“ความพร้ อมของประเทศไทยในการจัดทา ข้ อตกลง FTA: FREE TRADE AREA ในประเด็น ระบบสาธารณสุข” กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 25 สิ งหาคม 2547

Download Report

Transcript “ความพร้ อมของประเทศไทยในการจัดทา ข้ อตกลง FTA: FREE TRADE AREA ในประเด็น ระบบสาธารณสุข” กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 25 สิ งหาคม 2547

“ความพร้ อมของประเทศไทยในการจัดทา
ข้ อตกลง FTA: FREE TRADE AREA ในประเด็น
ระบบสาธารณสุข”
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
25 สิ งหาคม 2547
สถานการณ์ทางการค้าของโลก
ประเมินว่าการค้าโลก
ขยายตัว 4.7% ในปี
2004
การค้าขยายตัว
และมีแนวโน้มเปิ ด
เสรีมากขึน้
อัตราการเติบโตที่สูง
จะอยูใ่ นตลาดใหญ่
43% ของการค้าระหว่างประเทศเกิดขึ้นระหว่าง
ประเทศที่มี FTA (OECD)
มี 130 ความตกลง FTA เกิดขึ้นแล้ว (WTO)
ตลาดส่ งออกหลักของไทยกาลังดาเนินการ
จัดทาความตกลง FTA กับประเทศต่างๆ
FTA
WTO
ประเทศต่างๆ
มีแนวโน้มทา
ชะงักงัน
FTA
การเจรจา
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
2
เหตุผลในการจัดทา FTA
เพิ่มขีด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
เพิ่มโอกาสใน
การส่งออก
สร้างหุน้ ส่ วนทาง
เศรษฐกิจ
ดึงดูดการ
ลงทุนจาก
ต่างประเทศ
ปรับโครงสร้าง
ทางเศรษฐกิจ
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
3
โครงสร้างการส่ งออกของไทย (สัดส่ วนของมูลค่าการส่ งออกปี 2546)
โดยมูลค่าการส่ งออกปี 2546 มีประมาณ 3.3 ล้านล้านบาท
มีสัดส่ วนมากขึน้
*ปี 2543 = 28.5%
มีสัดส่ วนลดลง
*ปี 2543 = 14.5%
Others
33%
มีสัดส่ วนลดลง
Japan
14%
*ปี 2543 = 21.5%
US
17%
ASEAN
21%
มีสัดส่ วนมากขึน้
*ปี 2543 = 19.5%
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
EU
15%
มีสัดส่ วนลดลง
*ปี 2543 = 16%
4
ทีม FTA
คณะรัฐมนตรี
กนศ.
คณะเจรจา
Australia&NZ
การุ ณ กิตติสถาพร
Bahrain
อภิรดี ตันตราภรณ์
China
สมพล เกียรติไพบูลย์
India & BIMSTEC
ปานปรี ย ์ พหิทธานุกร
Japan
พิศาล มาณวพัฒน์
Peru
กันตธีร์ ศุภมงคล
US
นิตย์ พิบูลสงคราม
คณะทางาน
ประสานยุทธศาสตร์
และนโยบายการ
เจรจาการค้ า
ระหว่ างประเทศ
(ที่ปรึ กษารองนายกฯ)
(สมพล เกียรติไพบูลย์)
คณะทางาน
ติดตามผลการเจรจา
(ดร.ณรงค์ชยั อัครเศรณี )
การรองรับผลการเจรจา (Implementation)
คณะทางานรองรับผลการเจรจา
ปรับโครงสร้าง เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อรองรับการเปิ ดเสรี
ด้านการตลาด
พัฒนาตลาดเชิงรุก
พัฒนาตลาดเชิงรุก
Thailand Market Place
พัฒนาระบบข้อมูลการตลาด
พัฒนาระบบข้อมูลการตลาด
พัฒนาบุคลากร
Marketing Survey
พัฒนาบุคลากร
ด้ านการผลิต
ช่วยเหลือผูผ้ ลิตที่ได้รบั
ผลกระทบ
ด้านเทคโนโลยี
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี
เพื่อการผลิต การบริหาร
จัดการ
Inter-trader
พัฒนาสินค้า
Brand image
พัฒนาระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
6
ยุทธศาสตร์ การจัดทา FTA ของไทย: รายประเทศ
ประเทศใหญ่ ตลาดเดิม (Market Strengthening) :

