เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทยสภา พ.ศ. 2554 คานา แพทยสภาได้ปรับปรุ งเกณฑ์มาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพ เวชกรรมไปแล้วครั้ งหนึ่ งเมื่อ พ.ศ.2536 ขณะนี้ ปัญหาสุ ขภาพ และสภาพการณ์ต่างๆ ของประเทศมีการเปลี่ยนแปลงไป และ ก าลัง มี ก ารปฏิ รู ป ระบบบริ.

Download Report

Transcript เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทยสภา พ.ศ. 2554 คานา แพทยสภาได้ปรับปรุ งเกณฑ์มาตรฐานผูป้ ระกอบวิชาชีพ เวชกรรมไปแล้วครั้ งหนึ่ งเมื่อ พ.ศ.2536 ขณะนี้ ปัญหาสุ ขภาพ และสภาพการณ์ต่างๆ ของประเทศมีการเปลี่ยนแปลงไป และ ก าลัง มี ก ารปฏิ รู ป ระบบบริ.

เกณฑ ์มาตรฐานผู ป
้ ระกอบวิชาชีพ
เวชกรรม
ของแพทยสภา
พ.ศ. 2554
1
คานา
แ พ ท ย ส ภ า ไ ด ้ ป รั บ ป รุ ง เ ก ณ ฑ์
มาตรฐานผู ้ประกอบวิช าช ีพ เวชกรรมไป
แล ้วครัง้ หนึง่ เมือ
่ พ.ศ.2536 ขณะนี้ปัญหา
สุขภาพและสภาพการณ์ตา่ งๆ ของประเทศ
มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไป และก าลั ง มี ก าร
ปฏิรู ป ระบบบริก ารสุ ข ภาพของประเทศ
บัณ ฑิต แพทย์จงึ ควรมีค วามรู ้ความเข ้าใจ
เกีย
่ วกับระบบบริการสุขภาพในปั จจุบันและ
แนวโน ้มของการปฏิรป
ู ระบบบริการสุขภาพ
เพื่อ เป็ นแนวทางในการพั ฒ นาความรู ้
ทั ก ษะ และเจตคติท ี่ส อดคล ้องกั บ บทบาท
หน า้ ที่ข องแพทย์ใ นระบบบริก ารสุข ภาพใน
อ น า ค ต ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ พ ท ย ส ภ า จึ ง
เห็ น สมควรให ป
้ รั บ ปรุ ง เกณฑ์ม าตรฐานผู ้
ี เวชกรรมอีกครัง้ หนึง่ โดยมี
ประกอบวิชาชพ
เ ป้ า ห ม า ย ใ ห ้บั ณ ฑิ ต แ พ ท ย์ มี ค ว า ม รู ้
ความสามารถ และเจตคติในการดูแลรั ก ษา
และส่ ง เสริม สุ ข ภาพระดั บ ปฐมภู ม ิไ ด เ้ ป็ น
อย่ า งดี เพื่ อ ให ้สอดคล อ้ งกั บ สถานการณ์
ี เวช
เกณฑ์ม าตรฐานผู ้ประกอบวิช าช พ
กรรม ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 ได ้ยกร่างขึน
้
ด ว้ ยเป้ าประสงค์ ท ี่ จ ะตอบสนองปรั ช ญา
ึ ษาแพทยศาสตร์ อันเป็ นผลสบ
ื เนื่อง
การศก
ึ ษาแห่งชาติ
จากการประชุมแพทยศาสตรศก
ครัง้ ที่ 8 ทีม
่ ุ่งเน ้นการบริบาลสุขภาพโดยยึด
คนเป็ นศูน ย์ก ลาง (people
centered
health care) ซงึ่ คณะอนุกรรมการปรับปรุง
ี เวชกรรม
เกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชพ
ได ้รวบรวมข ้อคิดเห็นจากสถาบันผลิตแพทย์
สาระสาค ัญของการปร ับปรุงเกณฑ ์
มาตรฐานฯ
สรุปได้ด ังนี ้
1. ปรับปรุงคุณลักษณะทีพ
่ งึ ประสงค์และ
ี ทัง้ นี้ได ้
ความรู ้ความสามารถทางวิชาชพ
้ น ว ท า ง จ า ก เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ฯ
ใชแ
พ.ศ. 2545 และ
Institute
of
International
Medical Education, Accreditation
2. เน น
้ ความส าคั ญ ของการปฏิบั ต ต
ิ ่อ
ผู ้ป่ วยและญาติ
ผู ้เกีย
่ วข ้องอย่างถูกต ้อง
เหมาะสมบนพืน
้ ฐานของคาประกาศส ิ ท ธิ
ื่ สาร
ผู ้ป่ วย ทักษะและเจตคติในการติดต่อสอ
ให ้คา
ปรึกษา และการสร ้างสัมพันธภาพ
ดีกบ
ั ผู ้ป่ วย ญาติและ
ผู ร้ ่ ว มงาน รวมทั ้ง
