ข้อปฏิบตั ิของเหมืองหินและโรงโม่หิน โดย นายพงษ์เทพ จารุอาพรพรรณ ผูอ้ านวยการสานักบริหารสิง่ แวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่ โทรศัพท์ 0 2202 3680 โทรสาร 0 2644 8762 มือถือ 089 9671738

Download Report

Transcript ข้อปฏิบตั ิของเหมืองหินและโรงโม่หิน โดย นายพงษ์เทพ จารุอาพรพรรณ ผูอ้ านวยการสานักบริหารสิง่ แวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่ โทรศัพท์ 0 2202 3680 โทรสาร 0 2644 8762 มือถือ 089 9671738

ข้อปฏิบตั ิของเหมืองหินและโรงโม่หิน
โดย
นายพงษ์เทพ จารุอาพรพรรณ
ผูอ้ านวยการสานักบริหารสิง่ แวดล้อม
กรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่
โทรศัพท์ 0 2202 3680 โทรสาร 0 2644 8762
มือถือ 089 9671738
กรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เป็ นองค์กรหลัก
ในการบริหารจัดการและพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรม
พื้ นฐาน ให้เป็ นไปอย่างมีดุลยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม
หน้าทีห่ ลักของกรมฯ คือ การอนุ ญาตและการกากับดูแลการ
ประกอบ
กิจการอุตสาหกรรมแร่และโลหการตามกฎหมายว่าด้วย
แร่ และกฎหมาย
ว่าด้วยโรงงาน (เฉพาะในส่วนอุตสาหกรรมที่
เกีย่ วข้อง) และกฎหมายอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทั้งการจัดเก็บรายได้ของรัฐ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 77 (พ.ศ.
1. ให้หินดังต่2539)
อไปนี้ ซึ่งสามารถทาเป็ นแผ่น หรือรูปทรงอื่นใด
เพือ่ การประดับหรือตกแต่งได้ เป็ นหินประดับ
หินกรวดมน (Conglomerate)
หินไนส์ (Gnelss)
หินกรวดเหลี่ยม (Breccia)
หินบะซอลต์ (Basalt)
หินแกรนิต(Granite)
หินปูน (Limestone)
หินทราเวอร์ทนี (Trarvertine)
หินชนวน (Slate)
หินกระสวย (Serpentinite)
หินทราย (Sandstone)
2. หินชนิดอื่น นอกจากตาม 1. และ
- หินตาม 1. ซึ่งมีปริมาณสารองเพียงพอตามที่ อพร.
ประกาศกาหนดหรือ
เป็ นหินอุตสาหกรรม
- มีคุณภาพไม่เหมาะสมที่จะทาเป็ นหินประดับ
การทาเหมืองแร่
การทาเหมือง = การกระทาแก่พนที
ื้ ่ไม่ว่าจะเป็ นที่บกหรือที่น้ า เพือ่ ให้ได้มา
ซึ่งแร่ดว้ ยวิธีการอย่างใดอย่างหนึง่ หรือหลายวิธี แต่ไม่รวมถึงการขุดเจาะ
น้ าเกลือใต้ดินตามหมวด 5 ทวิ และการขุดหาแร่รายย่อย หรือการร่อนแร่
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ประทานบัตร
ประทานบัตรชัว่ คราว
ขั้นตอนดาเนินการเพือ่ ขออนุ ญาตประทานบัตร
ยื่นคำขอต่ อเจ้ ำพนักงำนอุตสำหกรรมแร่ ประจำท้ องที่
รั งวัดไต่ สวนขึน้ รู ปแผนที่คำขอ
และจัดทำแผนผังโครงกำรทำเหมือง
ส่ งไปท้ องที่เพื่อประกำศ (20 วัน)
และส่ ง อบต. ให้ ควำมเห็น (40 วัน)
ขออนุญำตใช้ พืน้ ที่
จัดทำรำยงำนผลกระทบสิ่งแวดล้ อม
เพื่อขอควำมเห็นชอบ
อำเภอท้ องที่และ อบต. แจ้ งผลว่ ำ
มี/ไม่ มีผ้ ใู ดคัดค้ ำนควร/ไม่ ควรอนุญำต
ได้ รับอนุญำตใช้ พืน้ ที่
ได้ รับควำมเห็นชอบจำก สผ. *
โดยมีเงื่อนไขในกำรอนุญำต
เจ้ ำพนักงำนอุตสำหกรรมแร่ ประจำท้ องที่
รวมเรื่ องเสนอผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ส่ ง กพร.
กพร. ตรวจสอบแผนผังโครงกำรทำเหมือง ควำมเห็นชอบในทุกเรื่ อง
และหลักเกณฑ์ เงื่อนไขต่ ำง ๆ ตำมระเบียบและกฎหมำย
คณะกรรมกำรตำม พ.ร.บ. แร่ พจิ ำรณำ
รวอ ลงนำมในประทำนบัตร
ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
*
เจ้ ำพนักงำนอุตสำหกรรมแร่ ประจำท้ องที่
สผ. = สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติ
มอบประทำนบัตรให้ ผ้ ขู อ
การทาเหมือง
ห้ามมิให้ผูใ้ ดทาเหมืองในทีใ่ ด ไม่ว่าทีซ่ ึ่ งทาเหมืองนั้นจะ
เป็ นสิทธิของบุคคลใดหรือไม่ เว้นแต่จะได้รบั ประทานบัตร
ชัว่ คราวหรือประทานบัตร (มาตรา 43)
ฝ่ าฝื นมีโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าในเขตควบคุมแร่ จาคุก 2 -7 ปี หรือปรับ
300,000 - 500,000 บาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ (มาตรา
135 )
สิทธิของผูถ้ อื ประทานบัตร
1. ตั้งตัวแทนเพือ่ ติดต่อกับพนักงานเจ้าหน้าที่ ม.8
2. เข้าไปยึดถือ ครอบครองทาลายทรัพยากรในเขตเหมือง
แร่
(ม. 12)
3. ขอต่ออายุประทานบัตร กรณีประทานบัตรเดิมมีอายุไม่
ถึง 25 ปี (ม.54)
4. ทาเหมืองหลังจากประทานบัตรหมดอายุแล้ว ไม่เกิน
180 วัน หากมีการขอต่ออายุไว้โดยถูกต้องแล้ว (ม.54)
5. ขอเปลีย่ นแปลงวิธีการทาเหมืองแผนผังโครงการ หรือ
เงือ่ นไขทีก่ าหนดไว้ในขณะออกประทานบัตร (ม. 57)
สิทธิของผูถ้ อื ประทานบัตร
6. ใช้ระยะเวลาการเตรียมทาเหมืองมาคานวณเป็ นระยะเวลา
ทาการตามมาตรา 60 ได้ (ม. 60 วรรค 3)
7. สิทธิในการรวมระยะเวลาทาการขอประทานบัตรสอง
แปลงทีต่ ิดกัน เพือ่ คานวณระยะเวลาตามมาตรา 60 โดยถือเป็ น
แปลงเดียวกัน (ม. 60 วรรค 2)
8. ขอร่วมโครงการทาเหมืองกับประทานบัตรรายอื่นที่มีเขต
เหมืองแร่ติดกัน (ม. 60 วรรค 3)
9. ได้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งทาเหมืองตามมาตรา 60 ภายใน
ปี แรกตามหลักเกณฑ์ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง (ม. 60 วรรค 4)
สิทธิของผูถ้ อื ประทานบัตร
10. ขอหยุดการทาเหมืองบางส่วนหรือทั้งหมดในแต่ละรอบปี
