บทที่ 4 ระบบสื บพันธุ์ Reproductive system Reproductive system นักศึกษาจะได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของระบบสื บพันธุ์ ในร่ างกายสัตว์ เข้าใจถึงส่ วนประกอบ และหน้าที่ของอวัยวะ สื บพันธุ์สตั ว์เพศผู้ และสัตว์เพศเมีย รู้จกั ฮอร์ โมนเพศชนิดต่างๆ และหน้าที่ของฮอร์ โมนเพศที่สาคัญแต่ละชนิด.
Download
Report
Transcript บทที่ 4 ระบบสื บพันธุ์ Reproductive system Reproductive system นักศึกษาจะได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของระบบสื บพันธุ์ ในร่ างกายสัตว์ เข้าใจถึงส่ วนประกอบ และหน้าที่ของอวัยวะ สื บพันธุ์สตั ว์เพศผู้ และสัตว์เพศเมีย รู้จกั ฮอร์ โมนเพศชนิดต่างๆ และหน้าที่ของฮอร์ โมนเพศที่สาคัญแต่ละชนิด.
บทที่ 4 ระบบสื บพันธุ์
Reproductive system
Reproductive system
นักศึกษาจะได้เรี ยนรู้เกี่ยวกับความสาคัญของระบบสื บพันธุ์
ในร่ างกายสัตว์ เข้าใจถึงส่ วนประกอบ และหน้าที่ของอวัยวะ
สื บพันธุ์สตั ว์เพศผู้ และสัตว์เพศเมีย รู้จกั ฮอร์ โมนเพศชนิดต่างๆ
และหน้าที่ของฮอร์ โมนเพศที่สาคัญแต่ละชนิด เข้าใจในกลไก
การควบคุมการเป็ นสัด และลักษณะการพัฒนาของตัวอ่อน
รวมถึงขั้นตอนในการตั้งท้องและขั้นตอนในการคลอด
ระบบสื บพันธุ์
1. ระบบสื บพันธุ์สัตว์ เพศเมีย (Female reproductive system)
ประกอบด้วย รังไข่ (ovary), ท่อนาไข่ (oviduct), มดลูก (uterus),
ช่องคลอด (vagina) และปากช่องคลอด (vulva)
ทาหน้าที่ผลิตเซลล์ไข่ และฮอร์โมนเพศ ได้แก่ เอสโตรเจน (estrogen)
และโปรเจสเตอโรน (progesterone)
ระบบสื บพันธุ์แขวนลอยในช่องท้องโดยเอ็น (broad ligament)
รังไข่
มีรังไข่ 1 คู่ อยูใ่ กล้กบั ไต ทาหน้าที่ผลิตเซลล์ไข่ (ovum) และสร้าง
ฮอร์โมนเพศ
รังไข่แบ่งออกเป็ น 2 ชั้น คือ ชั้นนอก (cortex) ประกอบด้วยถุงไข่
(follicle) และ คอร์ปัส ลูเตียม (corpus luteum)
ชั้นใน (medulla) ประกอบด้วยเนื้ อเยือ่ เกี่ยวพัน เส้นเลือด และ
เส้นประสาท
อวัยวะสื บพันธุ์สุกรเพศเมีย
ถุงไข่
ถุงไข่มีการพัฒนา (folliculogenisis) เกิดขึ้นอย่างสม่าเสมอหลังจากที่
สัตว์เพศเมียเติบโตถึงวัยเจริ ญพันธุ์ การพัฒนาของถุงไข่ทาให้เกิด
ฮอร์โมนเอสโตรเจน
การพัฒนาของถุงไข่จะเกิดเป็ นวงรอบ เ รี ยกว่า วงรอบการเป็ นสัด
(estrus cycle) ถุงไข่ที่เจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ว จะเกิดการตกไข่
(ovulation) เมื่อเกิดการตกไข่แล้ว เซลล์ของถุงไข่ จะเปลี่ยนเป็ น
คอร์ปัส ลูเตียม ทาหน้าที่ผลิตโปรเจสเตอโรน มีความสาคัญต่อการ
เจริ ญเติบโตของตัวอ่อน
