โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis) ระบาดวิทยาและสาเหตุ • เป็ นโรคสั ตว์ ติดคน B. abortus undulant fever, B. melitensis Malta fever • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด gram-negative, cocci และมี 4 ชนิดที่ ทาให้ เกิดโรคในปศสั ตว์ – – – – Brucella abortus.

Download Report

Transcript โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis) ระบาดวิทยาและสาเหตุ • เป็ นโรคสั ตว์ ติดคน B. abortus undulant fever, B. melitensis Malta fever • เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด gram-negative, cocci และมี 4 ชนิดที่ ทาให้ เกิดโรคในปศสั ตว์ – – – – Brucella abortus.

โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
ระบาดวิทยาและสาเหตุ
• เป็ นโรคสั ตว์ ติดคน B. abortus
undulant fever,
B. melitensis
Malta fever
• เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิด gram-negative, cocci และมี 4 ชนิดที่
ทาให้ เกิดโรคในปศสั ตว์
–
–
–
–
Brucella abortus มีการระบาดในโค กระบือ ทัว่ โลก
Brucella melitensis มีการระบาดในแพะ* แกะเกือบทั่วโลก esp. เอเซีย
Brucella ovis มีการระบาดในแกะทัว่ โลก
Brucella suis มีการระบาดในสกรเกือบทัว่ โลก
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
1
• จากการตรวจซีรั่มโคจานวน 46630 ตัว พบผลบวก 272 ตัวอย่าง คิด
เป็ น 0.6%
การติดต่ อ
• สัตว์ติดโรคโดยการกิน หรื อได้รับการสัมผัสต่อสิ่ งขับจากมดลูก รก
ซากลูกที่แท้ง คนติดจากสัตว์โดยการสัมผัสสิ่ งดังกล่าว สาหรับสุ กร
พบว่าการติดต่อที่สาคัญคือ การผสมพันธุ์
การติดต่ อ
• การเอารก ซากลูกสัตว์ที่แท้งให้สุนขั กิน ทาให้สุนขั ติดโรคได้
(aberrant host)
• เชื้อที่ยงั virulent อยู่ จะมีความสามารถ ในการ บุกรุ กเข้าทางเยือ่ บุ/
เยือ่ เมือก หรื อผิวหนังที่มีบาดแผล
• เมื่อเชื้ออยูน่ อกตัวสัตว์ จะทนต่อสภาพแวดล้อมได้ไม่นาน
• การจัดการมีผลต่อการติดต่อและการระบาดของโรคด้วย เช่น
seasonal calving
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
3
• หลังจากที่ได้รับเชื้อเข้าไปในร่ างกาย เชื้อจะไปอยูท่ ี่ต่อมน้ าเหลือง
ม้าม เต้านมและมดลูก หรื อใน sex glands ของเพศผู ้
• ในสุ กรเชื้อมักจะไปอยูท่ ี่ขอ้ และกระดูกร่ วมด้วย
• การที่เชื้อไปอยูใ่ นเต้านม
ก็จะทาให้เชื้อถูกขับออกมาทาง
น้ านม และทาให้ผบู ้ ริ โภคติดเชื้อ
โดยการดื่มนม
ซึ่งไม่ ได้ ผ่านการฆ่ าเชื้อได้
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
4
อาการและวิการ
• อาการของโรคมีความผันแปรตามปริ มาณเชื้อที่ได้รับ ทางที่เชื้อเข้าสู่
ร่ างกาย และระยะของการตั้งท้อง
• สัตว์เพศเมียจะเกิดการแท้ง โดยมีระยะฟักตัวของโรค > 2 เดือนใน
โค (แต่ในโคท้องแรกมักแท้งในระยะตอนปลายของการตั้งท้อง),
~3-4 อาทิตย์ในแพะ, ~5 อาทิตย์ในสุ กร
• สัตว์เพศผูเ้ กิดอาการอัณฑะอักเสบ (epididymitis) และอักเสบใน
accessory sex glands
• complication อื่นๆ เช่น ผสมติดยาก มดลูกอักเสบเรื้ อรัง
