สมบัติของธาตุทรานซิชัน

Download Report

Transcript สมบัติของธาตุทรานซิชัน

Scandium
Titanium
Vanadium
Chromium
Manganese
Iron
Cobalt
Nickel
Copper
ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)
1. สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน
2. สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
3. สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชัน
การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ K Ca และธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4
ธาตุ
เลขอะตอม
การจัดเรียง e
จานวน e
K
19
[Ar] 3d0 4s1
2 8 8 1
Ca
20
[Ar] 3d0 4s2
2 8 8 2
Sc
21
[Ar] 3d1 4s2
2 8 9 2
Ti
22
[Ar] 3d2 4s2
2 8 10 2
V
23
[Ar] 3d34s2
2 8 11 2
Cr
24
[Ar] 3d5 4s1
2 8 13 1
Mn
25
[Ar] 3d5 4s2
2 8 13 2
Fe
26
[Ar] 3d6 4s2
2 8 14 2
Co
27
[Ar] 3d7 4s2
2 8 15 2
Ni
28
[Ar] 3d8 4s2
2 8 16 2
Cu
29
[Ar] 3d10 4s1
2 8 18 1
Zn
30
[Ar] 3d10 4s2
2 8 18 2
สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชันมีสมบัตแิ ตกต่ างจากโลหะทัว่ ๆ ไป ทาให้ ต้องแยกออกเป็ นกลุ่ม ๆ
ต่ างหาก ลักษณะทีส่ าคัญของธาตุแทรนซิชันเป็ นดังนี้
1. มีเลขออกซิเดชันมากกว่ า 1 ค่ า ยกเว้ นหมู่ IIIB เช่ น Sc เป็ น +3 ค่ าเดียว
และหมู่ IIB (Zn, Cd) เป็ น +2 ค่ าเดียว
2. ธาตุแทรนซิชันเป็ นโลหะ จึงดึงดูดกับแม่ เหล็ก และมีบางธาตุ เช่ น Fe, Co,
และ Ni สามารถแสดงสมบัติเป็ นแม่ เหล็กได้ เมือ่ นาไปวางไว้ ในสนามแม่ เหล็กนาน ๆ
นอกจากนีย้ งั มีสารประกอบของธาตุแทรนซิชันอีกหลายชนิดทีส่ ามารถดูดกับ
แม่ เหล็กได้
3. สารประกอบส่ วนใหญ่ มีสี (ยกเว้ นหมู่ IIIB) ซึ่งเป็ นสี ของไอออนเชิงซ้ อน
ของธาตุแทรนซิชัน ซึ่งแตกต่ างกันขึน้ อยู่กบั ชนิดของธาตุแทรนซิชันเอง
เลขออกซิเดชัน ชนิดและจานวนของสารทีร่ วมตัวกับธาตุแทรนซิชัน
4. ธาตุแทรนซิชันมีแนวโน้ มทีจ่ ะเกิดสารประกอบเชิงซ้ อนได้
5. มีเวเลนต์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 2 (ยกเว้ น Cr, และ Cu มีเวเลนต์ อเิ ล็กตรอน
เท่ ากับ 1) และอิเล็กตรอนถัดจากวงนอกสุ ดไม่ ครบ 18 (ยกเว้ น Cu และ Zn)
สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน
6.
