แนวความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่

Download Report

Transcript แนวความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่

แนวความคิด
เกีย
่ วกับ
ผลิตภัณฑใหม
่
์
ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( New product.)
หมายถึง การเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่แบบริ เริ่ ม หรื อการปรับปรุ ง
ผลิตภัณฑ์เดิมของธุรกิจให้มีคุณสมบัติดีข้ ึน เราสามารถแบ่งลักษณะ
ของผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ 3 ลักษณะ
1. ผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม ( Innovated product.)
หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีแนวคิดริ เริ่ มเป็ นครั้งแรก ยังไม่มีมาก่อนใน
ตลาด
2. ผลิตภัณฑ์ ปรับปรุงใหม่ ( Modified product.)
หมายถึง ผลิตภัณฑ์เดิมที่มีการปรับปรุ งในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ทาให้
กลายเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาดอีกครั้ง
3. ผลิตภัณฑ์ เลียนแบบ ( Me-too product.) หมายถึง
ผลิตภัณฑ์ใหม่ของธุรกิจซึ่งเลียนแบบผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันที่มีอยูแ่ ล้ว
ในตลาด
นอกจากนี้คาว่าผลิตภัณฑ์ใหม่ยงั สามารถแยกได้อีกตามลักษณะ
การมองความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์ใหม่ในแง่ของบริ ษทั และความ
ใหม่ในแง่ของตลาด ดังนี้คือ
1. ผลิตภัณฑ์ ใหม่ สำหรับโลกของผลิตภัณฑ์ ( New-to-the
world-product.) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สร้างขึ้นมาสาหรับ
เข้าสู่ตลาดใหม่โดยเฉพาะ
2. ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ในแง่ ของสำยผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( New
product lines.) หมายถึง สายผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เพิ่มขึ้นของบริ ษทั
และเป็ นการเข้าสู่ตลาดเดิมที่มีอยูเ่ ป็ นครั้งแรก
3. กำรเพิม่ ผลิตภัณฑ์ ใหม่ เข้ ำไปในสำยผลิตภัณฑ์ เดิมที่มีอยู่ (
Additions to existing product lines.) หมายถึง
ผลิตภัณฑ์ใหม่น้ ีเสนอเข้าไปในสายผลิตภัณฑ์เดิมของบริ ษทั
4. ผลิตภัณฑ์ ทเี่ กิดจำกกำรปรับปรุงผลิตภัณฑ์ เดิมทีม่ อี ยู่ (
Improvements in revision of existing product.)
หมายถึงผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดจากการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์เดิมในเรื่ องของ
ลักษณะและคุณค่าของผลิตภัณฑ์
5. ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ที่เกดจำกกำรกำหนดตำแหน่ งผลิตสิ นค้ ำขึน้ มำใหม่ (
Repositionings.) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดจากการนา
ผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยูเ่ ข้าสู่ตลาดเป้ าหมายใหม่
6. ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ทเี่ กิดจำกกำรลดต้ นทุนกำรผลิต ( Cost
reductions.) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ปรับปรุ งขึ้นเพื่อลดต้นทุนการ
ผลิต
ปัญหำและอุปสรรคในกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ใหม่
1. การขาดแนวความคิดที่สาคัญเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ในสาขานั้นๆ (
Shortage of important new product ideas in certain areas.)
2. ตลาดแยกเป็ นส่ วนเล็กๆ ( Fragmented markets.)
3. ข้อจากัดเกี่ยวกับสังคมและรัฐบาล ( Social and governmental
constraints.)
4. ต้นทุนที่ใช้ในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่สูง ( Costliness of
the
new-product development process.)
5. การขาดแคลนทุน ( Capital shortages.)
6. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตอ้ งรวดเร็ วกว่าคู่แข่งขัน ( Faster development
time.)
7. อายุของผลิตภัณฑ์ ( Shorter product life cycles.)