ญี่ปุ่น สหรัฐฯ
ขยายสู่ ตลาดใหม่ (Market Broadening & Deepening) :
ตลาดที่มีศกั ยภาพ (Potential): จีน อินเดีย ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
 ตลาดที่เป็ นประตูการค้า (Gateway): บาห์เรน เปรู
 ตลาดภูมิภาค: BIMST-EC

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
7
8+1 FTA Initiatives
USA
Japan
China
India
Bahrain
ASEAN
BIMST-EC
Peru
Australia
New Zealand
= future initiative ?
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
8
หลักการจัดทา FTA
ลดอุปสรรคและข้อกีดกัน
การค้าระหว่างกัน
ทั้งด้านการค้าสิ นค้า
การค้าบริ การ
และการลงทุน
การค้าสินค้า → ลดภาษีนาเข้า
ลดมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี
มาตรการสุขอนามัย และ
มาตรฐานสิ นค้าอุตสาหกรรม
การค้าบริการ → ลด/เลิกข้อกีดกันต่างชาติ
และการจากัดจานวน
การให้บริ การของต่างชาติ
การลงทุน → ให้การอานวยความสะดวก
และการคุม้ ครองนักลงทุน
และกิจกรรมการลงทุน
ของต่างชาติ
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
9
ยุทธศาสตร์ การจัดทา FTA ของไทย: รายสาขา
AGRICULTURE




เน้นอุตสาหกรรมเกษตร และอาหารแปรรู ป
สิ นค้าอ่อนไหว ให้เวลาปรับตัวนานกว่าเช่น
เนื้อสัตว์ นม
ปัญหา NTBs เช่ น SPS Food safety
สิ่ งแวดล้อม หรือ แรงงาน
• เจรจาให้ลด/ยกเลิก หรื อปรับเพื่อไม่ให้
เป็ นอุปสรรคการค้า
• พัฒนาการผลิต
• ทา MRA
กาหนดมาตรฐานการนาเข้าวัตถุดิบสิ นค้า
เกษตรและอาหาร




สินค้ าและบริการทีอ่ าจ
เกีย่ วข้ องกับประเด็นระบบสุ ขภาพ
SERVICES
MANUFACTURING
เน้นอุตสาหกรรมเป้ าหมายและกลุ่ม
cluster ที่ผลิตแบบ production network ได้
เช่น แฟชัน่ ยานยนต์และชิ้นส่ วน อิเลก
ทรอนิกส์ เฟอร์ นิเจอร์ และของแต่งบ้าน
NTBs เช่ นมาตรฐานสิ นค้ า (TBT)
สิ่ งแวดล้อม หรื อ แรงงาน
• เจรจาให้ลด/ยกเลิก หรื อปรับเพื่อ
ไม่ให้เป็ นอุปสรรคการค้า
• พัฒนาการผลิต
• ทา MRA
กาหนดมาตรฐานนาเข้าสิ นค้า
อุตสาหกรรม
RULES OF ORIGIN :
• ต้องสะท้อนถึงสถานะการผลิตของ
ไทย
• พัฒนาอุตสาหกรรมต้นน้ า




กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
เปิ ดเสรีแบบค่ อยเป็ น
ค่ อยไป และใช้ Positive
list Approach
เน้ นธุรกิจบริการทีม่ ี
ความพร้ อมเช่น
ท่องเที่ยว สุ ขภาพ
ออกแบบก่อสร้าง
สนับสนุนธุรกิจที่มี
อนาคตเช่น ICT
Logistics บันเทิง ซ่อม
บารุ ง
กลุ่มธุรกิจบริ การที่ยงั ไม่
พร้อมเช่น ธนาคาร
ประกันภัย
โทรคมนาคม ขนส่ ง ให้
มีระยะเวลาปรับตัว 10
ปี
IPRs
• มาตรฐานการ
คุม้ ครองในระดับ
สากล
• อิงความตกลง
WTO เช่น
สิ ทธิบตั ร
• เน้นความร่ วมมือ
เพื่อเสริ มสร้าง
นวัตกรรม
• การใช้ประโยชน์
ในเชิงพาณิ ชย์
• อานวยความ
สะดวกในการจด
ทะเบียน และลด
ค่าใช้จ่าย
10
ข้อตกลงเขตการค้าเสรี ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุ ขภาพ
การบริการด้ านสุ ขภาพ
•
•
•
•
การให้ บริการผ่านสื่ออิเลคทรอนิกส์
การเข้ ามารับบริการในประเทศไทย
การร่ วมลงทุนในประเทศไทย
การให้ บริการในต่ างประเทศ
การคุ้มครองทรัพย์ สินทางปัญญา
• สิ ทธิบัตรยา
• สิ ทธิขบวนการผลิตบัตรยา
• ปฏิญญาโดฮา
• การคุ้มครองพันธุ์พช
ื และสมุนไพร
• ภูมป
ิ ัญญาท้ องถิ่น
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
11
สิ นค้ าที่เกีย่ วข้ องกับ
บริการสุ ขภาพ
Health Services Cluster
บริการทีเ่ กีย่ วข้ อง
กับบริการสุ ขภาพ
Lab testing
R&D
Health insurance
Life Science
ท่ องเที่ยว ที่พกั
บริการอาหารและ
เครื่องดืม่
กายภาพ
บาบัด
Para-medic
วัสดุอุปกรณ์ ทันตกรรม
คลีนิก
โรงพยาบาล
ดูแลคนชรา
สปา
นวดบาบัด
ลองสเตย์
ทันตกรรม
นวด
ผ่อนคลาย
เสริ มสวย
CORE ACTIVITIES
จัดจาหน่ าย
ร้ านขายยา
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
ยา
วิตามิน
อุปกรณ์ และ
เครื่องมือแพทย์
อาหารเสริม
สมุนไพรไทย
ตารับยาพืน้ บ้ าน
เครื่องสาอาง
Manufacturing
12
ท่ าทีไทยในการเจรจาเปิ ดตลาดด้ านสุขภาพ
Japan
 ให้ คนญี่ปุ่นเดินทางมารักษาพยาบาลในไทยโดยเบิก
ค่ าใช้ จ่ายจากระบบประกันสุขภาพของรั ฐบาลญี่ปุ่นได้
Japan, US, NZ, Bahrain,India, China
 ให้ คนไทยเข้ าไปจัดตัง้ ธุรกิจโดยถือหุ้นข้ างมากได้
ในธุรกิจสปา นวดแผนไทย เสริมสวย
 ให้ คนไทยเข้ าไปทางานเป็ น spa therapist, หมอนวดแผนไทย
ผู้ดูแลเด็กและคนชรา ช่ างเสริมสวย ในต่ างประเทศได้
 ให้ ต่างชาติยอมรับคุณสมบัตขิ องบุคลากรไทย ทัง้ ในเรื่ องวุฒกิ ารศึกษา
Licence, Certificate และมาตรฐานฝี มือแรงงานไทย (ยกเว้ นอินเดีย)
ทุกประเทศ: เปิ ดตลาดสินค้ าสมุนไพรไทย ผลิตภัณฑ์ สปา
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
13
ประเด็นด้านทรัพย์สินทางปัญญาที่สหรัฐอเมริ กาต้องการผลักดัน
ในกรอบความตกลง FTA
ต้องการให้ไทยยกมาตรฐานด้านทรัพย์สินทางปั ญญาให้เทียบเท่า
สหรัฐฯ
 ให้มีการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปั ญญาอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
14
แนวทางการเจรจา






ให้ ความสาคัญกับ DDA
มาตรฐานการคุ้มครองในระดับสากล
อิงความตกลง WTO
เน้ นความร่ วมมือเพือ่ เสริมสร้ าง นวัตกรรม การใช้ ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์
อานวยความสะดวกในการจดทะเบียน และลดค่ าใช้ จ่าย
ประเด็นที่ไทยผลักดันเพิม่ เติม
เข้าเป็ นภาคี CBD
ให้ การคุ้มครองภูมิปัญญาพืน้ บ้าน
ขยายการคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
15
การเตรียมพร้อมของไทย




กำหนดยุทธศำสตร์กำรพัฒนำระบบสำธำรณสุขของไทย
พั ฒ นำระบบมำตรฐำนด้ ำ นสำธำรณสุ ข ในสำขำต่ ำ งๆ ให้ เ ป็ น
มำตรฐำนสำกล
พัฒนำระบบกำรคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทำงปญั ญำ เพือ่ อำนวยควำมสะดวก
กำรพัฒนำเทคโนโลยีและกำรร่วมลงทุน
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์
16