หากมีเหตุขดั ข้องตามทีก่ ฎหมายกาหนด (ม. 61)
11. ขอปล่อยน้ าขุ่นข้น หรือมูลดินทรายไปขังในเขตประทาน
บัตรของผูอ้ ื่น (ม. 66)
12. ขอทาทางทั้งทางบก ทางน้ า หรือทางถ่ายน้ าขุ่นข้น หรือ
มูลดินทรายผ่านเขตแต่งแร่ หรือเขตเหมืองแร่ของผูถ้ อื ประทาน
บัตรรายอื่น (ม.65)
13. ปล่อยน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทรายลงในทางน้ าที่รฐั มนตรี
ประกาศเป็ นทางน้ าสาธารณะ (ม.68)
สิทธิของผูถ้ อื ประทานบัตร
14. ทาเหมืองและขุดแร่ทีร่ ะบุไว้ในประทานบัตร ส่วนแร่อื่นจะ
ขายได้ต่อเมือ่ ได้รบั อนุญาตจาก อพร. (ม.73(1))
15. ปลูกสร้างอาคารหรือกระทาอื่นใดในการทาเหมือง รวมทั้ง
แต่งแร่หรือเก็บขังน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทราย (ม.72(2) )
16. ทาเกษตรกรรมในเขตเหมืองแร่ ซึ่งขุดเอาแร่แล้ว หรือมี
แร่ ไม่สมบูรณ์ในระหว่างอายุประทานบัตร (ม.73(3) )
17. นาคดีขึ้นสู่ศาล หากมีผูโ้ ต้แย้งสิทธิในการทาเหมือง
(ม.73(4) )
18. ขอให้ผูอ้ ื่นรับช่วงการทาเหมือง (ม.77)
สิทธิของผูถ้ อื ประทานบัตร
19. โอนประทานบัตรให้แก่ผูอ้ ื่น (ม.78)
20. เวนคืนประทานบัตร (ม.84)
21. ขอผัดการชาระค่าภาคหลวงแร่ (ม.104 (3) )
22. ครอบครองแร่ในเขตเหมืองแร่ (ม.105 (3) )
23. ขนแร่ภายในเขตเหมืองแร่ (ม.108 (3) )
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
1. ต้องขอใบแทนประทานบัตรชัว่ คราว หรือประทานบัตรที่
สูญหายภายใน 15 วัน นับแต่วนั ทีท่ ราบการสูญหายหรือถูกทาลาย
(ม.7)
2. ต้องยอมให้แก้ไขเปลีย่ นแปลงเขตเนื้ อทีป่ ระทานบัตร เพือ่
ประโยชน์แก่การสาธารณู ปโภค หรือเพือ่ ป้องกันประเทศ หรือเพือ่
ประโยชน์สาธารณะ (ม. 9 ตรี)
3. ต้องรับผิดเป็ นตัวการแทนตัวแทนหรือลูกจ้างของตน (ม.10)
4. ต้องแจ้งการพบวัตถุโบราณ ซากดึกดาบรรพ์ หรือแร่พิเศษต่อ
เจ้าพนักงานอุตสาหกรรมแร่ประจาท้องที่ (ม.11)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
5. ต้องไม่ดดั แปลง ทาลาย เคลือ่ นย้าย ถอนหรือทาให้หลุด
ซึ่งหลักเขตเหมืองแร่ หรือหมุดหลักฐานการแผนที่ (ม.14)
6. ต้องรับผิดในค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการรังวัดทาหลักเขต
หรือ
หมุดหลักฐานการแผนทีไ่ ม่ทีถ่ ูกทาลาย (ม.52)
7. ต้องชาระค่าใช้เนื้ อทีแ่ ละเงินบารุงพิเศษ (ม.55)
8. ต้องทาเหมืองตามวิธีการทาเหมือง แผนผังโครงการ
และ เงือ่ นไขทีก่ าหนดไว้ในการออกประทานบัตร (ม.57)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
9. ต้องไม่จดั สร้างอาคารเกีย่ วกับการทาเหมือง จัดตั้ง
สถานทีเ่ พือ่ การแต่งแร่ หรือเก็บน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทราย
นอกเขต เหมืองแร่ เว้นแต่จะได้รบั อนุญาต (ม.59)
10. ต้องไม่ทาเหมืองใกล้ทางหลวงหรือทางน้ าสาธารณะ
ภายในระยะ 50 เมตร เว้นแต่ประทานบัตรให้ทาได้หรือได้รบั
อนุญาต (ม.62)
11. ต้องทาเหมืองโดยมีคนงานและระยะเวลาตามที่
กฎหมายกาหนดในรอบสิบสองเดือน (ม.60)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
12. ต้องไม่ปิดกั้น ทาลาย หรือทาด้วยประการใด ๆ ให้
เป็ นการเสือ่ มประโยชน์แก่ทางหลวง หรือทางน้ าสาธารณะ
เว้นแต่จะได้รบั อนุญาต (ม.63)
13. ต้องไม่ถ่ายน้ าขุ่นข้น หรือมูลดินทรายผ่านเขต
ประทานบัตรของผูอ้ ื่น เว้นแต่จะได้รบั อนุญาต (ม.65)
14. ต้องไม่ทดน้ าหรือชักน้ าจากทางน้ าสาธารณะ ไม่ว่าจะ
อยู่ในหรือนอกเขตประทานบัตร เว้นแต่จะได้รบั อนุญาต
(ม.64)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทาน
15. ต้บัอตงรัรบผิดใช้ค่าทดแทนแก่ประทานบัตรทีต่ นได้รบั
อนุญาตให้เก็บขังน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทราย (ม.66 วรรค 1)
16. ต้องเสียค่าธรรมเนียมเพือ่ ใช้เนื้ อทีแ่ ทนผูถ้ อื
ประทานบัตรทีถ่ ูกใช้เนื้ อทีส่ าหรับเก็บขังน้ าขุ่นข้น หรือมูลดิน
ทราย (ม.66 วรรค 2)
17. ต้องไม่ปล่อยน้ าขุ่นข้น หรือมูลดินทรายออกนอก
เขตเหมืองแร่เว้นแต่น้ านั้นจะมีความขุ่นข้นไม่เกินอัตราที่
กาหนดในกระทรวง (ม.67)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
18. ต้องป้องกันน้ าขุ่นข้น หรือมูลดินทราย มิให้ไปทาทางน้ า
สาธารณะตื่นเขิน หรือเสือ่ มเสียประโยชน์แก่การใช้ (ม.68 วรรค
1)
19. ต้องเสียค่าตอบแทนในกรณีใช้ทางน้ าสาธารณะ เป็ นที่
สาหรับปล่อยน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทราย (ม.68 วรรค 2)
20. ต้องไม่กระทาหรือละเว้นการกระทาใดอันน่าจะเป็ นเหตุให้
แร่มีพิษสิง่ อื่นทีม่ ีพิษเกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช หรือทรัพย์สิน
(ม.69)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
21. ต้องจัดการป้องกันอันตรายอันเกิดจากการทาเหมือง
หรือแต่งแร่ ตามคาสังของพนั
่
กงานเจ้าหน้าที่ (ม. 70)
22. ต้องเปลีย่ นแปลง หรือแก้ไขวิธีการทาเหมือง หรือหยุด
การทาเหมืองตามที่ เจ้าพนักงานอุตสาหรรมแร่มีคาสัง่ เนือ่ งจาก
เห็นว่าจะมีอนั ตรายแก่คน สัตว์ พืช หรือทรัพย์สิน (ม.71)
23. ต้องจัดการถม ขุม หลุม ปล่อง ทีไ่ ม่ได้ใช้ในการทา
เหมือง เว้นแต่ประทานบัตรจะกาหนดหรือ เจ้าพนักงานอุตสาหร
รมแร่กาหนดเป็ นอย่างอื่น (ม.72)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
