หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติ

Download Report

Transcript หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติ

หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบตั ิ
ราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ในสังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
๑. หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบตั ิ
ราชการให้ถือปฏิบตั ิตามคู่มือการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
และให้ขา้ ราชการได้รบั ค่าตอบแทนพิเศษในสังกัด
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒. คณะกรรมการได้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของข้าราชการ ในสังกัด
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ณ วันที่ ๑ มีนาคม
๒๕๕๖ มีขอ้ เสนอแนวทางการประเมินผลการปฏิบตั ิ
ราชการโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการ
ปฏิบตั ิราชการของข้าราชการครั้งที่ ๑ ประจาปี ๒๕๕๖
๒.๑ องค์ประกอบการประเมินและสัดส่วนคะแนนของ
แต่ละองค์ประกอบ
- การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของข้าราชการในจังหวัด
สงขลาให้ประเมินจาก ๒ องค์ประกอบได้แก่ผลสัมฤทธิ์ของงาน
และจากพฤติกรรมการปฏิบตั ิราชการ หรือสมรรถนะโดยมี
สัดส่วนคะแนนร้อยละ ๗๕ และ ๒๕ ตามลาดับ
- ในกรณีที่เป็ นการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของผูท้ ี่อยู่
ระหว่างทดลองปฏิบตั ิหน้าที่ราชการสัดส่วนคะแนน
ร้อยละ ๕๐:๕๐
๒.๒ วิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมการ
ปฏิบตั ิราชการให้ดาเนิ นการดังนี้
- การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้ประเมินจาก
ปริมาณผลงาน และคุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว หรือ
ตรงตามเวลาที่กาหนด หรือความประหยัด หรือความ
คุม้ ค่าในการใช้ทรัพยากร โดยกาหนดตัวชี้ วัดผลสัมฤทธิ์
ของงานรายบุคคล จานวน ๖ ตัวชี้ วัด
- การประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั ิราชการหรือ
สมรรถนะให้ประเมินจากสมรรถนะหลักที่ ก.พ.กาหนด
ได้แก่ การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสัง่ สมความ
เชี่ยวชาญในงานอาชีพ การยึดมัน่ ในความถูกต้องชอบ
ธรรมและจริยธรรม และการทางานเป็ นทีม
๒.๓ ระดับผลการประเมิน
การประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของข้าราชการ ในแต่ละ
รอบการประเมิน ให้จดั กลุ่มคะแนนผลการประเมิน เป็ น
๕ ระดับ คือ
๑. ระดับดีเด่น ๙๐ - ๑๐๐คะแนน (โควตา๑๕%)
๒. ระดับดีมาก ๘๐ - ๘๙.๙๙ คะแนน
๓. ระดับดี
๗๐ - ๗๙.๙๙ คะแนน
๔. ระดับพอใช้ ๖๐ - ๖๙.๙๙ คะแนน
๕. ต้องปรับปรุง ตา่ กว่า ๖๐
๔. การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการ
การประเมินฯ ของข้าราชการให้ใช้แบบประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ของงาน แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบตั ิ
ราชการ หรือสมรรถนะ และแบบสรุปการประเมินฯ
โดยกาหนดระยะเวลาการประเมินถึง ๒๘ กุมภาพันธ์
๒๕๕๖โดยกาหนดตัวชี้ วัดและค่าเป้าหมายรายบุคคล
ในรอบที่ ๑ (ตั้งแต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ – ๒๘
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖) ให้แต่ละหน่ วยงานในสังกัด จัดทา
ตัวชี้ วัดรายบุคคล คนละ ๖ ตัวชี้ วัด โดยพิจารณาดังนี้
๑. ตัวชี้ วัดกลุ่มงาน/ฝ่ าย ๑ ตัว น้ าหนัก ๓๐%
๒. ตัวชี้ วัดรายบุคคล ๔ ตัว
น้ าหนัก ๒๐% ๑๐% ๑๐% ๑๐%
๓. ส่วนของผูบ้ งั คับบัญชาประเมิน จากภารกิจที่
มอบหมายนอกเหนื อจากภารกิจหลัก หรือโครงการ/
กิจกรรมอื่น ๆ น้ าหนัก ๒๐%
สำหรับผู้บริหำร (ตัวผู้อำนวยกำรโรงพยำบำล และ
สำธำรณสุขอำเภอ) ตัวชี้วัดตัวรำยบุคคลเน้ น เรื่อง
เบำหวำน ควำมดัน ไข้ เลือดออก CMI, Service
Plan และ เรื่อง ยำเสพติด
ตัวที่ ๑ ตัวชี้วัดหน่วยงำน ๑ ตัว นำ้ หนักตัวละ ๓๐%
ตัวที่ ๒ ตัวชี้วัดรำยบุคคล ๔ ตัว ตัวหลัก ๒๐%
อีก ๓ ตัวๆละ ๑๐%
ตัวที่ ๓ ส่วนของผู้บังคับบัญชำประเมิน จำกภำรกิจที่
มอบหมายนอกเหนื อจากภารกิจหลัก หรือโครงการ/
กิจกรรมอื่นๆ น้ าหนัก ๒๐%
รายการ
ตัวชี้วดั หน่ วยงาน (package)
ตัวชี้วดั รายบุคคล
- ตัวชี้วดั หลัก
- ตัวชี้วดั รอง
ส่ วนของผู้บริหารประเมิน
จานวนตัวชี้ วัด
น้ าหนัก
1
30
1
3
20
30
20
100
รายการ
1.การมุ่งเน้ นผลสั มฤทธิ์
2.การบริการทีด่ ี
3.การสั่ งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ
4.การยึดมั่นในความถูกต้ องชอบธรรมและจริยธรรม
5.การทางานเป็ นทีม
น้ าหนัก
20
20
20
20
20
100
๕. การพิจารณาผลการประเมิน และการบริหารวงเงินที่ใช้ใน
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในรอบที่ ๑ ปี ๒๕๕๖
- การคานวณวงเงิน ให้คานวณจากอัตราเงินเดือนรวมของ
ข้าราชการที่ปฏิบตั ิงานอยูจ่ ริง ณ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๖ เฉพาะ
ข้าราชการที่มีบญ
ั ชีถือจ่าย (จ.๑๘) อยูท่ ี่จงั หวัดสงขลาและกลุ่ม
ที่มาช่วยราชการ โดยคานวณร้อยละ ๒.๙๕ ไว้ก่อน เนื่ องจาก
จังหวัดยังไม่ได้แจ้งการจัดสรรวงเงินที่ใช้ในการเลื่อนเงินเดือน ณ
๑ เมษายน ๒๕๕๖
กลุ่มงำนทรัพยำกรบุคคล
สสจ.สงขลำ
สวัสดี