สำเหตุทที่ ำให้ ผลิตภัณฑ์ ใหม่ เกิดควำมล้มเหลว
1. ความพยายามหรื อการสนับสนุนของบริ ษทั ไม่เพียงพอ
2. ระบบการจัดองค์การที่ไม่ดีจะมีผลต่อการเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่
3. การวัดการคาดคะเนและการวิจยั ตลาดที่ไม่ดี
4. การวางแผนด้านการตลาดไม่ดี
5. ผลิตภัณฑ์มีขอ้ บกพร่ อง
6. การออกแบบผลิตภัณฑ์ไม่ดี
7. ต้นทุนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สูงเกินไป
8. ปฏิกิริยาของคู่แข่งขันเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ผลิตภัณฑ์ไม่ประสบ
ความสาเร็ จได้
กำรจัดรู ปองค์ กำรเพือ่ กำรพัฒนำ
ผลิตภัณฑ์ ใหม่
1. ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ ( Product managers.)
2. ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ใหม่ ( New-product managers.)
3. คณะกรรมการผลิตภัณฑ์ใหม่ ( New-product committees.)
4. แผนกผลิตภัณฑ์ใหม่ ( New-product departments.)
5. กลุ่มบุกเบิกผลิตภัณฑ์ใหม่ ( New product venture teams.)
ขั้นตอนกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ใหม่
ขั้นตอนที่ 1 กำรสร้ ำงควำมคิดเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( Idea
generation.)
1. แหล่งของแนวควำมคิดผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( Sources of product ideas.)
1.1 ความจาเป็ นและความต้องการของลูกค้า ( Customer’s needs and
wants.)
1.2 นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ผูอ้ อกแบบ และพนักงาน ( Scientists,
engineers, designers and other employees.)
1.3 ผลิตภัณฑ์และบริ การของคู่แข่งขัน ( Competitors’ product and
services.)
1.4 พนักงานขายของบริ ษทั และคนกลาง ( Company’s sales
representatives and dealers.)
1.5 ฝ่ ายจัดการระดับสู ง ( Top management.)
1.6 แหล่งอื่นๆ ( Miscellaneous sources.)
2. เทคนิคในกำรค้ นหำ ( สร้ ำง ) ควำมคิด ( Idea
generating techniques.)
2.1 การแจกแจงคุณสมบัติของสิ นค้า ( Attribute listing.)
2.2 การกาหนดคุณสมบัติสมั พันธ์กนั ( Forced relationships.)
2.3 การวิเคราะห์รูปร่ าง ( Morphological analysis.)
2.4 การกาหนดความต้องการและปัญหา ( Need and problem
identification.)
2.5 การระดมความคิด ( Brainstorming.)
การประชุมที่จะบรรลุผลสาเร็ จควรมีกฎดังนี้
(1) ให้แสดงความคิดเห็นให้มากที่สุด
(2) การแสดงความคิดเห็น
(3) จานวนความคิดเห็นต่างๆ
(4) การรวมความคิดและปรับปรุ งความคิดของตัวเอง
2.6 การวิเคราะห์ความคิด ( Synectics.)
ขั้นที่ 2 กำรกลัน่ กรองและประเมินควำมคิด
การกลัน่ กรองความคิด ( Idea screening.)
1. การประเมินโอกาสด้านตลาด ( Evaluating opportunity.)
2. เครื่ องมือให้คะแนนความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ ( Product
idea rating devices.)
ขั้นที่ 3 กำรพัฒนำแนวควำมคิดและกำรทดสอบ
แนวควำมคิด
การพัฒนาแนวความคิดและการทดสอบแนวความคิดและการ
ทดสอบแนวความคิด ( Concept -development and
testing.)
1. การพัฒนาแนวความคิด ( Concept development.)
2. การกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์และตราสิ นค้า ( Product and
positioning.)
3. การทดสอบแนวความคิด ( Concept testing.)