24. ต้องไม่นาหรือยอมให้ผูอ้ ื่นนามูลแร่หรือมูลดินทราย
ออกนอกเขตเหมืองแร่ (ม.74)
25. ต้องไม่ยอมให้ผูอ้ ื่นรับช่วงการทาเหมืองโดยไม่ได้รบั
อนุญาต (ม.78)
26. ต้องเสียค่าธรรมเนียม ค่าคาขอโอน ค่าธรรมเนียม
ในการตอบแทนสิทธิการโอน (ม.79,80)
หน้าทีข่ องผูถ้ อื ประทานบัตร
27. ต้องชาระหนี้ อันพึงต้องชาระเมือ่ เจ้าพนักงาน
อุตสาหกรรมแร่ประจาท้องทีบ่ อกกล่าวเป็ นหนังสือ (ม.86)
28. ต้องชาระค่าภาคหลวงแร่ตามกฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตรา
ค่าภาคหลวงแร่ (ม. 104)
29. ต้องไม่มีแร่จากทีอ่ ื่นไว้ในครอบครองในเขตเหมืองแร่
ของตน หรือขนแร่ของตนไปนอกเขตเหมืองแร่โดยไม่ได้รบั
อนุญาต (ม.148)
30. ต้องไม่ไปเสียจากภูมิลาเนาหรือถิน่ ทีอ่ ยู่ จนเจ้า
พนักงาน- อุตสาหกรรมแร่ประจาท้องที่ ไม่อาจติดต่อถึงได้
(ม.85)
โทษของการฝ่ าฝื น
ปรับ
เพิกถอนประทานบัตร
ต้องห้ามขอประทานบัตรใหม่ 12 เดือน
นับแต่วนั ถูกเพิกถอน
อุปกรณ์การทาเหมือง
ใบอนุ ญาต
เจ้ าพนักงาน
อุตสาหกรรมแร่
ประจาท้องที่
รวอ.
เจ้าพนักงาน
- ปลูกสร้างอาคารเกีย่ วกับการทาเหมือง
- จัดตั้งสถานที่เก็บขังน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทราย
- ร่วมโครงการทาเหมืองเป็ นเหมืองเดียวกัน
- หยุดการทาเหมือง
- ทาเหมืองใกล้ทางหลวงหรือทางน้ าสาธารณะ
- ปิ ด กั้น ทาลาย หรือทาให้เสือ่ มประโยชน์แก่ทางหลวง ฯ
- ทดน้ า หรือชักน้ า
- ทาทางผ่านเขตเหมืองแร่
- ปล่อยน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทรายเพือ่ เก็บขังในเขต
เหมืองแร่ของผูถ้ อื ประทานบัตรรายอื่น
- ปล่อยน้ าขุ่นข้นหรือมูลดินทรายออกนอกเขตเหมืองแร่
นามูลแร่หรือนามูลดินทรายออกนอกเขตเหมืองแร่
ความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการเหมืองแร่ต่อบุคคล
ทรัพย์สิน หรือสิง่ แวดล้อม
เดิม
ผูร้ อ้ งเรียนจะต้องฟ้ องร้องกล่าวโทษและนาพิสูจน์
ว่าความเสียหายหรือความเดือดร้อนราคาญเป็ นผลมาจาก
การทาเหมือง/กิจกรรมเกีย่ วเนือ่ ง
ปั จจุบนั
ตามมาตรา 131/1 แห่ง พ.ร.บ.แร่ (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545
บัญญัติว่า “ผูถ้ อื อาชญาบัตร ประทานบัตร หรือใบอนุญาตอืน่ ใดตาม
พระราชบัญญัตินี้ ต้องรับผิดชอบในการกระทาของตนต่อความเสียหาย
หรือความเดือดร้อนราคาญใดอันเกิดขึ้ นแก่บุคคล ทรัพย์สิน หรือ
สิง่ แวดล้อม ทั้งนี้ ในกรณีทีเ่ กิดความเสียหายขึ้ นในเขตที่ได้รบั อนุญาต
ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่าความเสียหายนั้นเกิดจากการกระทาของผูถ้ อื
อาชญาบัตร ประทานบัตร หรือใบอนุญาตนั้น”
กระบวนการบริหารจัดการและกากับดูแลด้านสิง่ แวดล้อม
ในการพัฒนาทรัพยากรแร่
1. การดาเนินงานก่อนการอนุ ญาตประทานบัตรเหมืองแร่
1.1) การกลันกรองด้
่
านคุณค่าและความสาคัญของพื้ นที่
1.2) การจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA)
ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ.2535
1.3) การขอความเห็นชอบจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
1.4) การจัดให้มีการค้ าประกันการทาเหมืองและสิง่ แวดล้อม
2. การดาเนินงานในระหว่างการทาเหมือง
2.1) การติดตามตรวจสอบตามเงือ่ นไขสิง่ แวดล้อม
2.2) การเฝ้ าระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อม
2.3) การกาหนดมาตรการเพิม่ เติมทางด้านสิง่ แวดล้อม
2.4) การให้คาปรึกษา แนะนา และให้ความช่วยเหลือแก่ผูป้ ระกอบการ
2.5) การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชนท้องถิน่
3. การดาเนินงานภายหลังจากประทานบัตรเหมืองแร่สนอายุ
ิ้
3.1) การตรวจสอบประทานบัตรสิ้ นอายุและการเวนคืนประทานบัตร
3.2) การฟื้ นฟูพื้นทีท่ ีไ่ ด้ใช้ทาเหมืองแร่แล้ว
การจัดการด้านสิง่ แวดล้อม
ในการทาเหมืองแร่
1. ต้องไม่เป็ นพื้ นทีอ่ นุ รกั ษ์หรือพื้ นทีค่ ุม้ ครองซึ่งกาหนดโดยกฎหมายและ
ประกาศของหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนมติคณะรัฐมนตรี
2. ต้องได้รบั อนุ ญาตในการใช้พื้นทีเ่ พือ่ การทาเหมืองจากผูม้ ีสิทธิในทีด่ ิน
และได้รบั ความเห็นชอบจากท้องที่ (องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอ
และจังหวัด)
3. ต้องจัดทาและได้รบั ความเห็นชอบแผนผังโครงการทาเหมืองแร่ ซึ่ ง
กาหนดเรือ่ งความปลอดภัยต่อบุคคลและทรัพย์สินของประชาชน
4. ต้องจัดทาและได้รบั ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิง่ แวดล้อม
การจัดการด้านสิง่ แวดล้อม
ในการทาเหมืองแร่ (ต่อ)
5. ผ่านการกลันกรองจากคณะกรรมการตามพระราชบั
่
ญญัติแร่ ก่อนเสนอ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมอนุ ญาตประทานบัตร
6. เรียกเก็บเงินค้ าประกันธนาคารเพือ่ การจัดการด้านสิง่ แวดล้อม
7. กรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่ ติดตามตรวจสอบ
การทาเหมืองให้เป็ นไปตาม
- แผนผังโครงการทาเหมือง
- เงือ่ นไขทางด้านสิง่ แวดล้อม
- เงือ่ นไขการอนุ ญาตให้ใช้พื้นทีเ่ พือ่ การทาเหมือง
(การฟื้ นฟูพื้นทีท่ ีผ่ ่านการทาเหมืองแล้ว)
เครื่องมือที่ใช้ ในการกากับดูแล
การรักษาสิ่งแวดล้ อมในการทาเหมือง