ป ฏิ บั ติ ที่ ถู ก ต ้ อ ง ต า ม จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ
ี เวช
ต่างๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการประกอบวิชาชพ
กรรม 2
3. เน้น ความส าคัญ ของการสร า้ งเสริม
สุขภาพ และระบบ
บริบ าลสุ ข ภาพ สุ ข ภาพ
ของบุคคลชุมชน และประชาชน โดยยึด คนเป็ น
ศู น ย ์ ก ล า ง ก า รใ ห ้ บ ริ บ า ล ผู ้ ป่ ว ย แ บ บ
ประคับประคอง (palliativecare) การดูแล
ผู ้ป่ วย
ระยะท า้ ย ความรู เ้ รื่องการประกัน
้
คุณภาพ รวมทังความป
ล อ ด ภั ย ข อ ง ผู ้ ป่ ว ย
(patient safety) การใช ้ยา
อย่างสมเหตุผล
และเลือกใช ้เทคโนโลยีทางการแพทย ์อย่าง มี
้
่
ประสิท ธิภ าพเนื อหาได
อ้ ิง จากคณะทางานเรือง
การสร ้าง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ข อ ง ก ลุ่ ม ส ถ า บั น
4.ปรบั ปรุงแก ้ไขเกณฑ ์ความรู ้วิทยาศาสตร ์
้
้ เนื
้ อหา
้
การแพทย ์ พืนฐาน
ในภาคผนวก ก ทังนี
ส่วนหนึ่ งของ ภาคผนวก ก ได อ้ ิง จากเกณฑ ์
มาตรฐานฯความรู ้ ความสามารถทางวิชาชีพ
้ั
ของชนคลิ
นิก มีการแบ่งกลุม
่
อาการและโรค
เป็ นกลุ่ ม ที่ ต อ
้ งรู ้ ควรรู ้ เพื่ อให เ้ ห็ นถึ ง ระดั บ
ความส าคัญ ของแต่ละปั ญ หา สามารถนา
ไปประยุกต ์ใช ้ในช ้ั น ค ลิ นิ ก ต่ อไ ป ไ ด ้ ส า ห ร ั บ
ความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพ ค ลิ นิ ก ใ น
้
่ 1 หมวดที่ 2 และหมวด
ภาคผนวก ข ทังหมวดที
ที่ 3 ทักษะการตรวจทางหอ้ งปฏิบต
ั ก
ิ ารและ
หัตถการทาง คลิ นิ กมี ก ารปร บ
ั ระดับ ความรู ้
ความสามารถให ้เหมาะสมกับ
ปั ญหาสุข ภาพ
ในปัจจุบน
ั และแนวโน้มในอนาคต
5. คณะอ นุ กร ร มกา ร พิ จ า ร ณา ( ร่ า ง )
หลักสูตรการเรียนการสอนจริย ธรรมนั ก ศึ ก ษา
แพทย ์ ของแพทยสภา เสนอว่า เนื่ องจากเพีย ง
ค ว า ม รู แ้ ล ะ ทั ก ษ ะ ท า ง ก า ร แ พ ท ย น
์ ้ั น อ า จ จ ะ
ไม่เพียงพอสาหร ับการดาเนิ นตนเป็ นแพทย ์
่
และการประพฤติป ฏิบ ต
ั ิอ ย่ า งมีจ ริย ธรรมด ว้ ย
การมุ่ ง หวังให แ้ พทย ไ์ ด ร้ บ
ั การควบคุ ม ผ่ าน
ข ้อบังคับแพทยสภาว่าด ้วยจริยธรรมเพียงอย่าง
เดีย วนั้ นอาจเป็ นไปได ห
้ ากแต่ ย ังไม่ ส มบู ร ณ์
เนื่ องจากขอ้ บังคับดังกล่าวไม่สามารถบัญญัติ
้ ง เป็ นการ
ให ค
้ รอบคลุ มในทุ ก กรณี ไ ด ้ อีก ทังยั
แกป
้ ั ญ ห า ที่ ป ล า ย เ ห ตุ ด ว้ ย เ ห ตุ นี ้ เ ก ณ ฑ ์
้ งได ้เพิมภาคผนวก
่
มาตรฐานฯ ฉบับปรบั ปรุงนี จึ
้ โดยเป็ นส่วนทีเกี
่ ยวข
่
ง ขึน
อ้ งกับประเด็ นดา้ น
จริย ธรรมทางการแพทย ์ เพื่อให ส้ ถาบัน ผลิต
่ ยวข
่
6. กฎหมายและระเบียบขอ้ บังคับทีเกี
อ้ ง
กับกาประกอบ วิ ช าชีพ เวชกรรม โดยอิ ง จาก
เกณฑ ์มาตรฐานเดิมฉบับปี พ.ศ. 2545 และปร บ
ั
่ อหากฎหมายและระเบี
้
เพิมเนื
ยบ ข ้ อ บั ง คั บ ที่
เ พิ่ ม ขึ ้ นใ ห ม่ ใ ห ้ ท ั น ส มั ย เ ก ณ ฑ ์ ม า ต ร ฐ า น
้ นขอ้ กาหนด
ผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมนี เป็
ในการประเมิน ความรู ้ความสามารถสาหรบั การ
้
ขอขึนทะเบี
ยนและร ับ ใบอนุ ญาตเป็ นผู ป
้ ระกอบ
วิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา ส ถ า บั น ผู ้ผ ลิ ต
บัณ ฑิต แพทย ค์ วรก าหนดความรู ้ความสามารถ
ทางวิชาชีพในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
ส าหร บ
ั การเพิ่มพู น ความช านาญทาง
วิชาชีตลอดจนทักษะในการทาหัตถการต่างๆ
นั้ น ให บ
้ ั ณ ฑิ ต แพทย ฝ
์ ึ กฝนในระหว่ า งที่
ป ฏิ บ ั ติ ง า นใ นโ ค ร ง ก า ร เ พิ่ ม พู น ทั ก ษ ะ ใ น
โรงพยาบาลที่แพทยสภาก าหนดเป็ นเวลา
อ ย่ า ง น้ อ ย 1 ปี โ ด ย แ พ ท ย ส ภ า ส า ม า ร ถ
ตรวจสอบมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน
การฝึ กอบรมและการประเมินผลของสถาบัน
ผลิตบัณฑิตแพทย ์ และสถาบันสมทบไดเ้ ป็ น
ระยะตามที่ เห็ น สมควรเพื่ อเป็ นการร ก
ั ษา
ภาคผนวก ค สุขภาพและการ
สร ้างเสริมสุขภาพ
ผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงต ้องมีความรู ้
่
ความเขา้ ใจเกียวกั
บการสร ้างเสริมสุขภาพ และ
้
บบุคคล ชุมชน และ
ระบบบริบาลสุขภาพ ทังระดั
ปร ะ ชา ชน ร ว มทั้ งกฎห มา ยแ ล ะข อ
้ บั ง คั บ ที่
่
เกียวข
อ้ งกับ การสร ้างเสริม สุ ข ภาพ มีท ก
ั ษะใน
่
การสื่อสารระหว่ า งกลุ่ ม ต่ า งๆเรืองสุ
ข ภาพ และ
บู ร ณาการความรู ด้ า้ นสร า้ งเสริม สุ ข ภาพโดย
ค านึ ง สภาพแวดล อ้ มและบริบ ทแวดล อ้ ม เกิด
่ ขภาพ และ
ความตระหนั กรู ้และมีจต
ิ สานึ กเรืองสุ
1. แนวความคิดพืน
้ ฐาน (Fundamental
concepts of health promotion)
1.1. ปรัชญาด ้าน “สุขภาพ” (
Philosophy of
health)
1.1.1. กรอบคานิยามใหม่ของสุขภาพ
1 . 1 . 2 . แ น ว คิ ด ข อ ง ก า ร ส ร า้ ง เ ส ริ ม
สุ ข ภ า พ ใ น อ ดี ต
ปั จ จุ บั น
และอนาคต
1.1.3. ความแตกต่างระหว่างการสร ้างเสริม
สุขภาพ
(health promotion)และการป้ องกันโรค
(disease prevention)
่
1.1.4. ความเชือมโยงของสุ
ขภาพระดับต่างๆ
้ สข
ตังแต่
ุ ภาพ ระดับบุคคล (individual
health) ระดับครอบคร ัว (family heath)
ระดับชุมชน(community health) จนถึง ระดับ
ประชากร(population
health)
1.2. หลักการของการสร ้างเสริมสุขภาพ
(Principles of health promotion)
1.2.1. ธรรมชาติของโรคและความเจ็บป่ วย
(Natural history of disease and illness)
และการ
ป้ องกันระดับปฐมภูมิ ทุตยิ ภูมิ และตติยภูมิ
จตุรภูมิ (primary, secondary, tertiary
and quarternary prevention)
1.2.2. คาจากัดความ หลักการ และกลยุทธ ์
ของการสร ้าง เสริมสุขภาพ (Definition,
principles and
strategies of health promotion)
1.3. ความสัมพันธ ์ระหว่าง การสร ้างเสริม
สุขภาพ, การ ป้ องกันโรค, การให ้สุขศึกษาและ
การคุ ้มครอง/ปกป้ อง
สุขภาพ ( Contextual relation among
health promotion, disease
prevention, health education and
health protection)
1.4. ปัจจัยกาหนดสุขภาวะ
( Health determinants) : ปัจจัยด ้าน
ปัจเจก
บุ ค คล ปั จ จัย ด า้ นสิ่ งแวดล อ้ ม และ
ปัจจัยด ้านระบบบริการ
สุ ข ภ า พ
(Individual, environment,
health care delivery system)
2. การประเมินสภาวะสุขภาพ โดยใช ้วิธก
ี าร
ทางระบาด วิทยา ตัว วัดสุขภาวะ และพฤติกรรม