• ในสุ กรมักมีรายงานเรื่ องฝี และข้ออักเสบร่ วมด้วย
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
5
สั ตว์ เพศผู้บางตัวมีอาการอัณฑะอักเสบหรือ ข้ ออักเสบ แต่ ส่วนใหญ่ จะ
ไม่ แสดงอาการ
ภาพหน้าตัดอัณฑะโค ข้างซ้ายมีลกั ษณะ
granuloma
ที่มา2 ภาพซ้าย: สถาบันสุ ขภาพสัตว์
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
6
ลักษณะมดลูกอักเสบในโค
เพศเมีย ซึ่ งเป็ นสาเหตุให้เกิด
การผสมติดยาก
ต่อมน้ าเหลืองอักเสบ
ที่มาภาพ: สถาบันสุ ขภาพสัตว์
โรคแท้งติดต่อ
ลูกสัตว์ที่แท้ง มักแท้งในช่วงปลายของการตั้งท้อง และแท้ง
เฉพาะในท้องแรก แต่สิ่งขับจากมดลูกทาให้เกิดการแพร่
ระบาดของโรคไปยังวัวตัวอื่นในฟาร์ม
ลูกที่แท้ง
รกอักเสบมีจุดเนื้อตายและจุดเลือดออก
ที่มาภาพ ซ้าย: สถาบันสุ ขภาพสัตว์ กรมปศุสัตว์
ขวา:www.calf.vetmed.ucdavis/ edu
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
8
การชันสู ตรโรคอย่ างง่ าย โดยใช้ วธิ ี plate agglutination test
ใช้เลือด 1หยด ผสมกับ antigen 1 หยด ถ้ามีภมู ิคุม้ ต่อโรค จะเกิดการตกตะกอนขึ้น
หากทาวัคซี นป้ องกันโรคมาก่อน จะมีภมู ิคุม้ ทาให้เกิดการตกตะกอนได้เช่นกัน
เพราะฉะนั้น จะต้องทราบ
ประวัติการทาวัคซี น และ
หากให้ผลสงสัย จะต้อง
ตรวจซ้ าด้วยวิธีอื่นที่มี
ความจาเพาะมากขึ้น
ลักษณะตะกอน
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
9
การวินิจฉัยโรค
• 1. อาการอัณฑะอักเสบในสัตว์เพศผู ้ และการแท้งในสัตว์เพศเมีย
สุกรจะมีอาการขออั
้ กเสบ
ร่ วมด้วย
• 2. การเก็บตัวอย่างซีรั่มเพื่อตรวจโรค
– อย่าลืมประวัติการทาวัคซี น
– ในกรณี ที่ให้ผลสงสัย ควรเก็บซี รั่มตรวจซ้ า ห่างจากครั้งแรก 1 เดือน
(paired serum)
• 3. เก็บตัวอย่างจากรกหรื อลูกที่แท้งเพื่อตรวจหาเชื้อ
การรักษา
• การรักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะทัว่ ไปไม่ได้ผลเนื่องจากเชื้อมีลกั ษณะ
โรคแท้งติดต่อ
14/7/00
10
intracellular characteristic
การเก็บตัวอย่างลูกที่แท้งจาก stomach content แล้ว
นาไปย้อมดูเชื้อที่อยูใ่ น macrophage
ที่มาภาพ: สถาบันสุ ขภาพสัตว์
โรคแท้งติดต่อ
การควบคมและป้องกันโรค
1. โดย screening test คือ เจาะเลือดเพื่อเก็บซีรั่มตรวจหาภูมิค้ มุ โรค
ก่อนนาสัตว์ใหม่เข้ าฝูง
• ดังนั้นโคนมทุกตัวจึงจำเป็ นต้ องมีกำรตรวจสอบโรคนีก้ ่ อนนำเ้้ ำูง
และจะต้องซักประวัติการทาวัคซี นประกอบด้วย เนื่องจากภูมิคุม้ ที่ได้จากการ
ทาวัคซี นไม่สามารถแยกจากภูมิคุม้ ที่เกิดจากการติดโรค โดยการใช้วิธีตรวจ
ธรรมดา
2. การใช้ พอ่ พันธุ์รับจ้ างต้ อง
ทราบประวัติปลอดโรคนี ้
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
12
3. ทาวัคซีนในการเลี ้ยงสัตว์ในแหล่งที่มีการระบาดของโรค
– ใช้ killed B.abortus strain 45/20 หรื อ
– ใช้ attenuated B.abortus strain 19
(ในภาคใต้ ไม่ต้องทาวัคซีน)
4. ดูแลทาคลอดสัตว์ในคอกคลอด
เป็ นรายตัวอย่างถูกสุขลักษณะ
5. มีขบวนการฆ่าเชื ้อในน ้านม
ก่อนส่งออกไปสูผ่ ้ บู ริโภค
14/7/00
โรคแท้งติดต่อ
13