กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ (Red-Light Camera) พ.ต.ต.สัญญา เนียมประดิษฐ์ กองบังคับการวิชาการ โรงเรี ยนนายร้อยตารวจ กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ (Red-Light Camera)    มีการใช้อย่างได้ผลในต่างประเทศ เป็ นวิธีการที่สามารถตรวจสอบการกระทาผิดตลอดเวลา และสามารถนา ผูก้ ระทาผิดมาลงโทษในทุกกรณี เมื่อผูข้ บั ขี่ตระหนักว่ามีการตรวจสอบอยูต่ ลอดเวลา และหากทาผิดก็จะ ถูกจับกุม การกระทาผิดจะลดลง และสุ ดท้ายผูข้

Download Report

Transcript กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ (Red-Light Camera) พ.ต.ต.สัญญา เนียมประดิษฐ์ กองบังคับการวิชาการ โรงเรี ยนนายร้อยตารวจ กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ (Red-Light Camera)    มีการใช้อย่างได้ผลในต่างประเทศ เป็ นวิธีการที่สามารถตรวจสอบการกระทาผิดตลอดเวลา และสามารถนา ผูก้ ระทาผิดมาลงโทษในทุกกรณี เมื่อผูข้ บั ขี่ตระหนักว่ามีการตรวจสอบอยูต่ ลอดเวลา และหากทาผิดก็จะ ถูกจับกุม การกระทาผิดจะลดลง และสุ ดท้ายผูข้

กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ
(Red-Light Camera)
พ.ต.ต.สัญญา เนียมประดิษฐ์
กองบังคับการวิชาการ
โรงเรี ยนนายร้อยตารวจ
กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ
(Red-Light Camera)



มีการใช้อย่างได้ผลในต่างประเทศ
เป็ นวิธีการที่สามารถตรวจสอบการกระทาผิดตลอดเวลา และสามารถนา
ผูก้ ระทาผิดมาลงโทษในทุกกรณี
เมื่อผูข้ บั ขี่ตระหนักว่ามีการตรวจสอบอยูต่ ลอดเวลา และหากทาผิดก็จะ
ถูกจับกุม การกระทาผิดจะลดลง และสุ ดท้ายผูข้ บั ขี่จะเปลีย่ นพฤติกรรม
เปลี่ยนอุปนิสัยที่เคารพกฎหมาย
กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ
(Red-Light Camera)

กล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการฝ่ าฝื นสัญญาณไฟเป็ นเครื่ องมือที่
เชื่อมต่อกับสัญญาณไฟจราจร โดยจะถ่ายภาพยานพาหนะหรื อรถทีผ่ า่ น
เข้ามาในบริ เวณแยกเมื่อสัญญาณไฟสี แดงปรากฏขึ้น การติดตั้งโดยส่ วน
ใหญ่จะแขวนไว้ในที่สูงเพื่อความสะดวกในการถ่ายภาพ นอกจากนี้ยงั มี
อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ควบคู่ไปกับกล้องด้วย เช่นการใช้แฟลช เพื่อเพิ่ม
ความสว่างในการถ่ายภาพ
ตัวอย่าง

มลรัฐแมรี่ แลนด์ (Maryland)
ประเทศสหรัฐอเมริ กา
ในประเทศไทย

บริ ษทั เทนิกซ์ แทรฟฟิ ค โซลูชนั่ ส์ (ประเทศไทย) ได้ดาเนินการทดลอง
ประสิ ทธิภาพการใช้งานของกล้อง ณ แยกบริ เวณถนนศรี อยุธยาและ
ถนนพระราม 6
กระบวนการทางานของกล้องอัตโนมัติเพื่อการตรวจจับการ
ฝ่ าฝื นสัญญาณไฟ
ผลการทดลอง



กล้องจานวน 1 ตัว ณ แยกบริ เวณถนนศรี อยุธยาและถนนพระราม 6
ระหว่างวันที่ 19 ธันวาคม 2548 ถึงวันที่ 28 มกราคม 2549
สามารถจับภาพการกระทาความผิดอันอาจจะดาเนินคดีได้มากถึง
2195 ภาพ และสามารถออกเป็ นใบสัง่ ได้มากถึง 2025 ภาพ
อัตราความสามารถในการดาเนินคดีเอาผิดกับผูก้ ระทาความผิดได้ร้อยละ
92
การบันทึกภาพ
การบันทึกภาพเคลื่อนไหว

Short Clip of Collision.avi
การนาเทคโนโลยีมาใช้





สามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทางานในการตรวจจับกุมการกระทาผิดของ
เจ้าหน้าที่ตารวจ
สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูข้ บั ขี่ให้ปฏิบตั ิการกฎจราจรมากขึ้น
ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านอื่นๆ เช่นการป้ องกันอาชญากรรมโดยสามารถใช้ใน
การตรวจสอบรถผูต้ อ้ งสงสัย หรื อตรวจสอบเส้นทางหลบหนีของคนร้าย
สิ่ งที่ตอ้ งคานึงถึงคือการลงทุนเพื่อนาเทคโนโลยีดงั กล่าวมาใช้เป็ นการลงทุนที่สูง
มาก
นวัตกรรมใหม่ๆ ในการบริ หารจัดการจึงต้องถูกนามาใช้ เช่นการสร้างความ
ร่ วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยมีระบบการลงทุน และการแบ่งประโยชน์ที่
เป็ นธรรมทั้งสองฝ่ าย