โครงสร้ างถุงไข่ ระยะต่ างๆ
ท่ อนาไข่
มีโครงสร้าง 3 ชั้น คือ ชั้นนอก (serous membrane) ชั้นกลางเป็ นชั้น
กล้ามเนื้อเรี ยบ (muscular layer) และชั้นใน (mucous membrane) มีเซลล์
ที่มีขน (ciliated cells) และเซลล์ที่หลัง่ ของเหลว (glandular cells)
ท่อนาไข่ แบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน
1. ท่อนาไข่ส่วนต้น (infundibulum)
2. แอมพูลา (ampulla)
3. อิสมัส (isthmus)
มดลูก
ประกอบด้วย ปี กมดลูก (uterine horns) ตัวมดลูก (uterine body) และ
คอมดลูก (cervix) แบ่งมดลูกออกตามส่ วนประกอบได้ 4 แบบ คือ
1. มดลูกแบบดุบเพล็กซ์
2. มดลูกแบบไบคอร์นูเอท
3. มดลูกแบบไบพาร์ไทร์
4. มดลูกแบบซิมเพล็กซ์
มดลูกประกอบด้ วย
เนื้อเยือ่ 3 ชั้น คือ
1. ชั้นในหรือชั้นเอ็นโดมีเทรียม (Endometrium) ทาหน้าที่หลัง่
ของเหลว (uterine milk) ที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตอยูข่ องตัวอ่อน
2. ชั้นกล้ามเนือ้ (Myometrium) เป็ นชั้นกลาง มีส่วนสาคัญในการ
ส่ งผ่านเซลล์อสุ จิ และการคลอด
3. ชั้นนอก (Perimetrium) ทาหน้าที่ห่อหุม้ ส่ วนของมดลูก
มดลูกมีหน้ าที่
ดังนี้
ส่ งผ่านเซลล์อสุ จิจากบริ เวณที่มีการหลัง่ น้ าเชื้อ
เป็ นบริ เวณที่เซลล์อสุ จิเกิดขบวนการ capacitation
เป็ นบริ เวณที่ตวั อ่อนมาฝังตัว มีการสร้างรก
เกี่ยวข้องกับการขับตัวอ่อนและรก
ควบคุมการคงอยูข่ องคอร์ ปัส ลูเตียม บนรังไข่
คอมดลูก
เป็ นกล้ามเนื้อหูรูด (sphincter like structure) มีผนังหนาแข็งแรง
คอมดลูกมีหน้าที่สาคัญ คือ
1. เกี่ยวข้องกับการส่ งผ่านเซลล์อสุ จิไปยังมดลูก
2. สะสมเซลล์อสุ จิที่มีชีวิต และป้ องกันไม่ให้ส่งเซลล์อสุ จิที่ตายแล้ว
เข้าไปในมดลูก
3. ป้ องกันสิ่ งแปลกปลอมไม่ให้เข้าไปในมดลูก
ช่ องคลอด
มีลกั ษณะเป็ นกล้ามเนื้อยืดตัวได้ อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่ วน คือ
- ช่องคลอดตอนลึก (vagina)
- ช่องคลอดตอนตื้น (vaginal vestibule)
ช่องคลอดตอนตื้น ที่ผนังด้านในมีต่อมบาร์ โทลิน (bartholin glands)
ทาหน้าที่ขบั น้ าเมือกที่มีลกั ษณะเหนียวเฉพาะเวลาเป็ นสัด
ช่ องคลอด (2)
มีหน้าที่ คือ
เป็ นอวัยวะส่ วนที่รองรับองคชาตของสัตว์เพศผูใ้ นขณะที่มี
การผสมพันธุ์
เป็ นแหล่งสะสมเซลล์อสุ จิเมื่อมีการหลัง่ น้ าเชื้อ
เป็ นทางผ่านของเซลล์อสุ จิเพื่อไปยังมดลูก และท่อนาไข่
เป็ นแหล่งดูดซับของเหลวที่เป็ นส่ วนประกอบของน้ าเชื้อ
เป็ นทางออกของรก และตัวอ่อน
ปากช่ องคลอด (Vulva)
ประกอบด้วย
- แคมใหญ่ (labia majora)
- แคมเล็ก (labia minora)