รัศมีอะตอมมีแนวโน้ มลดลงจากซ้ ายไปขวาของคาบ (หรือเมือ่ เลขอะตอม
เพิม่ ขึน้ รัศมีอะตอมจะเล็กลง) ซึ่งเหมือนกับธาตุในคาบเดียวกันทัว่ ๆ ไป)
7. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดค่ อนข้ างสู ง เพราะมีพนั ธะโลหะ
8. ความหนาแน่ นเพิม่ ขึน้ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ เนื่องจากมวลเพิ่มขึน้ ในขณะที่
ขนาดเล็กลง
9. ค่ า IE1 , IE2 , และ IE3 มีแนวโน้ มเพิม่ ขึน้ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้ แต่ ค่า
ต่ างกันไม่ มากนัก เพราะขนาดใกล้เคียงกัน
10. อิเล็กโทรเนกาติวิตีมแี นวโน้ มเพิม่ ขึน้ เมือ่ เลขอะตอมเพิม่ ขึน้
11. เป็ นโลหะทีน่ าความร้ อนและนาไฟฟ้าได้ ดเี หมือนกับโลหะทัว่ ๆ ไป ทั้งนีเ้ พราะ
มีพนั ธะโลหะ
12. ขนาดอะตอมในคาบเดียวกันจะเล็กลงจากซ้ ายไปขวาเล็กน้ อย และขนาด
อะตอมเล็กกว่ าธาตุหมู่ IA และ IIA ในคาบเดียวกัน
สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน
รัศมีอะตอม
สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน
Transition metal densities
พลังงานไอออไนเซชันของโลหะแทรนซิชันแถวแรก
เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชนั
Sc
Ti
V
Cr
Mn
Fe
Co
Ni
Cu
Zn
+3
+4
+5
+6
+7
+6
+5
+4
+3
+2
+3
+4
+5
+6
+5
+4
+3
+2
+2
+3
+4
+5
+4
+3
+2
+1
+1
+2
+3
+4
+3
+2
+1
+1
+2
+3
+2
+1
+1
+2
+1
+1
เลขออกซิเดชันทีเ่ สถียรทีส่ ุ ดแสดงไว้ ด้วยสี แดง
สมบัตขิ องธาตุแทรนซิชัน
ธาตุ Atomic No. Atomic Radius(pm) mp.(oC) bp.(oC)
Density (g/cm3)
IE1 (kJ/mol)
EN
K
19
227
64
760
0.86
425
0.82
Ca
20
197
839
1490
1.54
596
1.00
Sc
21
160
1540
2730
3.0
632
1.36
Ti
22
150
1680
3260
4.5
661
1.54
V
23
140
1900
3400
6.1
648
1.63
Cr
24
130
1890
2480
7.2
653
1.66
Mn
25
140
1240
2100
7.4
716
1.55
Fe
26
130
1535
2750
7.9
762
1.83
Co
27
130
1500
2900
8.9
757
1.88
Ni
28
130
1450
2730
8.9
736
1.91
Cu
29
130
1080
2600
8.9
908
1.90
Zn
30
130
420
910
7.1
577
1.65
สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
* โลหะแทรนซิชันมีโครงสร้ างทางอิเล็กตรอนทีแ่ ตกต่ างไปจากโลหะหมู่ที่ IA และหมู่ IIA
คือสามารถรวมกับไอออน หรือหมู่ไอออน โมเลกุลหรือสารบางชนิดทีม่ อี เิ ล็กตรอนคู่ว่างอยู่ เกิดเป็ น
สารประกอบโคเวเลนต์ ที่เรียกว่ า สารประกอบโคออดิเนชันหรือสารประกอบเชิงซ้ อน
(Complex Compound)
สารประกอบเชิงซ้ อน คือ สารประกอบทีม่ ไี อออนเชิงซ้ อนเป็ นองค์ ประกอบอยู่ด้วย ส่ วนมากเกิด
กับธาตุแทรนซิชัน
ไอออนเชิงซ้ อน คือ สารทีเ่ กิดจากไอออนลบ (anions) หรือโมเลกุลทีเ่ ป็ นกลางไม่ มปี ระจุจานวน
หนึ่ง หรือมากกว่ านั้นมาสร้ างพันธะเคมีกบั ไอออนกลางของโลหะ เช่ น
Cu(NH3)42+, ไอออนเชิงซ้ อนมี 2 ชนิดคือ ไอออนเชิงซ้ อนทีเ่ ป็ นไอออนบวก
และไอออนลบ
สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
อะตอมกลางหรือไอออนกลาง (Central atom ion) คือ อะตอม
ของธาตุทอี่ ยู่แกนกลางของสารเชิงซ้ อน ส่ วนมาก ได้ แก่
โลหะแทรนซิชัน
ลิแกนด์ คือ ไอออนหรือโมเลกุลทีล่ ้ อมรอบอะตอมกลางหรือ