แผนผังโครงการทาเหมือง เป็ นเครือ่ งมือในการกากับดู แล การ
ทาเหมืองแร่ โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติแร่
พ.ศ.2510 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม เป็ นเครือ่ งมือทีใ่ ช้
พิจารณาความเหมาะสมของโครงการทางด้านสิง่ แวดล้อม และ
กาหนดมาตรการการจัดการเพือ่ ป้องกัน ลด และแก้ไข
ผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึ้ นโดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
ผลกระทบสิง่ แวดล้อมจากการทาเหมือง








การทาลายและความเสือ่ มโทรมของทัศนียภาพ
การสูญเสียทีด่ ินและความขัดแย้งของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ปั ญหาจากการเก็บกองเปลือกดินและเศษหิน
ผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ
ผลกระทบต่อคุณภาพของน้ า
ผลกระทบจากเสียง ความสันสะเทื
่
อน และหินปลิว
ผลกระทบจากการขนส่งแร่
ปั ญหาพื้ นทีท่ ีท่ าเหมืองแล้ว
การลดและป้องกันแก้ไขผลกระทบ







ออกแบบการใช้พนที
ื้ เ่ หมืองโดยคานึงถึงความปลอดภัยของ
ส่วนรวมและรบกวนสิง่ แวดล้อมให้นอ้ ยทีส่ ุด
เลือกเส้นทางทีเ่ หมาะสมในการขนส่งหินและเปลือกดิน - เศษหิน
หลีกเลีย่ งการใช้พนที
ื้ ท่ ีอ่ ่อนไหวต่อสิง่ แวดล้อม
ออกแบบการทาเหมืองให้ฟื้นฟูพนที
ื้ ไ่ ด้เร็วทีส่ ุด
ใช้พนที
ื้ ท่ าเหมืองให้นอ้ ยทีส่ ุดเท่าทีจ่ าเป็ น
ลดผลกระทบด้านเสียงและทัศนียภาพได้หรือมีนอ้ ยทีส่ ุด
จัดระบบการระบายน้ าไม่ให้กระทบพื้ นทีแ่ ละทางน้ าข้างเคียง
การลดและป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านทัศนียภาพ
จุดเกิดผลกระทบ
 หน้าเหมืองและบ่อเหมือง

มาตรการลดและป้องกันแก้ไข
1) เลือกจุดเปิ ดการทาเหมือง
2) เลือกทิศทางการเดินหน้าเหมือง
3) สร้างฉากกั้น เช่น คันดิน แนวต้นไม้ทึบ
กองมูลดินทรายและเศษหิน 1) เลือกสถานที่กองเก็บ
2) นาไปใช้ประโยชน์
3) ออกแบบการเก็บกองและฟื้ นฟู
4) สร้างฉากกาบัง
การลดและป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านทัศนียภาพ (ต่อ)