คาถามต่างๆ ที่ใช้ถามผูบ้ ริ โภคเพื่อทดสอบความคิดมีดงั นี้
3.1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชดั เจน น่าเชื่อถือ และง่ายต่อการ
เข้าใจหรื อไม่
3.2 ผลิตภัณฑ์น้ ีเป็ นที่ตอ้ งการ หรื อแก้ปัญหา หรื อสนองความพอใจของ
ท่านหรื อไม่
3.3 ผูบ้ ริ โภคจะซื้อผลิตภัณฑ์หรื อไม่
3.4 ใครจะเป็ นผูใ้ ช้ผลิตภัณฑ์น้ ีบา้ ง และบ่อยครั้งเพียงใด
3.5 ราคาผลิตภัณฑ์เมื่อเปรี ยบเทียบกับคุณค่าผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสม
หรื อไม่
3.6 ผูบ้ ริ โภคคิดว่าราคาของผลิตภัณฑ์น้ ีควรจะเป็ นเท่าใดจึงจะเหมาะสม
การวิเคราะห์คุณสมบัติต่างๆร่ วมกัน ( Conjoint analysis.)
ขั้นที่ 4 กำรพัฒนำกลยุทธ์ กำรตลำด
การพัฒนากลยุทธ์ดา้ นตลาด ( Marketing strategy development.)
ส่ วนที่ 1 ขนาด โครงสร้าง พฤติกรรมของตลาดเป้ าหมาย ( Targer
market’s size, structure, and behavior.)
ส่ วนที่ 2 การพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด ( Marketing strategy.)
1. การกาหนดตาแหน่งผลิตภัณฑ์ ( Product positioning.) และกลยุทธ์ดา้ น
ผลิตภัณฑ์อื่น ( Others product strategies.)
2.กลยุทธ์ดา้ นราคา ( Price strategies.)
3.กลยุทธ์ดา้ นการจัดจาหน่าย
( Distribution strategies.)
4. กลยุทธ์การส่ งเสริ มการตลาด ( Promotion strategies.)
ซึ่งประกอบด้วย
4.1 กลยุทธ์การโฆษณา ( Advertising strategies.)
4.2 กลยุทธ์การส่ งเสริ มการขาย ( Sales promotion strategies.)
4.3 กลยุทธ์การขายโดยใช้พนักงานขาย ( Personal selling
strategies.)
4.4 กลยุทธ์การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ ( Publicity and public
relation strategies.)
4.5 กลยุทธ์การสื่ อสารทางการตลาดอื่นๆ ( Other marketing
communication.)
ส่ วนที่ 3 ยอดขายและกาไรตามเป้ าหมายในระยะยาว ( Longrun sales and profit Goods.) และ กลยุทธ์ทางการตลาด (
Marketing mix strategies.)
ขั้นที่ 5 กำรวิเครำะห์ ทำงธุรกิจ
การวิเคราะห์ทางธุรกิจ ( Business analysis.)
1. กำรคำดคะเนยอดรวม ( Estimating total sales.)
รู ป ก แสดงยอดขายที่คาดคะเนตามวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ในช่วงเวลาหนึ่ ง
รู ป ข แสดงผลิตภัณฑ์ที่ซ้ื อนานๆครั้ง
รู ป ค แสดงผลิตภัณฑ์ที่มีการซื้ อบ่อยครั้ง
1.1 การคาดคะเนยอดขายครั้งแรก ( Estimating first-time sales.)
1.2 การคาดคะเนยอดขายทดแทน ( Estimating replacement sales.)
1.3 การคาดคะเนขายซ้ า ( Estimating repeat sales.)
2. กำรคำดคะเนต้ นทุนและกำไร
( Estimating costs and profits.)
