การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
7. การคาดคะเนรายได้ในอนาคต
8. ปัจจัยอืน
่ ๆ
ฟังค์ช่น
ั การบริโภคและการออม
ฟังค์ช่น
ั การบริโภค
C = f ( Yd, A1, A2, A3, … )
เมือ
่
C คือ รายจ่ายเพือ
่ การบริโภค
Yd คือ รายได้สท
ุ ธิ หรือ
รายได้ทใี่ ช้จา่ ยได้จริง (DI)
A1, A2, A3,… คือ ปัจจัยอืน
่ ๆ
ฟังค์ช่น
ั การบริโภคและการออม
ฟังค์ช่น
ั การบริโภค
C = f ( Yd, A1, A2, A3, … )
ในระยะสัน
้ Consumption Function คือ
C = f (Yd )
Saving Function
S = f ( Yd )
ความโน้มเอียงเฉลีย่ ในการบริโภค
(Average Propensity to Consume : APC)
• อัตราส่วนของค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การบริโภคต่อรายได้
• ค่าทีแ
่ สดงว่ารายจ่ายในการบริโภคคิดเป็ นสัดส่วน
เท่าใดของรายได้
APC
=
C
Yd
ความโน้มเอียงเฉลีย่ ในการออม
(Average Propensity to Save : APS)
• อัตราส่วนของการออมต่อรายได้
• ค่าทีแ
่ สดงว่าการออมคิดเป็ นสัดส่วนเท่าใดของ
รายได้
APS
=
S
Yd
ความโน้มเอียงส่วนเพิม
่ ในการบริโภค
(Marginal Propensity to Consume : MPC)
• อัตราส่วนของการเปลีย่ นแปลงรายจ่ายในการ
บริโภคต่อการเปลีย่ นแปลงของรายได้
MPC
=
C
 Yd
ความโน้มเอียงในการออมหน่ วยสุดท้าย
(Marginal Propensity to Save : MPS)
• อัตราส่วนของการเปลีย่ นแปลงของการออมต่อ
การเปลีย่ นแปลงของรายได้
MPS
=
S
 Yd
Yd
C
S
APC
APS
MPC
MPS
0
100
-100
-
-
-
-
100
175
-75
1.75
-0.75
0.75
0.25
200
250
-50
1.25
-0.25
0.75
0.25
300
325
-25
1.08
-0.08
0.75
0.25
400
400
0
1.00
0
0.75
0.25
500
475
25
0.95
0.05
0.75
0.25
600
550
50
0.92
0.08
0.75
0.25
700
625
75
0.89
0.11
0.75
0.25
800
700
100
0.88
0.12
0.75
0.25
C, S
C = Yd
700
C
600
500
400
300
ระดับรายได้เสมอตัว
200
(Break even)
S
100
0
-100
200
400
600
800
Yd
Yd = 500  APC = 0.95 , APS = 0.05
ณ รายได้ 500 บาท โดยเฉลีย่ แล้ว เงิน 1 บาท จะ
นาไปบริโภค 0.95 บาท และนาไปออม 0.05 บาท
ถ้า Yd = 1
Yd
=
C
+
S
Yd
=
C
+
S
Yd
1
Yd
=
Yd
APC + APS
MPC
Keynes :
0 <
MPC < 1
้ C จะเพิม
้
เมือ
่ Yd เพิม
่ ขึน
่ ขึน
MPC > 0
้ น้อยกว่า Yd ทีเ่ พิม
้
แต่ C จะเพิม
่ ขึน
่ ขึน
MPC < 1
MPC = 0.75 , MPS = 0.25
้ 1 บาท จะใช้จา่ ยเพือ
ถ้ามีรายได้เพิม
่ ขึน
่ การบริโภค
้ 0.75 บาท และนาไปออมเพิม
้ 0.25 บาท
เพิม
่ ขึน
่ ขึน
ดังนัน
้
ถ้า Yd = 1
Yd
=
C
+
S
 Yd
=
C
+
S
Yd
Yd
=
C
Yd
+
S
Yd
1
=
MPC
+
MPS
การลงทุน
(Investment : I)
การลงทุน (Investment : I)
• ค่าใช้จา่ ยในการผลิตสินค้าทุน (Capital goods)
• การใช้จา่ ยโดยมีวตั ถุประสงค์สาคัญ คือ ทาให้
้
การผลิตสินค้าและบริการในอนาคตเพิม
่ ขึน
• การซื้อหุน
้ ในตลาดหลักทรัพย์ การซื้อทีด
่ น
ิ เพือ
่
เก็งกาไร การซื้อสินทรัพย์และหลักทรัพย์มือสอง
ไม่ถือเป็ นการลงทุน แต่เป็ นการลงทุนทาง
การเงิน (Financial Investment)
ประเภทของการลงทุน
• การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment)
• การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)
การลงทุนโดยอิสระ (Autonomous investment)
• ค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การลงทุนทีไ่ ม่มค
ี วามสัมพันธ์กบั
รายได้ประชาชาติ
I
Ia
Y
การลงทุนโดยจูงใจ (Induced investment)
• การลงทุนทีม
่ ค
ี วามสัมพันธ์กบั รายได้ประชาชาติ
และความสัมพันธ์นี้จะเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
Y
I
Y
I
I
Ii
Y
C
Y
I
G
้ นี้ตอ
• รายได้ทเี่ พิม
่ ขึน
้ งเป็ นรายได้ทอ
ี่ งค์กรธุรกิจ
้ อย่างถาวรเป็ นระยะเวลานาน
คาดว่าจะเพิม
่ ขึน
จึงจะมีผลจูงใจให้กลุม
่ ธุรกิจลงทุนเพิม
่
ตัวทวี หรือ ตัวคูณ (Multiplier)
ระบบเศรษฐกิจทีไ่ ม่มีรฐั บาลและการค้าระหว่างประเทศ
GDP =
Y
=
C + I
I
=
25 ล้านบาท
Y
=
100 ล้านบาท
(C คงที)่
Multiplier
ตัวทวี หรือ ตัวคูณ (Multiplier)
• ตัวเลขทีแ
่ สดงว่าเมือ
่ มีการเปลีย่ นแปลงในค่าใช้จา่ ย
เพือ
่ การลงทุน (I) แล้วระดับรายได้ประชาชาติ (Y)
จะเปลีย่ นแปลงไปในสัดส่วนเท่าใดของการ
เปลีย่ นแปลงค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การลงทุนนัน
้
• ตัวเลขทีแ
่ สดงว่าเมือ
่ มีการเปลีย่ นแปลงค่าใช้จา่ ย
เพือ
่ การลงทุน (I) ระดับรายได้ประชาชาติ (Y) จะ
เปลีย่ นแปลงไปเท่ากับตัวทวีคณ
ู ด้วยปริมาณการ
เปลีย่ นแปลงในค่าใช้จา่ ยเพือ
่ การลงทุนนัน
้
Y
=
C + I
I
=
25 ล้านบาท
Y
=
100 ล้านบาท
100 =
(C คงที)่
4 x 25
้ 1 หน่ วย รายได้ประชาชาติจะ
ถ้ามีการลงทุนเพิม
่ ขึน
้ 4 เท่าของการลงทุนทีเ่ พิม
้
เพิม
่ ขึน
่ ขึน
Multiplier
100
=
4 x 25
Y
=
k x I
k
=
Y
I
( k : Multiplier )
การทางานของตัวทวี กาหนด MPC = 0.75
การลงทุน รอบ
้ การใช้
ทีเ่ พิม
่ ขึน
จ่าย
I
25
การบริโภค การออมที่
้
้
ทีเ่ พิม
่ ขึน
เพิม
่ ขึน
1
1 x 25 = 25.00
18.75
6.25
2
0.75 x 25 = 18.75
14.06
4.69
3
(0.75)2 x 25 = 14.06
10.55
3.51
4
(0.75)3 x 25 = 10.55
7.91
2.64
5
(0.75)4 x 25 =
7.91
5.93
1.98
...
...
75
25
...
I = 25
้ ของรายได้
การเพิม
่ ขึน
Y
MPS = 0.25
รวม
...
100
100 = (1 x 25) + (0.75 x 25) + ((0.75)2 x 25)
+ ((0.75)3 x 25) + ((0.75)4 x 25) + ...
100 = (1 + 0.75 + 0.752 + 0.753 + 0.754 + ... + 0.75n ) x 25
100 =
Y =
1
1 – 0.75
1
1 – MPC
x 25
x I
=
=
1
0.25
1
MPS
x 25
x I
Y
=
Y
1
=
1 – MPC
Y
k
=
=
k x I
1
MPS
Y
I
( k : Multiplier )
x I
x I
=
1
1 – MPC
=
1
MPS
Y
=
C
+
I
Y
Y
=
C
Y
+
I
Y
1
=
1 - MPC =
Y
I
=
MPC +
I
Y
I
Y
1
1 – MPC
=
1
MPS
=
k
จาก
0
< MPC < 1
1 <
k
< 
พิจารณา ถ้า I = 25
MPC = 0.75
k = 4
Y = 100
MPC < 0.75
k < 4
Y < 100
MPC > 0.75
k > 4
Y > 100
เดิมรายได้ประชาชาติเท่ากับ 100 ล้านบาท ต่อมามี
้ 20 ล้านบาท รายได้ประชาชาติ
การลงทุนเพิม
่ ขึน
ใหม่เท่ากับเท่าใด ถ้า MPC = 0.8
k
k
=
=
Y =
1
1 – MPC
1
1 – 0.8
=
Y
I
5
5
x
20
=
=
=
5
Y
20
100 ล้านบาท
รายได้ประชาชาติใหม่เท่ากับ 200 ล้านบาท