การทางานของเครื่องจักร/
รถบรรทุก
อาคารและสิง่ ก่อสร้าง

เส้นทางขนส่งแร่

ฝุ่ นละออง
1) เลือกเส้นทางขนส่ง
2) สร้างฉากกาบัง
1) เลือกสถานที่ต้ งั
2) ออกแบบให้เป็ นอาคารตา่ ใช้สีกลมกลืน
3) สร้างฉากกาบัง
1) เลือกแนวเส้นทาง
2) สร้างฉากกาบัง
3) ออกแบบเส้นทางให้ลดผลกระทบ
1) สร้างแนวกาบังฝุ่ น
2) ใช้อุปกรณ์ดกั ฝุ่ น
การปลูกต้นไม้รอบเขตประทานบัตร
ทีม่ า : บริษทั ธวัชชัยหินอ่อน จากัด (จังหวัด
สระบุรี)
การเปิ ดหน้าเหมืองและการเก็บกองเปลือกดิน-เศษหิน
มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม




แผ้วถางป่ าและเปิ ดหน้าเหมืองเท่าทีพ่ อเพียงแก่การทาเหมืองในเวลาประมาณ 1 ปี
คัดเลือกและขุดเปลือกดิน และดินชั้นล่างไปเก็บกองในทีเ่ หมาะสม/ใช้ในการฟื้ นฟู
ควบคุมการชะล้างพังทลายของกองเปลือกดิน และเศษหินมูลดินทราย
ทาเหมืองและเก็บกองเปลือกดินและเศษหินให้ปลอดภัยต่อทรัพย์สนิ และชีวิตของ
คนงานและประชาชนทีอ่ ยู่ใกล้เคียง เช่น
- เปิ ดหน้าเหมืองและบ่อเหมืองแบบขั้นบันได
- เว้นพื้ นทีไ่ ม่ทาเหมืองบริเวณเขตประทานบัตรตามสภาพงาน
- ล้อมรั้วหรือจัดทาคันดินด้านทีเ่ ป็ นอันตราย/ปิ ดป้ายเตือน
- ปรับแต่งความลาดชันของกองเปลือกดินและวัสดุต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับชนิดวัสดุ
การทาเหมืองแบบขั้นบันได : หินปูน
ที่มา : บริษทั ปูนซีเมนต์เอเซีย จากัด (มหาชน) (จังหวัดสระบุรี)
ลานเก็บกองเปลือกดิน เศษหิน
ที่มา : บริษทั อุตสาหกรรมปิ โตรเคมีกลั ไทย จากัด (มหาชน) (จังหวัด
สระบุรี)
ลานเก็บกองแร่
ที่มา : บริษทั รุ่งอรุณศิลา จากัด (จังหวัดสระบุรี)
คันทานบ และคูระบายน้ า
ที่มา : บริษทั ไทย - เยอรมันเซรามิคอินดัสทรี จากัด (มหาชน) (จังหวัดสระบุรี)
การป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านฝุ่ นละออง
แหล่งกาเนิดฝุ่ น
มาตรการควบคุม

การขุดเจาะรูระเบิด

การระเบิด

การรวมกอง การขนย้าย
และเทกองหิน, เปลือกดิน
1) ติดตั้งอุปกรณ์เก็บฝุ่ น
2) ฉีดพรมน้ า
1) ตรวจสอบสภาพอากาศ
2) เลือกช่วงเวลาที่เหมาะสม
1) ฉีดพรมน้ า
2) สร้างแนวกาบังลม
3) ปรับพื้ นบริเวณที่เก็บกอง
4) ทาความสะอาดลดการสะสมฝุ่ น
การป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านฝุ่ นละออง(ต่อ)

การขนส่ง

เครื่องบด เครื่องคัดขนาด
สายพานลาเลียง
1) ปรับปรุงผิวเส้นทางจราจร
2) ฉีดพรมน้ า
3) เก็บกวาดฝุ่ นเป็ นครั้งคราว
4) เลือกเส้นทางขนส่ง
5) ปิ ดคลุมท้ายรถบรรทุกหินละเอียด
1) ติดตั้งในอาคาร/สร้างที่ครอบ
2) ฉีดพรมน้ าในจุดต่าง ๆ
3) ติดตั้งเครื่องดักฝุ่ น
การติดตั้งระบบสเปรย์น้ าบริเวณเส้นทางลาเลียงแร่
ที่มา : บริษทั มานะศิลา จากัด (จังหวัดนครศรีธรรมราช)
การเก็บกวาดฝุ่ นละอองบริเวณเส้นทางลาเลียง
ที่มา : บริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จากัด (มหาชน) (จังหวัดสระบุรี)
ประกาศกรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่
เรื่อง ให้โรงโม่บดหรือย่อยหินมีระบบป้องกันผลกระทบสิง่ แวดล้อม
เมือ่ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2548
1. โรงโม่หินต้ องจัดทาเป็ นระบบปิ ด
2. เส้ นทางขนส่งลาเลียงหินภายในโรงโม่บดหรือย่อยหินทั้งหมดอย่างน้ อยจะต้ อง
เป็ นถนนที่มีการลาดยางปิ ดคลุม หรือเป็ นถนนคอนกรีต
3. พื้นที่เก็บกองหินต้ องเป็ นลานคอนกรีตหรือหินบดอัดแน่น
4. มีระบบสเปรย์น้า หรือใช้ การฉีดพรมนา้ บริเวณลานเก็บกองหิ นที่คัดขนาดแล้ ว
และตามเส้ นทางขนส่งลาเลียงหิน
5. มีระบบลานล้ างล้ อรถยนต์ท่มี ีประสิทธิภาพและทาการล้ างล้ อรถยนต์
บรรทุกหินก่อนออกนอกโรงโม่บดหรือย่อยหิน
6. มีการสร้ างรางระบายนา้ และมีท่ดี ักตะกอนฝุ่ นในพื้นที่ต่างๆ ของโรง
โม่ บดหรื อย่ อยหิ นเพื่อรองรับตะกอนฝุ่ นที่เกิดจากการชะล้ างของน้าฝน
และการล้ างทาความสะอาดไปฝังกลบ
7. จัด ทาแนวกาแพงทึบ หรื อตาข่ า ยดั กฝุ่ น หรื อแนวคันดิ น และแนว
ต้ นไม้ ทรงสูงหนาแน่ นทึบปิ ดกั้นทิศทางลมและเสียงตามความเหมาะสม
ของสภาพพื้นที่
8. ในกรณีโรงโม่บดหรือย่อยหินตั้งอยู่ในรัศมีเกินกว่า 3 กิโลเมตร จาก
แหล่ งชุมชน โรงเรียนหรือสถานศึกษา วัดหรือศาสนสถาน โรงพยาบาล
โบราณสถาน ที่ต้ังสถานที่ราชการหรือหน่วยงานของรัฐ และแหล่งอนุรักษ์
ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อม ตามที่ ค ณะรั ฐ มนตรี ก าหนด
ไม่จาเป็ นต้ องปฏิบัติตามข้ อ 1 ถึงข้ อ 6 แต่ต้องติดตั้งเครื่องฉีดสเปรย์นา้
ในจุ ดที่ก่อให้ เกิดฝุ่ นละอองทุกจุ ด และจัดให้ มีรถบรรทุกนา้ ฉีดพรมลาน
เก็บกองหินและถนนในโรงโม่บดหรือย่อยหินตลอดระยะเวลาเครื่องจั กร
และยานพาหนะทางาน รวมทั้งจะต้ องเก็บกวาดหรือดูดฝุ่ นบริเวณลานเก็บ
กองหินและถนนภายในโรงโม่บดหรือย่อยหิน นาไปฝังกลบอย่างสม่า เสมอ
เพื่อไม่ให้ มีฝนตกค้
ุ่
างสะสม
9. ผู้ประกอบกิจการโรงโม่บดหรือย่อยหินจะต้ องเอาใจใส่ดูแลบารุงรักษา
อาคารและอุ ป กรณ์ ต ลอดจนระบบป้ องกั น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มให้
สามารถใช้ ก ารได้ อย่ า งมีประสิทธิภ าพสูงสุด อยู่ อย่ า งสม่ า เสมอ และใช้
อุปกรณ์และระบบป้ องกันผลกระทบสิ่งแวดล้ อมตลอดระยะเวลาทางาน
อย่างเข้ มงวด เพื่อให้ การประกอบกิจการโรงโม่บดหรือย่อยหิน ไม่ ปล่อย
ฝุ่ นละอองเกินมาตรฐานตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้ อม เรื่อง กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยฝุ่ นละอองจาก
โรงโม่บดหรือย่อยหิน ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2539
10. พนักงานและบุคคลที่เข้ าไปในเขตโรงโม่ หินต้ องใส่อุปกรณ์ป้องกัน
ส่วนบุคคล เช่น หน้ ากากกรองฝุ่ น รองเท้ าหัวเหล็ก หมวกนิรภัย ปลั๊กอุดหู
หรื อ เครื่ อ งครอบหู และแว่ น นิ ร ภั ย ตามความเหมาะสมในด้ า นความ
ปลอดภัย
11. รถบรรทุกที่ขนหินออกจากโรงโม่บดหรือย่อยหินต้ องอยู่ในสภาพที่ดี
ไม่มีรอยรั่วให้ หินร่วงหล่นได้ และมีผ้าใบปิ ดคลุมมิดชิด
นอกจากนั้นกรมอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่ ยังได้นา
ข้อกาหนดต่างๆของหน่วยราชการทีเ่ กีย่ วข้องมาใช้ในการกากับดู แลการ
ทาเหมืองหินและโรงโม่หินควบคู่ไปด้วยได้แก่



- ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม เรือ่ ง
กาหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยฝุ่ นละอองจากโรงโม่ บด หรือย่อยหิน
ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2539
- ประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2547)
เรือ่ ง กาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัว่ ไป ลงวันที่
9 สิงหาคม 2547
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เรือ่ ง กาหนด
มาตรฐานควบคุมระดับเสียงและความสันสะเทื
่
อนจากการทาเหมืองหิน
ลงวันที่ 7 พฤศจิ กายน 2548
การสร้างโรงโม่หินที่เป็ นระบบปิ ด
ที่มา : บริษทั นา่ เฮงศิลา จากัด (จังหวัดสระบุรี)
โรงโม่หิน
ยุ้งรับหินใหญ่ไม่มีอาคารปิ ดคลุม 3 ด้ าน ยุ้งรับหินใหญ่มีอาคารปิ ดคลุม 3 ด้ าน
โรงโม่ หิน
ปลายสายพานไม่มีระบบสเปรย์น้ า
ปลายสายพานมีระบบสเปรย์น้ า
จุดสเปรย์น้ าบริเวณยุง้ รับหิน
ที่มา : ห้างหุน้ ส่วนจากัด ศิลาแผ่นดินทองเขาตาบล (จังหวัดลพบุรี)
จุดสเปรย์น้ าบริเวณปากเครื่องบดย่อย
ที่มา : บริษทั ศิลาเขาแก้ว จากัด (จังหวัด
สุพรรณบุรี)
จุดสเปรย์น้ าบริเวณปลายสายพานลาเลียง
ที่มา : บริษทั สินธนา รีซอร์ส จากัด (จังหวัดสระบุรี)
ปล่องรับหินบริเวณปลายสายพานลาเลียง
ที่มา : ห้างหุน้ ส่วนจากัด ศิลานิล (จังหวัดสระบุรี)
โรงโม่ หิน
พื้นโรงงานไม่มีการเก็บกวาด
พื้นโรงงานมีการเก็บกวาดสม่าเสมอ
ถนนในโรงโม่ หิน
ถนนถนนหิ นบดอัดแน่น
ถนนคอนกรี ต
ลานล้ างล้ อระบบ sensor
ที่มา : บริษทั เคมีแมน จากัด (จังหวัดสระบุรี)
ลานล้างล้อแบบที่มีการฉีดพรมน้ าด้านบนกระบะรถ
ที่มา : บริษทั ซีวิลเอนจิ เนียริง จากัด (จังหวัดสระบุรี)
โรงโม่ หิน
มีรางระบายน้ าในโรงโม่หิน
มีการสร้างบ่อดักตะกอน
โรงโม่ หิน
มีแนวคันดินและปลูกไม้ทรงสูง
มีตาข่ายดักฝุ่ น
การปิ ดคลุมท้ายรถบรรทุกขณะทาการขนส่งแร่
การตรวจวัดฝุ่ นภายในโรงโม่ หิน
ตรวจวัดฝุ่ นจากแหล่งกาเนิดฝุ่ นในโรงโม่หิน
การตรวจวัดฝุ่ นละอองในพืน้ ทีช่ ุมชน
ตรวจวัดฝุ่ นแบบอัตโนมัติต่อเนื่อง
ตรวจวัดเป็ นครั้งคราวด้วย
เครื่ อง High Volume
การป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านเสียง
และความสันสะเทื
่
อน
แหล่งกาเนิดปั ญหา
มาตรการป้องกันแก้ไข