แถวที่ 1 แสดงรายได้จากการขาย
แถวที่ 2 แสดงต้นทุนสิ นค้า
แถวที่ 3 แสดงกาไรขั้นต้น
แถวที่ 4 แสดงต้นทุนในการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์
แถวที่ 5 แสดงการคาดคะเน
ต้นทุนทางการตลาด
แถวที่ 6 แสดงถึงค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
แถวที่ 7 กาไร
แถวที่ 8 รายได้อื่น
แถวที่ 9 แสดงกาไรสุ ทธิมีค่าเหมือนกับแถวที่ 7
แถวที่ 10 แสดงค่าปัจจุบนั ของกาไรสุ ทธิ
แถวที่ 11 แสดงค่าปั จจุบนั ของกาไรสุ ทธิสะสม
ขั้นที่ 6 กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ( Product development.)
1. เทคนิคกำรวัดควำมพึงพอใจของผู้บริโภค ( Techniques for
measuring consumer preferences.)
1.1 วิธีการจัดลาดับอย่างง่าย ( Simple-rank-order.)
1.2 วิธีการเปรี ยบเทียบเป็ นคู่ ( Paired comparison.)
1.3 วิธีการให้คะแนนแบบแยกจากกัน (Monadic-rating)
2. กำรพัฒนำขั้นข้ อมูลพืน้ ฐำนและกำรทดสอบ ( Prototype
development and testing.)
2.1 รู ปแบบผลิตภัณฑ์น้ นั ผูบ้ ริ โภคมองเห็นลักษณะสาคัญที่ทาให้ผลิตภัณฑ์ประสบ
ความสาเร็ จ
2.2 รู ปแบบผลิตภัณฑ์ที่สามารถนามาใช้งานตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้
2.3 รู ปแบบผลิตภัณฑ์ข้ ึนอยูภ่ ายใต้งบประมาณที่กาหนดไว้
3. กำรทดสอบหน้ ำที่ของผลิตภัณฑ์ ( Functional test.)
4. กำรทดสอบผู้บริโภค ( Consumer test.)
ขั้นที่ 7 กำรทดสอบตลำด ( Market testing.)
1. กำรทดสอบกำรตลำดสิ นค้ ำบริโภค (
Consumer-goods market testing.)
1.1 การวิเคราะห์ภาวะยอดขาย ( Sales-wave
research.)
1.2 การตลาดเพื่อทดสอบโดยสร้างสถานการณ์จาลอง (
Simulated test marketing.)
1.3 การทดสอบตลาดแบบควบคุม ( Controlled test
marketing.)
1.4 การทดสอบตลาด ( Test markets.)
2. กำรทดสอบสิ นค้ ำตลำดอุตสำหกรรมหรือสิ นค้ ำธุรกิจ [
Industrial( business-goods) market testing.]
2.1 การทดสอบผลิตภัณฑ์ ( Product-use test.)
2.2 วิธีทดสอบตลาด ( Market testing.)
2.3 ทดสอบการใช้ผลิตภัณฑ์ ( Product-use test.)
2.4 การจัดแสดงสิ นค้า ( Trade show.)
2.5 ทดสอบในห้องแสดงของผูข้ ายและตัวแทนจาหน่ายสิ นค้า (
Distributor and dealer display rooms.)
2.6 การทดสอบตลาดโดยมีการควบคุม ( Controlled หรื อ test
marketing.)
ขั้นที่ 8 กำรดำเนินธุรกิจ
( Commercialization.)
1. เมื่อไร ( เวลา ) [ When ( timing.)]
2.ที่ไหน ( กลยุทธ์ดา้ นภูมิศาสตร์ ) [ Where ( geographical
strategy.)]
3. กับใคร ( เป้ าหมายทางการตลาด ) [ To whom ( target-market
prospects.)]
4. อย่างไร ( กลยุทธ์การตลาดขั้นแนะนา )
[ How (introductory marketing
strategy.)]
กระบวนกำรยอมรับสิ นค้ ำของผู้บริโภค
( The consumer-adoption process.)
1. แนวควำมคิดเกีย่ วกับนวัตกรรมใหม่ กำรเผยแพร่ ผลิตภัณฑ์ ใหม่ และกำร
ยอมรับผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( Concept in innovation,
diffusion and adoption.)
