บทที่ 2 เซลล์ และเนือ้ เยือ่ พืน้ ฐานของร่ างกาย Cell and body tissues.

Download Report

Transcript บทที่ 2 เซลล์ และเนือ้ เยือ่ พืน้ ฐานของร่ างกาย Cell and body tissues.

บทที่ 2 เซลล์ และเนือ้ เยือ่ พืน้ ฐานของร่ างกาย
Cell and body tissues
Cell and body tissues
นักศึกษาจะได้ เรียนรู้ เกีย่ วกับโครงสร้ าง และส่ วนประกอบที่
สาคัญของเซลล์ กลไกการส่ งสาร หรือโมเลกุลผ่ านผนังเซลล์
การแบ่ งเซลล์ การรวมกันของเซลล์ เพือ่ เกิดเป็ นเนือ้ เยือ่
ประเภทของเนือ้ เยือ่ พืน้ ฐานในร่ างกาย และหน้ าทีข่ องเนือ้ เยือ่
ต่ างๆ
Cell and body tissues
(เซลล์และเนือ้ เยือ่ พืน้ ฐานของร่ างกาย)





เซลล์เป็ นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่ งมีชีวิต
เซลล์มาอยูร่ วมกันเรี ยกว่า เนื้อเยือ่ (tissue)
เนื้อเยือ่ หลายชนิดมาอยูร่ วมกันเรี ยกว่า อวัยวะ (organ)
อวัยวะมารวมกันทาหน้าที่เรี ยกว่า ระบบ (system)
ระบบมารวมกันเป็ นร่ างกาย (body)
โครงสร้ างพืน้ ฐานของเซลล์


เยือ่ หุม้ เซลล์
ไซโตพลาส และนิวเคลียสใน
ไซโตพลาสซึม มีออร์แกนเนล
และ ไซโตพลาสมิค
อินคลูชนั่ บอดี้ (เป็ นสิ่ งไม่มีชีวิต
ในเซลล์)
กลไกในการลาเลียงสารผ่ านเยือ่ หุ้มเซลล์
มี 3 แบบ
1. แบบไม่ ใช้ พลังงาน (Passive transport)
2. แบบใช้ พลังงาน (Active transport) ต้องใช้ ATP
3. การสร้ างถุงจากเยือ่ หุ้มเซลล์ มี 2 แบบ
- ลาเลียงออกนอกเซลล์ (Exocytosis)
- ลาเลียงเข้าในเซลล์ (Endocytosis) เช่น ฟาโกไซโตซีส
(phagocytosis) และพินโนไซโตซีส (pinocytosis)
การแบ่ งเซลล์ ในสิ่ งมีชีวติ

การแบ่ งเซลล์แบบ Amitosis เป็ นการแบ่ งเซลล์ของสัตว์เซลล์เดียว
ลักษณะการแบ่ งเซลล์เป็ นการแบ่ งโดยตรงที่เริ่มจากการแบ่ งนิวเคลียสจากนั้นจึงแบ่ งไซ
โตพลาสซึม โดยเซลล์มีการคอดออกเป็ นสองส่ วนจนแยกออกจากกันอย่ างเด็ดขาด
 การแบ่ งเซลล์ แบบ Mitosis เป็ นการแบ่ งเซลล์ ร่างกาย เซลล์ ทเี่ กิดขึน
้ จะมีพนั ุุกรรม
เหมือนเซลล์แม่
 การแบ่ งเซลล์ แบบ Mieosis เป็ นการแบ่ งเซลล์ สืบพันุุ์ นิวเคลียสจะถูกแบ่ งออก 2
ครั้ง ครั้งแรกจะเป็ นการแบ่ งนิวเคลียสเพือ่ ลดจานวนโครโมโซมลงให้ เหลือครึ่ งหนึ่งจากเดิม
(haploid chromosome, n) การแบ่ งเซลล์หรือการแบ่ งนิวเคลียสครั้งทีส่ องจะเป็ นการแบ่ ง
เซลล์ทคี่ ล้ายกับการแบ่ งเซลล์ร่างกาย ผลการแบ่ งเซลล์จะได้ เซลล์ใหม่ ท้งั หมด 4 เซลล์
การแบ่ งเซลล์ ร่างกาย แบบไมโตซีส
แบ่งออกเป็ น 5 ขั้นตอนคือ
 ระยะอินเตอร์ เฟส (interphase)
 ระยะโปรเฟส (prophase)
 ระยะเมตาเฟส (metaphase)
 ระยะแอนนาเฟส (anaphase)
 ระยะเทโลเฟส (telophase)
การแบ่ งเซลล์ แบบ Mitosis