1) ปิ ดทับชุดวัตถุระเบิดให้ถูกต้องตาม
หลักวิชาการ
2) ใช้วตั ถุระเบิดทีม่ ีกาลังตา่ หรือใช้
เครือ่ งจักรแทน ถ้าทาได้
3) หลีกเลีย่ งการระเบิดย่อยโดยใช้
เครือ่ งเจาะ-ทุบหินแทน
4) ระเบิดหินในช่วงทีส่ ภาพดินฟ้ า
อากาศเหมาะสม
แรงอัดจากการระเบิด
การป้องกันแก้ไขผลกระทบด้านเสียงและความสันสะเทื
่
อน (ต่อ)

ความสันสะเทื
่
อนจากระเบิด

เสียงจากเครือ่ งจักรและพาหนะ

เสียงจากโรงโม่หินและ
เครือ่ งจักรทีต่ ิดตั้งอยู่กบั ที่
1) จุดเชื้ อประทุโดยมีจงั หวะหน่วงเวลา
2) กาหนดหลุมเจาะระเบิดให้เหมาะสม
3) ใช้เทคนิคการระเบิดทีเ่ หมาะสมโดยเฉพาะ
ช่วงเวลาและความถีข่ องการระเบิด
1) เลือกเส้นทางขนส่ง
2) ติดตั้งท่อเก็บเสียง/ทีค่ รอบเครือ่ งยนต์
3) ดูแลบารุงรักษาเครือ่ งยนต์และอุปกรณ์
4) สร้างแนวกาบังเสียง
1) ดูแลรักษาเครือ่ งจักรอุปกรณ์
2) ให้มีอาคารปิ ดมิดชิด
3) เลือกทีต่ ้ งั โรงโม่และเครือ่ งมืออุปกรณ์
4) สร้างแนวกาบังเสียง
การทาเหมืองหิน
การระเบิดหิ นแบบห้อยโหน
การระเบิดหิ นแบบขั้นบันได
การทาเหมืองหิน
การเจาะรู ระเบิด
ป้ายแจ้งวัน และเวลาในการระเบิด
ที่มา : บริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จากัด (มหาชน) (จังหวัดสระบุรี)
ข้อควรพิจารณาในการทาเหมือง



รักษาสภาพแวดล้อมเดิมให้มากทีส่ ุด
มีมาตรการเปิ ดหน้าเหมือง การเก็บกองเปลือกดิน ดินชั้นล่าง
และเศษหินมูลทรายทีเ่ หมาะสม
- ปรับสภาพพื้ นทีพ่ ร้อมกับการทาเหมือง
- ควบคุมการชะล้างพัดพาตะกอนดิน
- เก็บกองโดยไม่ขดั ขวางการไหลบ่าของน้ า
ไม่เปิ ดหน้าเหมืองเกินความจาเป็ น
ข้อควรพิจารณาในการทาเหมือง (ต่อ)



ไม่ระบายน้ าขุ่นออกนอกเขตเหมือง, ใช้หมุนเวียน
คานึงถึงความปลอดภัยในทรัพย์สิน ชีวิต และสิง่ แวดล้อมในด้าน
- ความลาดชัน
- การใช้วตั ถุระเบิดและเครือ่ งจักรกล
- การก่อสร้างและใช้เส้นทาง
- การหยุดการชัว่ คราว
- การจัดการขยะและสิง่ ปฏิกูล, สารเป็ นพิษ
ก่อนเลิกกิจการทาเหมือง ต้องทาพื้ นทีใ่ ห้เรียบร้อย
ข้อควรพิจารณาในการทาเหมือง (ต่อ)
การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชน
- เอาใจใส่สอดส่องดูแลทุกข์สุขของชุมชนทีอ่ ยู่ใกล้เคียง
- ให้ความช่วยเหลือส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน
เช่น การให้ทุนการศึกษา สนับสนุนทุนในการดูแล/
ปรับปรุง/สร้างสถานที่ เช่น วัด โรงเรียน ถนน
การฟื้ นฟูพื้นที่ทาเหมืองแล้ว





กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายการดาเนินงาน
พิจารณาให้การฟื้ นฟูทีด่ ินฯ เป็ นส่วนหนึง่ ของการทาเหมือง และกาหนด
แผนงานฟื้ นฟูฯ ไว้ล่วงหน้า
- รูปแบบการใช้ประโยชน์ทีด่ ินทาเหมืองแล้ว ถ้ากาหนดไม่ได้ตอ้ งให้
ความสาคัญแก่ดา้ นสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัยของส่วนรวม
แผนงานฟื้ นฟูฯ ต้องมีรายละเอียดและแผนการปฏิบตั ิงานขั้นละเอียดและ
ชัดเจน
- การดาเนินงานฟื้ นฟูตอ้ งดาเนินการทันทีทีท่ าได้
การเตรียมพื้ นทีป่ ลูกพืช และการปรับปรุงด้านวิศวกรรมต้องเหมาะสม
ต้องดาเนินการด้วยความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีกองทุน/เงินพอเพียง
การจัดสวนหย่อมบริเวณพื้ นทีท่ ีผ่ ่านการทาเหมืองแร่แล้ว
ที่มา : บริษทั ปูนซีเมนต์เอเซีย จากัด (มหาชน) (จังหวัดสระบุรี)
การปลูกหญ้าแฝกบริเวณขั้นบันไดทีผ่ ่านการทาเหมืองแล้ว
ที่มา : บริษทั รุ่งอรุณศิลา จากัด (จังหวัดสระบุรี)
To Plant Trees on the Mined Quarry
Placing Nonnative Soil and Revegetation
Method of Remnantal Cliffs
Placing Nonnative Soil
Planting Trees
Planting Creeper
Results
Placing
Planting
Nonnative
Trees Soil
Results
Planting
Creeper
The overall picture of reclamation area, quarry down 10m per year, trees grow up
to 5~6m tall in 5 years.
Early stage of
re-vegetation
in 1991.
The same
site’s scene
taken 3 years
later(1995)
การถ่ายโอนภารกิจด้ านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรแร่
และสิ่งแวดล้ อม
กรมฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิน่ ได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
การดาเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมเหมืองแร่ โดยได้ถ่ายโอนภารกิจให้กบั
องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่ เมือ่ เดือนกันยายน 2546 ซึ่งภารกิจที่
ถ่ายโอนประกอบด้วย 2 ภารกิจหลัก คือ
ภารกิจที่ 1 การติดตามและตรวจสอบเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อมและ
มลพิษ
ในการประกอบกิจการตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 และ
กิจกรรมต่อเนือ่ ง
ภารกิจที่ 2 การดาเนินการตามกฎหมาย
ภารกิจที่ 1 การติดตามและตรวจสอบเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม
และมลพิษในการประกอบกิจการตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 และ
กิจกรรมต่อเนือ่ ง ประกอบด้วย
1.1) การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันและแก้ไข
ผลกระทบสิง่ แวดล้อม
1.2) การติดตามเฝ้ าระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อม
1.3) การดาเนินงานโครงการป้องกันและแก้ไขปั ญหา
สิง่ แวดล้อมและโครงการฟื้ นฟูพื้นที่ทาเหมืองแร่แล้ว
ภารกิจที่ 2 การดาเนินการตามกฎหมาย ประกอบด้วย
2.1) การมีส่วนร่วมให้ความเห็นในการพิจารณาอนุญาตการ
ประกอบกิจการ
2.2) การให้ความเห็น/คาแนะนา และการรายงานข้อเท็จจริง
ต่อ ผูม้ ีอานาจตามกฎหมาย
กรอบของภารกิจทีถ่ ่ายโอน
รูปแบบการถ่ายโอน : อปท. ดาเนินการร่วมกับ กพร.
อปท. ที่ได้รบั การถ่ายโอน : จะต้องเป็ น อปท. ที่มีประทานบัตรและคาขอ
ประทานบัตรตั้งอยู่
การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.แร่ : มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของ
อปท. เป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.2510 เพือ่ ให้
สามารถเข้าไปตรวจสอบเหมืองแร่ในเรื่องของการการปฏิบตั ิตาม
มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม และการ
ตรวจสอบข้อเท็จจริงกรณีมีเรื่องร้องเรียน
การปฏิบตั ิงานตามภารกิจที่ถ่ายโอนของ อปท. : อปท. ต้องปฏิบตั ิงานตาม
คู่มือวิธีการปฏิบตั ิงานที่ กพร. กาหนด
คู่มือวิธปี ฏิบัติงานของ อปท.
1. เรื่อง การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันและแก้ไข
ผลกระทบสิง่ แวดล้อม
- ใช้แบบรายงาน เรื่อง การตรวจการปฏิบตั ิตามมาตรการ
ป้องกันและแก้ไขผลกระทบ
- การตรวจ : แปลงละ 3 ครั้ง/ปี
- การรายงาน : ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 30 เมษายน
ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 30 สิงหาคม
ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 30 ธันวาคม
2. เรือ่ ง การติดตามเฝ้ าระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อมในการทาเหมืองแร่
ใช้แบบรายงาน 2 แบบ คือ
(1) แบบรายงานที่ 1 เรือ่ ง ข้อมูลการเปลีย่ นแปลงสภาพการใช้
ประโยชน์ทีด่ ินโดยรอบประทานบัตร
การตรวจ : 1 ครั้ง/ปี
การรายงาน : ภายในวันที่ 15 มกราคม
(2) แบบรายงานที่ 2 เรือ่ งรายงานการเฝ้ าระวังคุณภาพ
สิง่ แวดล้อมในชุมชนทีม่ ีการทาเหมืองแร่
การตรวจ : 4 ครั้ง/ปี
การรายงาน : ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 15 เมษายน
ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม
ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 ตุลาคม
ครั้งที่ 4 ภายในวันที่ 15 มกราคม
3. เรื่อง การให้ความเห็นในการพิจารณาอนุ ญาตประทานบัตรเหมืองแร่
ฝ่ ายอุตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมืองแร่
องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่
7
15
วัน
วัน
ผูใ้ หญ่บา้ น
จัดประชุม
จัดประชุมสภาฯ และ
แจ้ งผลภายใน 45 วัน
นับจากวันรับเรื่อง
4. เรื่อง การให้ความเห็น/คาแนะนาและการรายงานข้อเท็จจริง
- ใช้แบบรายงาน เรื่อง การตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากการทา
เหมืองแร่
สิง่ ที่ผูป้ ระกอบการเหมืองแร่จะต้องเตรียมความพร้อม
1.ศึกษารายละเอียดแผนผังโครงการทาเหมืองว่ามีความเหมาะสมและเป็ นไปได้
ในทางปฏิบตั ิ และให้ความสาคัญกับการสารวจแหล่งแร่ตามคาขอประทานบัตร
2.ควรจัดการประชุมชี้ แจงรายละเอียดโครงการทาเหมืองให้คนในพื้ นที่ทราบและ
ให้ความเห็นชอบโดยถือเสียงของคนส่วนใหญ่เป็ นเกณฑ์
3. หากมีขอ้ ตกลงใด ๆ กับประชาชนหรือ อบต. จะต้องทาได้ และต้องทาด้วย
4. ศึกษาเงือ่ นไขมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบ
สิง่ แวดล้อมว่ามีความเหมาะสม และปฏิบตั ิได้ทุกข้อหรือไม่
ถ้าไม่ได้ตอ้ งขออุทธรณ์แก้ไขโดยมีเหตุผล
5. ต้องปฏิบตั ิตามแผนผังโครงการทาเหมืองและเงือ่ นไข
สิง่ แวดล้อมอย่างเข้มงวด พร้อมให้ตรวจสอบได้
การให้ความช่วยเหลือแก่ผูป้ ระกอบการของกพร.
1. ให้คาแนะนาทางวิชาการในการจัดทาแผนผังโครงการ
ทาเหมือง
2. ให้คาแนะนาทางวิชาการและความช่วยเหลือในการ
จัดทา EIA
3.ให้ความช่วยเหลือในการขออุทธรณ์แก้ไขปรับปรุง
เงือ่ นไขข้อกาหนดด้านสิง่ แวดล้อม
4. ให้ความช่วยเหลือในการติดตามตรวจวัดคุณภาพ
สิง่ แวดล้อม ตามเงือ่ นไขทีก่ าหนดไว้
5. ให้คาแนะนาและความช่วยเหลือในการปรับปรุง
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อมและการฟื้ นฟูพนที
ื้ ่
เหมืองแร่
6. ปรับปรุงระเบียบการกากับดูแลด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ สร้าง
ระบบเตือนล่วงหน้า
7. ตรวจสอบพื้ นทีแ่ ละร่วมแก้ไขปั ญหาร้องเรียนบนพื้ นฐาน
ทางวิชาการ
8. ประสานงานกับ สผ. ปรับปรุงประเภทและขนาด เหมือง
แร่ทีไ่ ม่ตอ้ งทา EIA