สุขภาพและ การให ้ คาแนะน าเพื่อปร บั เปลี่ยน
่ สข
ให ้มีวถ
ิ ช
ี วี ต
ิ ทีมี
ุ ภาพดี (Measurement of
health status,
health behavior, healthy lifestyles)
3. การให ้สุขศึกษา (Health education)
3 . 1 . รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ แ ล ะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
(Models,
approaches and its effectiveness)
3.2. ปั จ จัย ที่มี อ ิท ธิพ ลต่ อ ความร บ
ั รู ด้ า้ น
สุขภาพและการ เจ็บป่ วย (Factors
which
influence the perceptionof health and
illness)
่
3.3. พัฒนาการและการเปลียนแปลง
พฤติกรรมสุขภาพส่วน
บุคคล
(Development and change of
individual health behavior)
้
3.4. เวชศาสตร ์การกีฬาเบืองต
้น: ลักษณะ
ลักษณะการออกกาลังกาย แบบต่ า งๆ ผลของ
่
ของสภาวะแวดล ้อม อาหาร ยาและโรคทีมี
ผ ล
ผลต่ อ การออกก าลัง กายในรู ป แบบต่ า งๆ
ต่างๆ การ ออกกาลัง กายในผู ส้ ู ง อายุ เด็ ก และ
เด็ก และสตรี ลักษณะของการบาดเจ็บจาก การ
4. ระบบบริบาลสุขภาพของประเทศไทย
(Thai health care system)
4.1. ความแตกต่างและความสาคัญของเวช
ปฏิบต
ั แิ บบต่างๆ ในระบบนิ เวศของการบริก าร
ทางการแพทย ์(ecology of medical care )
ได ้แก่ การบริการปฐมภูมิ
ทุ ติ ย ภู มิ แ ล ะ ต ติ ย ภู มิ ( primary,
secondary
้
and tertiary care) รวมทังระบบการส่
ง
ต่อ
4.2. สาธารณสุขมูลฐาน
่ นถึง การ
(Primary health care) ซึงเน้
ดูแล สุข ภาพตนเอง การเข า้ ถึง บริก ารสุข ภาพ
อย่างเท่าเทียมกัน
แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง
ชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเอง
4.3. ระบบสุขภาพแห่งชาติ (National
health system)
4.4. ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(National
health security system)
4.5. ระบบบริการสุขภาพ
(Health services system) ซึง่
ประกอบด ้วย
4.5.1. โครงสร ้างของการบริการ
(Structure of health care) และ
ความสัมพันธ ์ของเวชปฏิบต
ั ิ
ระดับต่างๆใน
ระบบบริการทางการแพทย ์
4.5.2. การให ้บริการ (Health care
delivery)
4.5.2.1. การป้ องกันและควบคุมโรคใน
ชุมชน
(preventive health services
and disease control in community)
4.5.2.1. การป้ องกันและควบคุมโรคใน
ชุมชน
(preventive health services
and disease control in community)
่
4.5.2.2. การให ้สุขศึกษาและการสือสาร
สุขภาพ (health
education/health
communication)
4.5.2.3. การดูแลรกั ษา ป้ องกัน สร ้างเสริม
สุขภาพ และ
ฟื ้ นฟู ส ภาพที่ สถานพยาบาล
(comprehensive
care at health service setting)
รวมถึง
การควบคุ มโรคติด เชือ้ (infectious
disease control) การสร ้างเสริมภูมค
ิ ุ ้มกันโรค
(immunization) การส่งเสริมโภชนาการ
้
การ อนามัยแม่และเด็ก การส่งเสริมและการเลียง
ลูกด ้วยนมแม่ การวางแผนครอบคร วั การ
ป้ องกันการบาดเจ็บ (injury
prevention)
่ ้าน (home
4.5.2.4. การบริบาลสุขภาพทีบ
่
health care) ทีโรงเรี
ยน (school health
care)