การแบ่ งเซลล์แบบ Mitosis
เป็ นการแบ่งของเซลล์ร่างกาย
(somatic cell)
การแบ่ งเซลล์ แบบ Mieosis

การแบ่ งเซลล์แบบ Mieosis
เป็ นการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์เช่น
การแบ่งเซลล์ไข่ และการแบ่ง
เซลล์อสุ จิ
เนือ้ เยือ่ พืน้ ฐานของร่ างกาย (body tissues)
มี 5 ชนิดคือ
1. เนื้อเยือ่ บุผวิ (epithelial tissue)
2. เนื้อเยือ่ เกี่ยวพัน (connective tissue)
3. เนื้อเยือ่ กล้ามเนื้อ (muscular tissue)
4. เนื้อเยือ่ ประสาท (nervous tissue)
5. เนื้อเยือ่ ที่เป็ นของเหลวในร่ างกาย (tissue fluid)
เนือ้ เยือ่ บุผวิ
1. เนือ้ เยือ่ บุผวิ ประกอบด้วยเซลล์เยือ่ บุมารวมกันเป็ นแถวเดียว
หรื อมากกว่า มีสารเชื่อมยึดเซลล์ให้ติดกัน (intercellular substance)
หน้ าที่ - หลัง่ ของเหลวที่เป็ นประโยชน์และกาจัดของเสี ย
- ดูดซึมโภชนะ และสารต่างๆ
- สร้างเมือกเกี่ยวกับการหล่อลื่น
- เกี่ยวข้องกับการสื บพันธุ์
- รับความรู ้สึก
การแบ่ งเนือ้ เยือ่ บุผวิ ตามการเรียงตัวของเซลล์
แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ
- Simple epithelium เกิดจากเซลล์ที่มีรูปร่ างเหมือนกันมาเรี ยงกัน
เป็ นชั้นเดียวบน basement membrane
การแบ่ งเนือ้ เยือ่ บุผวิ ตามการเรียงตัวของเซลล์
- Stratified epithelium เกิดจากเซลล์ที่มีรูปร่ างเหมือนกันมาเรี ยง
ตัวกันมากกว่า 1 ชั้น โดยชั้นล่างสุ ดอยูบ่ น basement membrane
การแบ่ งเนือ้ เยือ่ บุผวิ ตามการเรียงตัวของเซลล์
- Pseudo epithelium เกิดจากเซลล์ที่มีรูปร่ างเหมือนกันมาเรี ยงตัว
ซ้อนกันเป็ นชั้นเดียว แต่ดูคล้ายกับว่ามีการเรี ยงตัวกันหลายชั้น
การแบ่ งเนือ้ เยือ่ บุผวิ ตามรูปร่ างของเซลล์ทมี่ าประกอบ



Simple squamous epithelium เกิดจากเซลล์ที่มีรูปร่ างคล้ายเกล็ด
(squamous cell) มารวมกันเป็ นแถวเดียว
Simple cuboidal epithelium เกิดจากเซลล์รูปร่ างลูกบาศก์
(cuboids cell) มายึดติดกันเป็ นแถวเดียว
Simple columnar epithelium เกิดจากเซลล์รูปร่ างแท่ง (columnar
cell) มายึดติดกันเป็ นแถวเดียว เซลล์อาจเปลี่ยนเป็ นเซลล์ที่มีขน
หรื อเปลี่ยนเป็ นต่อมเดี่ยว เช่น goblet cell
การแบ่ งเนือ้ เยือ่ บุผวิ ตามรูปร่ างของเซลล์ทมี่ าประกอบ



Stratified squamous epithelium เซลล์รูปร่ างเป็ นเกล็ดเรี ยงตัว
ซ้อนกันมากกว่า 1 ชั้น เซลล์ช้ นั บนสุ ดจะเห็นรู ปร่ างแบนตรงกลาง
ป่ องออก
Stratified columnar epithelium เกิดจากเซลล์ที่มีรูปร่ างแท่งมา
เรี ยงซ้อนกันมากกว่า 1 ชั้น
Stratified cuboidal epithelium เกิดจากเซลล์ที่มีรูปร่ างลูกบาศก์มา
เรี ยงซ้อนกันมากกว่า 1 ชั้น
การแบ่ งเนือ้ เยือ่ บุผวิ ตามรูปร่ างของเซลล์ทมี่ าประกอบ