ในขณะเกิดการเป็ นสัดปากช่องคลอดจะมีการขยายใหญ่ มีการบวม
และมีสีแดงเรื่ อ
ปุ่ มกระสัน เป็ นปุ่ มที่อยูต่ อนล่างด้านท้ายของเวสทิบลู เกี่ยวข้องกับ
การกระตุน้ ความรู ้สึกทางเพศ
ฮอร์ โมนในระบบสื บพันธุ์เพศเมีย
FSH และ LH จากต่อมใต้สมองส่ วนหน้ามีผลให้ถุงไข่แก่ และผลิต
เอสโตรเจน มีผลให้สตั ว์เพศเมียแสดงการเป็ นสัด หลังจากเกิดการ
เป็ นสัดจะมีการตกไข่ LH ที่สูงขึ้นในเลือด จะมีผลให้เกิดการสร้าง
คอร์ปัส ลูเตียม และผลิตฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
หลังจากเกิดการตกไข่ เซลล์ไข่เดินทางในท่อนาไข่ ถ้าเกิดการปฏิสนธิ
กับเซลล์อสุ จิ เกิดเป็ นตัวอ่อน คอร์ปัส ลูเตียมจะคงอยูต่ ลอดจนลูก
สัตว์คลอด ถ้าเซลล์ไข่ไม่มีการปฏิสนธิกบั เซลล์อสุ จิ จะฝ่ อตัว และทา
ให้เกิดวงรอบการเป็ นสัดรอบต่อไปได้
วงรอบการเป็ นสั ด
วงรอบการเป็ นสัดเป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างสม่าเสมอในสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนมเพศเมีย ถูกควบคุมโดยระบบประสาทและระบบ
ฮอร์โมน
สัตว์เพศเมียจะแสดงอาการเป็ นสัดเมื่อมีการพัฒนาของถุงไข่ และมี
ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในเลือดสูง
หลังจากแสดงอาการเป็ นสัด จะเกิดการตกไข่ ระยะเป็ นสัด สัตว์เพศ
เมียจะให้สัตว์เพศผูเ้ ข้าใกล้ และยอมรับการผสมพันธุ์
วงรอบการเป็ นสั ดในโค
ระยะเวลาการตั้งท้ อง
ระยะเวลาตั้งแต่เซลล์ไข่ผสมกับเซลล์อสุ จิจนกระทัง่ ได้ตวั อ่อน และ
มีการพัฒนาของตัวอ่อนจนเป็ นลูกสัตว์ที่สมบูรณ์ จนถึงเวลาที่คลอด
ออกจากท้องแม่ เรี ยกว่า ระยะเวลาการตั้งท้อง (gestation period)
ขณะตั้งท้องมีการสร้างรกเพื่อทาหน้าที่ในการนาอาหาร น้ า และ
อากาศ เพื่อเลี้ยงตัวอ่อน และนาของเสี ยออกจากตัวอ่อน รกจะถูกขับ
ออกจากร่ างกายเมื่อเกิดการคลอด
การคลอด (Parturition)
หมายถึง ขบวนการทางสรี รวิทยาซึ่งส่ วนของมดลูกที่ต้ งั ท้องขับ
ลูกอ่อน และรกออกจากร่ างกายแม่
การคลอดถูกควบคุมด้วยระบบฮอร์โมน และระบบประสาท
ขั้นตอนในการคลอด แบ่งได้ 3 ขั้นตอน คือ
- ขั้นตอนที่คอมดลูกขยายตัวอย่างเต็มที่
- ขั้นตอนในการขับลูกอ่อน
- ขั้นตอนในการขับรก
ระบบสื บพันธุ์สัตว์ เพศผู้
ประกอบด้วย
1. อัณฑะ (testis) 1 คู่
2. ระบบท่อส่ งน้ าเชื้อ (duct system)
3. ต่อมร่ วม (accessory glands)
4. อวัยวะที่ใช้ในการผสมพันธุ์ (copulatory organ)
อัณฑะมีหน้าที่สร้างเซลล์อสุ จิ และฮอร์โมนเพศผู ้
อวัยวะสื บพันธุ์สุกรเพศผู้
อัณฑะ
อยูภ่ ายในถุงหุม้ อัณฑะภายนอกร่ างกาย ถุงอัณฑะทาหน้าที่ห่อหุม้