นวัตกรรมใหม่ ( Innovation.) หมายถึง ความคิดริ เริ่ มผลิตภัณฑ์ใหม่
ที่ไม่เคยปรากฏในตลาด
กำรเผยแพร่ ผลิตภัณฑ์ ( Diffusion.) หมายถึง การเผยแพร่ ความคิด
ใหม่จากแหล่งค้นพบ ไปยังผูบ้ ริ โภคขั้นสุ ดท้าย หรื อผูย้ อมรับขั้นสุ ดท้าย
กระบวนกำรยอมรับ ( Adoption process.) หมายถึง ขั้นตอน
ด้านความคิดของบุคคลจากการรู ้จกั ผลิตภัณฑ์ใหม่ครั้งแรกจนถึงการยอมรับขั้น
สุ ดท้าย ซึ่ งเป็ นขั้นตอนการตัดสิ นใจของบุคคลที่จะใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่
2. ข้ อเสนอแนะเกีย่ วกับกระบวนกำรกำรยอมรับของผู้บริโภค ( Propositions
about the consumer adoption process.)
2.1 ขั้นตอนในกระบวนกำรยอมรับ ( Stages in the adoption process.) ได้
แบ่งขั้นตอนในกระบวนการยอมรับผลิตภัณฑ์ โดยโรเจอร์ (Everett M. Rogers.)
(1) การรับรู้ ( Awareness.) การที่บุคคลเริ่ มรู ้จกั ผลิตภัณฑ์ใหม่ครั้งแรกยังไม่รู้จกั
รายละเอียดของผลิตภัณฑ์
(2) ความสนใจ ( Interest.) แต่ละบุคคลได้ถกู กระตุน้ ให้คน้ หาข้อมูลเกเกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ์ใหม่เพราะเกิดความสนใจ
(3) การประเมินผล ( Evaluation.) แต่ละบุคคลจะหาข้อมูลและเหตุผลและนามา
พิจารณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่
(4) การทดลอง (Trial) เป็ นการทดลองใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อพิสูจน์ถึงอรรถประโยชน์
ของผลิตภัณฑ์น้ นั
(5) การยอมรับ ( Adoption.) แต่ละบุคคลจะตัดสิ นใจว่าจะใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่ต่อไป
อย่างสม่าเสมอหรื อไม่
2.2 ควำมแตกต่ ำงระหว่ ำงบุคคลเกีย่ วกับกำรยอมรับ
ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( Individual differences in
innovativeness.)
(1) กลุ่มผูบ้ ุกเบิก ( Innovators.)
(2) กลุ่มผูย้ อมรับผลิตภัณฑ์แรกเริ่ ม ( Early adoptors.)
(3) กลุ่มใหญ่ที่ใช้ผลิตภัณฑ์แรกเริ่ ม ( Early majority.)
(4) กลุ่มใหญ่ที่ใช้ผลิตภัณฑ์ตามหลัง ( Late majority.)
(5) กลุ่มล้าหลัง ( Laggard.)
2.3 บทบำทอิทธิพลส่ วนบุคคล ( Role of personal
influence.)
2.4 ปัจจัยที่มอี ทิ ธิพลต่ อกำรยอมรับผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( Factors influencing the
adoption process.)
(1) ความแตกต่างของบุคคล
(2) อิทธิ พลของบุคคลเป็ นบทบาทสาคัญในการยอมรับผลิตภัณฑ์ใหม่ ( Influence of
buyers characteristic on the rate of adoption.)
(3) ลักษณะนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ใหม่อื่นๆ
(3.1) ข้อดีเด่นที่เหนือกว่าผลิตภัณฑ์เดิม ( Relative adveantage.)
(3.2) ลักษณะที่เข้ากันได้กบั ค่านิยมและประสบการณ์ของบุคคลในสังคม
( Compatibility.)
