ภาพนิ่ง 1 - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

5. หลีกเลี่ยงการแคะหู เพราะจะนาไปสูก่ าร
ติดเชื ้อโรคของรูหู แก้ วหู ซึง่ อาจลุลามไปยัง
หูชั ้นกลางและประสาทหูได้
7. ควรรักษาสุขภาพทัว่ ไปให้ สมบูรณ์ โดยการ
รับประทานอาหารครบหมู่
ออกกาลังกายสม่าเสมอ
6. ควรมาพบแพทย์อย่างสม่าเสมอตาม
กาหนดวันนัด เพื่อที่แพทย์จะได้ ดแู ล ให้ คา
แนะนาและป้องกันให้ ผ้ ปู ่ วยหากมีอาการผิด
ปกติก่อนแพทย์นดั เช่น การได้ ยินเสื่อมลง
อย่างรวดเร็ว,มีเสียงดังในหูมากขึ ้นหรื อมี
อาการเวียนหมุน โคลงเคลง เดินเซ ควรรี บ
มาพบแพทย์
หูเสื่อม
หูเสื่อม
พักผ่อนนอนหลับให้ เพียงพอและให้ ความอบอุน่
แก่ร่างกายโดยเฉพาะในฤดูหนาว
เอกสารอ้ างอิง
ภาควิชาโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
งานเวชนิทศั น์และโสตทัศนศึกษา
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
โทร. 055-411064 ต่อ 2160, 2162
ด้ วยความปรารถนาดีให้ ทา่ นมีสขุ ภาพดี
จาก
ห้ องตรวจ หู คอ จมูก
โทร. 055-411064 ต่อ 1119
2. ควรระมัดระวังเมื่อจะใช้ ยา ไม่ว่าจะอยู่ใน
รูปแบบของยารับประทาน ยาฉีด หรื อยาหยอด
หู เนื่องจากยาหลายชนิด สามารถทาลาย
ประสาทหูได้ เช่น
1. หลีกเลี่ยงการอยู่ในบริเวณที่มีเสียงดัง เช่น
สถานเริงรมย์ที่มีดนตรี เสียงดัง, โรงงานที่มี
เสียงเครื่ องจักร, บริเวณที่มีการขุดเจาะ, การ
ยิงปื น, ประทัด ฯลฯ
- กรณีที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ควรใช้ สาลี กระดาษ
ทิชชูหรื อดินน ้ามันอุดหูทั ้งสองข้ างให้ เต็มรูหู
และใบหู เพื่อช่วยลดอันตรายต่อประสาทหู
- สาหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่ องช่วยฟั ง เมื่อต้ อง
เข้ าไปในที่มีเสียงดัง ควรปิ ดเครื่ องหรื อลด
กาลังขยายของเครื่ อง
- การรับประทานยาแก้ ปวดกลุม่ แอสไพริน
ในขนาดสูง
- ยาควินินชนิดฉีดหรื อรับประทาน
- ยาฉีดสเตรปโตมัยซิน กานามัยซิน เจนตา
มัยซินหรื อการฉีดยาขับปั สสาวะในขนาดสูง
- ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทานบางชนิด อาจ
ทาให้ หตู งึ หรื อมึนงงได้ เช่น อีริโทรมัยซินหรื อมิ
โนซัยคลิน เป็ นต้ น
- ยาหยอดหู ซึง่ โดยทัว่ ไปเป็ นยาที่แพทย์จะ
สัง่ ให้ ใช้ กรณีหชู ั ้นนอกอักเสบ หากซื ้อใช้ เองและ
ผู้ใช้ มีแก้ วหูทะลุ ยาอาจซึมเข้ าหูชั ้นในเกิด
อันตรายได้
ควรปรึกษาแพทย์
หรื อเภสัชกร
กรณีท่ ีต้องใช้ ยาดังกล่ าว
3. ระมัดระวังการติดเชื ้อไม่ให้ เกิดการ
บาดเจ็บบริเวณศีรษะ เช่น สวมหมวก
นิรภัยขณะที่ขบั ขี่รถจักรยานยนต์ คาด
เข็มขัดนิรภัยขณะขับขี่รถยนต์ ไม่เสพ
สารเสพติดหรื อสุราขณะขับขี่
ยานพาหนะหรื อขณะควบคุมเครื่ องจักร
4. ระมัดระวังการติดเชื ้อหวัด เพราะอาจ
ลุกลามไปยังหูชั ้นกลาง ซึง่ จะทาให้ หตู งึ
มากขึ ้นและระวังโรคติดเชื ้อบางอย่าง ซึง่
สามารถทาลายประสาทหูได้ เช่น โรคหัด
เยอรมัน คางทูม งูสวัด เยื่อหุ้มสมอง
อักเสบ ฯลฯ