ป้ องกันอันตราย และควบคุมอุณหภูมิ
อัณฑะมีหน้าที่ผลิตเซลล์อสุ จิ (sperm) และผลิตฮอร์ โมนเพศผู ้
(androgen)
เนื้ ออัณฑะประกอบด้วยท่อสร้างเซลล์อสุ จิ (seminiferous tubules)
และเซลล์ที่อยูร่ ะหว่างท่อสร้างเซลล์อสุ จิ (interstitial cells) เช่น
เลย์ดิกเซลล์ (leydig cell) ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเพศผู ้
ท่ อสร้ างเซลล์ อสุ จิ
ประกอบด้วย
1. เซลล์ที่จะเจริ ญไปเป็ นเซลล์อสุ จิ (spermatogenic cell)
2. เซลล์พี่เลี้ยง (sertoli cell หรื อ nutrient cell)
ท่อพักอสุ จิ แบ่งออก 3 ส่ วน คือ
- ส่ วนหัว (caput epididymis)
- ส่ วนลาตัว (corpus epididymis)
- ส่ วนหาง (cauda epididymis)
ท่ อพักอสุ จิ
มีหน้าที่ คือ
1. ลาเลียงเซลล์อสุ จิจากอัณฑะเพื่อส่ งผ่านไปยังท่อนาน้ าเชื้อ
2. ทาให้น้ าเชื้อมีความเข้มข้นขึ้น
3. เป็ นแหล่งสะสมเซลล์อสุ จิ โดยจะถูกเก็บสะสมไว้ที่ท่อพักอสุ จิ
ส่ วนท้ายเป็ นส่ วนใหญ่
4. เป็ นแหล่งที่อสุ จิเจริ ญเต็มวัย
ท่ อนาน้าเชื้อ
ท่อนาน้ าเชื้อเชื่อมต่อระหว่างท่อพักอสุ จิส่วนหาง และท่อปัสสาวะ
ส่ วนต้น ท่อนี้จะเข้าสู่ช่องท้องทางช่องขาหนีบ (inguinal canal)
ตอนปลายของท่อนาน้ าเชื้อขยายตัวโป่ งออกเป็ นกระเปาะ เรี ยกว่า
แอมพูลา (ampulla) ทาหน้าที่เก็บสะสมเซลล์อสุ จิได้
หน้าที่ท่อนาน้ าเชื้อ คือ เกี่ยวข้องกับส่ งผ่านเซลล์อสุ จิไปยังท่อ
ปัสสาวะเมื่อจะมีการหลัง่ น้ าเชื้อ
ระบบท่ อในส่ วนอัณฑะของโค
ต่ อมร่ วม
ทาหน้าที่ผลิตของเหลว (seminal plasma) มีความสาคัญต่อการ
ดารงชีวิตของเซลล์อสุ จิ ประกอบด้วย
- ต่อมเวสซิคูลาร์ (vesicular gland)
- ต่อมพรอสเตท (prostate gland)
- ต่อมคาวสเปอร์ (cowper’s gland)
ส่ วนประกอบของต่ อมร่ วมในช่ องเชิงกรานเมื่อมองจากด้ านบน
ท่ อปัสสาวะ
ทาหน้าที่สาคัญของท่อปัสสาวะ คือ
- การขับน้ าปัสสาวะ
- การหลัง่ น้ าเชื้อ
แบ่งออกได้เป็ น 3 ส่ วน คือ
1. ท่อปัสสาวะส่ วนต้น (pelvic urethra) วางตัวบนพื้นกระดูก
เชิงกราน
2. ท่อปัสสาวะส่ วนกลาง (bulk of urethra) ซึ่งมีลกั ษณะโค้งงอ
3. ท่อปัสสาวะส่ วนปลาย
องคชาต (Penis)
คือ อวัยวะที่ใช้ในการผสมพันธุ์ (copulatory organ) ทาหน้าที่ใน
การหลัง่ น้ าเชื้อและปัสสาวะ
การแข็งตัวขององคชาตเกิดจากการขยายตัวของส่ วนที่เป็ นโพรงของ
องคชาติ เนื่องจากการคัง่ ของเส้นเลือดฝอยที่มาหล่อเลี้ยง ร่ วมกับการ
หดตัวของกล้ามเนื้อที่โคนองคชาต
องคชาต แบ่งเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนโคน (root) ส่ วนลาตัว (body) และ
ส่ วนปลายขององคชาต (glans penis)