Transition epithelium เป็ นเซลล์เยือ่ บุที่เรี ยงกันหลายชั้น เซลล์ช้ นั
บนสุ ดเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างได้ พบที่ท่อทางเดินปัสสาวะ
เนือ้ เยือ่ บุผวิ
เนื้อเยือ่ บุผวิ เมื่อรวมกับเนื้อเยือ่ เกี่ยวพัน จะเกิดเป็ นเนื้อเยือ่ บางๆ
เรี ยกว่า เมมเบรน (membrane) บุตามช่องว่างต่างๆ ในร่ างกาย ได้แก่
- ชั้นเยือ่ เมือก (mucosa หรื อ mucous membrane)
- ชั้นเซอโรซ่า (serosa serous หรื อ membrane)
- เนื้อเยือ่ ที่บุตามข้อต่อต่างๆ ของร่ างกาย (synovial membrane)
ต่ อม (Glands)
ต่ อม (Glands) เกิดขึ้นจากเซลล์เยือ่ บุผวิ รู ปแท่ง หรื อรู ปลูกบาศก์
เปลี่ยนรู ปร่ างไปทาหน้าที่พิเศษ
แบ่งประเภทตามจานวนเซลล์ได้ 2 ชนิด คือ
1. Unicellular gland ต่อมที่มาจากเซลล์เดียว
2. Multicellular gland ต่อมที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่าหนึ่งเซลล์
ต่ อม (Glands) (2)
แบ่งตามลักษณะของของเหลวที่หลัง่ ออกมา แบ่งเป็ น
1. ต่ อมมีท่อ (Exocrine gland)
2. ต่ อมไร้ ท่อ (Endocrine gland)
แบ่งประเภทตามลักษณะของเหลวที่หลัง่ ออกมาแบ่งเป็ น 3 ประเภท
1. Mucous gland หลัง่ ของเหลวที่เป็ นเมือก
2. Serous gland หลัง่ ของเหลวที่มีลกั ษณะใส
3. Mixed gland หลัง่ ของเหลวได้ท้ งั เมือกและของเหลวใส
ต่ อม (glands)
แบ่งประเภทต่อมตามลักษณะ
รู ปร่ างของต่อม
- Simple glands เป็ นต่อมที่มีท่อ
เพียงท่อเดียว ส่ วนที่สร้างของ
เหลว อาจมีลกั ษณะเป็ นท่อหรื อ
เป็ นกระเปาะ (acini หรื อ
alveoli)
ต่ อม (glands)
- Compound glands คือต่อมที่มีท่อมาแตกแขนงมากกว่า 1 ท่อ
เนือ้ เยือ่ เกีย่ วพัน (connective tissue)
เนือ้ เยื่อเกีย่ วพัน (connective
tissue) พบมากที่สุดในร่ างกาย
หน้ าที่
- ห่อหุม้ เซลล์ เสริ มความ
แข็งแรงให้แก่เนื้อเยือ่
ประกอบด้วยเซลล์ และ
intercellular matrix
ชนิดของเซลล์ที่สาคัญ ได้แก่
- fibroblasts
- histocyte หรื อ macrophage
- mast cell
- fat cell
- plasma cell
- pigmented cell
ประเภทของเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพันในร่ างกาย
แบ่งได้ 3 ชนิดได้แก่
1. เนือ้ เยื่อเลือด มีลกั ษณะเป็ นเนื้อเยือ่ เกี่ยวพันชนิดพิเศษมีสภาพ
เหลวเป็ นพวก Fibrous connective tissues เช่นเม็ดเลือดแดง
2. เนือ้ เยือ่ เกีย่ วพันทีท่ าหน้ าทีค่ า้ จุนร่ างกาย ได้แก่ กระดูกอ่อนและ
กระดูก
ก. กระดูกอ่อน (Cartilages) มี 3 ชนิดคือ Hyaline cartilage,
Fibro elastic cartilage และ Elastic cartilage
ประเภทของเนือ้ เยือ่ เกีย่ วพันในร่ างกาย
ข. กระดูก (Bone) เป็ นเนื้อเยือ่ เกี่ยวพันที่มีลกั ษณะแข็ง โดยมี
เซลล์กระดูก (Osteocytes) เป็ นเซลล์ที่วางตัวอยูใ่ นแอ่งลาคูน่า
(lacunae)
3. เนือ้ เยื่อเกีย่ วพันจริง (Connective tissue proper) หมายถึง
เนื้อเยือ่ ที่พบในอวัยวะหรื อโครงสร้างส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย
รวมถึงเนื้อเยือ่ เกี่ยวพันชนิดพิเศษที่พบได้บางส่ วนของร่ างกาย
เช่น เนื้อเยือ่ ไขมัน Pigmented connective tissue และ Reticular
connective tissue ที่พบในเนื้อเยือ่ น้ าเหลืองเท่านั้น