แ ล ะ จ า ก ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
(occupational
health
care)
การ
่
อนามัยสิงแวดล
้อม
(environmental health) การบริบาล
แบบ
ประคับประคอง(palliative care) การ
่ ความรุนแรงและ
จัดการโรค หรือความเจ็บป่ วยทีมี
4.5.3. การจัดการด ้านสุขภาพ
(Health management)
4.5.3.1. ระบบการปรึกษาระหว่างวิชาชีพ
(consultative services)
4.5.3.2. การประเมินผลระบบบริการ
สุขภาพ (evaluation of health service
system)
4.5.3.3. ระบบสารวจและประเมินสภาวะ
สุขภาพในชุมชน
(health surveys and
assessment)
4.5.3.4. ระบบการเฝ้ าระวังและรายงานโรค
(disease
surveillance and reporting
systems)
่
4.5.3.5. หลักการเกียวกั
บความปลอดภัย
ของผูป้ ่ วย (patient safety)
4.5.4. แหล่งทร ัพยากรด ้านสุขภาพ
(Resources in health) :บุคลากร(
man) , วัสดุอป
ุ กรณ์ (material),
เทคโนโลยีด ้านการแพทย ์ (medical
technology)
4.5.5. การจัดการการเงินด ้านสุขภาพ
(Health finance)
้
5. ความรู ้พืนฐานทางเศรษฐศาสตร
์คลินิก
และเศรษฐศาสตร ์
ส า ธ า ร ณ สุ ข ( Clinical
economics and
่
health economics) ทีนามาใช
้ตัดสินใจ
ตัดสินใจ
่
6. กลยุ ท ธ ์ด า้ นสร ้างเสริม สุ ข ภาพในเรือง
การสร ้างความ เข ม
้ แข็ ง /การเสริม พลัง ทั้งใน
ระดับบุคคลและสังคม การ พิ ทั ก ษ ์ ป ร ะ โ ย ช น์
ก า ร สื่ อ ส า ร ด ้ า น สุ ข ภ า พ แ ล ะ นโ ย บ า ย
สาธารณสุข (Strategies in health
promotion : empowerment at
individual and social level,
advocacy, health communication,
public health policy)
7. แนวทางการสร ้างเสริมสุขภาพแบ่งตาม
กลุม
่ ต่างๆ (Approaches of health
promotion)
7.1. กลุม
่ ประชากร (population group)
ได ้แก่
อายุ( age), เพศ( gender),
่ (risk),
อาชีพ (occupation) , ความเสียง
้ ัง (chronic illness), กลุม
ชนิ ด ของโรคเรือร
่ ผู ้
พิการและ ทุพพลภาพ(handicap and
disability)
7.2. หัวข ้อสุขภาพ (health issues)
ได ้แก่ อาหาร (nutrition), การออกกาลังกาย
่
(exercise), สุขภาพจิต(mental), เกียวกั
บ
การเจริญพันธุ ์ (reproductive), การใช ้สาร
เสพติด (substance use) เป็ นต ้น
่ ง้ (settings)
7.3. แหล่งทีตั
ได ้แก่ ครอบคร ัว (healthy family),
โรงเรียน (health promoting school),
่ างาน ( health promoting
สถานทีท
workplace) ,
ชุมชน (health promoting
community),
โรงเรียนแพทย ์ (health promoting
medical school),
เมือง (healthy city)
่
8. กฎหมายและข ้อบังคับเกียวกั
บการสร ้าง
เสริมสุขภาพ
(Law and regulation on health
promotion) ภาคผนวก จ ข ้อ 12
9. บทบาทของการแพทย ์แบบเติมเต็มและ
่ ผลต่อสุขภาพ
การแพทย ์ ทางเลือกทีมี
(Complementary
and Alternative Medicine)
10. บทบาทของสหวิชาชีพและสหสาขา
(multi-professions and
multidisciplinary)ในการสร ้างเสริม
สุขภาพ
11. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพในระดับ
ภูมภ
ิ าคและ
องค ์กรระหว่างประเทศ
(Regional and
International health promotion
policy)
39