(3.3) ความง่ายต่อการใช้หรื อความเข้าใจของผลิตภัณฑ์ใหม่
(3.4) การติดต่อสื่ อสารของผลิตภัณฑ์ใหม่ ( Communicability)
(3.5) การแบ่งผลิตภัณฑ์ใหม่ออกเป็ นขนาดเล็กๆ ( Divisibility.)
(4) องค์การซึ่ งมีสภาพความพร้อมที่แตกต่างกันมีผลต่อการยอมรับนวัตกรรม
( Like people organizations vary in their readiness to adopt an innovation.)
กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ใหม่
( New Product Development.)
ขั้นตอนกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ใหม่ ( New Product Development
Process.)
กระบวนการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่แบ่งออกเป็ น 6 ขั้นตอนดังนี้
1. การแสวงหาความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ ( Exploration.)
2. การกลัน่ กรองความคิด (Idea Screening.)
3. การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ ( Business Analysis.)
4. การพัฒนาด้านเทคนิค ( Technical Development.)
5. การทดสอบตลาด ( Market Testing.)
6. การวางตลาดสิ นค้า ( Commercialization.)
กำรกลัน่ กรองแนวควำมคิด (Idea Screening.)
1. ภำพพจน์ ของกิจกำร ( Image.)
2. วัตถุประสงค์ และนโยบำยของกิจกำร ( Objective and
Policy.)
3. ควำมพร้ อมของทรัพยำกร ( Resources.)
4. ระดับควำมใหม่ ของควำมคิด ( Degree of Newness )
กำรทดสอบตลำด ( Market Testing.)
ขั้นตอนต่างๆในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ต้ งั แต่ข้นั 1 – 4 เป็ น
การศึกษาข้อมูลต่างๆ จากสิ่ งที่ไม่มีตวั ตน เป็ นการสรุ ปจากความเข้าใจ
ของผูผ้ ลิต
กำรวิเครำะห์ เชิงธุรกิจ ( Business Analysis.)
การกลัน่ กรองคามคิดเป็ นการพิจารณาจากความเหมาะสม ในการ
นาความคิดไปปฏิบตั ิ โดยพิจารณาจากปัจจัยภายในกิจการ ขั้นตอนต่อมา
ความคิดที่ผา่ นการกลัน่ กรองว่าเหมาะสม
กำรพัฒนำด้ ำนเทคนิค ( Technical Development.)
เป็ นขั้นตอนการเปลี่ยนจากความคิดให้เป็ นตัวผลิตภัณฑ์ที่มีตวั ตน
ขั้นตอนการพัฒนาด้านเทคนิคจะเกี่ยวข้องกับการหากรรมวิธีการผลิต
เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ตามความคิดที่นามาผลิต การเลือกวัตถุดิบ
ส่ วนประกอบของผลิตภัณฑ์ สูตรในกรผลิต วิธีการผลิตเพื่อให้ได้
คุณภาพ ประสิ ทธิภาพ รู ปแบบ สี สนั ขนาดต่างๆ ตามที่ตอ้ งการของ
ตลาด
กำรวำงตลำดสิ นค้ ำ ( Commercialization.)
1. ความต้องการเงินทุนจานวนมาก
2. วิธีการที่จะจัดหาอุปกรณ์ในการผลิต
3. กาลังการผลิต
4. จังหวะที่จะนาผลิตภัณฑ์ใหม่ออกวางตลาด
5. ลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายในการวางตลาดครั้งแรก
6. ขอบเขตของตลาดที่จะวางตลาดครั้งแรก
7. วิธีการที่จะใช้ในการแนะนาผลิตภัณฑ์ใหม่
สำเหตุทผี่ ลิตภัณฑ์ ใหม่ ล้มเหลว
( Reasons for Product Failure.)
1. ขาดการศึกษาวิเคราะห์ตลาดที่ดีพอ
2. ผลิตภัณฑ์ใหม่ไม่ได้คุณภาพ
3. เกิดการผิดพลาดในการคานวณต้นทุน