ไอออนกลาง สารพวกนีเ้ ป็ นสารทีม่ อี ะตอมของธาตุทมี่ ี
อิเล็กตรอนคู่อสิ ระอยู่ เช่ น F-, Br-, OH-, SCN-, S2-,CO, NH3,
H2O เป็ นต้ น
พันธะระหว่ างลิแกนด์ และโลหะแทรนซิชันทีอ่ ยู่กลางในสารเชิงซ้ อนเป็ นพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งจานวน
ลิแกนด์ ทลี่ ้ อมรอบโลหะแทรนซิชันทีอ่ ยู่กลาง เรี ยกว่ า เลขโคออร์ ดิเนชัน และเลขโคออร์ ดเิ นชันเป็ น
เท่ าใดนั้นขึน้ อยู่กบั ชนิดของธาตุแทรนซิชัน เลขออกซิเดชันของโลหะแทรนซิชัน และชนิดของลิ
แกนด์ ด้วย
สารประกอบโคออร์ ดเิ นชัน (Coordination Compound)
สารประกอบโคออร์ ดเิ นชัน โดยทัว่ ไปประกอบด้วยไอออนเชิงซ้อน (complex ion) และ
ไอออนที่มีประจุตรงข้าม (counter ion)
ไอออนเชิงซ้ อน ประกอบด้วย โลหะที่มีประจุบวกตรงกลาง (central metal cation) เกิด
พันธะกับโมเลกุลหรื อไอออนตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป
H
H
H H H
•• Cl
••
••
O
••
••
••
N
••
ลิแกนด์ จะมีอิเล็กตรอนวงนอกสุ ดที่ไม่ได้ใช้ในการ
เกิดพันธะโคเวเลนท์ (unshared pair of valence
electrons)อยูอ่ ย่างน้อย 1 คู่
C O
สารประกอบโคออร์ ดเิ นชัน
อะตอมในลิแกนด์ที่เกิดพันธะโดยตรงกับโลหะอะตอมกลางเรี ยกว่า “อะตอม
ดอนเนอร์ (donor atom)”
••
N
O
H
H
H H H
ลิแกนด์ที่มี:
อะตอมดอนเนอร์ 1 ตัว เรี ยกว่า monodentate H2O, NH3, Clอะตอมดอนเนอร์ 2 ตัว เรี ยกว่า bidentate
ethylenediamine
อะตอมดอนเนอร์ 3 ตัวขึ้นไป เรี ยกว่า polydentate EDTA
Electron acceptor คือ โลหะที่รับคู่อิเล็กตรอน
ตัวอย่ างลิแกนด์ ทพี่ บบ่ อยๆ
จงหาเลขออกซิเดชันของโลหะในสารเหล่านี้
K[Au(OH)4] และ [Cr(NH3)6](NO3)3
OH- มีประจุเป็ น -1
K+ มีประจุเป็ น +1
? Au + 1 + 4x(-1) = 0
NO3- มีประจุเป็ น -1
Au = +3
NH3 ไม่มีประจุ (เป็ นกลาง)
? Cr + 6x(0) + 3x(-1) = 0
Cr = +3
โครงสร้ างของสารประกอบเชิงซ้ อน
โครงสร้ างของไอออนเชิงซ้ อน
ธาตุแทรนซิชันและสารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชัน
สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
เป็ นโลหะทุกธาตุ และมีความสามารถเป็ นตัวรีดวิ ส์ มีอะตอมหรือไอออนของธาตุแทรนซิชันอยู่ตรงกลาง
ได้
และมีไอออน อะตอม หรือโมเลกุล มาล้ อมรอบโดย
สร้ างพันธะโคเวเลนต์ ระหว่ างกัน
มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเพิม่ เข้ าไปในระดับ
อาจเป็ นไอออนบวก ไอออนลบ หรือเป็ นกลางก็ได้
พลังงานชั้นในทีอ่ ยู่ติดกับระดับพลังงานนอกสุ ด
บางธาตุมเี วเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 1 (Cr, Cu)
มักมีสี และถ้ าเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน
และบางธาตุมเี วเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ ากับ 2 และเมือ่ เปลีย่ น สี จะเปลีย่ น
เป็ นสารประกอบจะมีเลขออกซิเดชันหลายค่ า
มีขนาดอะตอมใกล้ เคียงกันภายในกลุ่ม แต่ เล็กกว่ า ธาตุแทรนซิชันชนิดหนึ่งอาจเกิดเป็ นสารประกอบทีม่ ี
โลหะหมู่ IA และ IIA ในคาบเดียวกัน
องค์ ประกอบเหมือนกันได้ มากกว่ า 1 ชนิด แต่ ละชนิด
จะมีสีแตกต่ างกันขึน้ อยู่กบั ชนิด และจานวนโมเลกุล
อะตอม หรือไอออน ทีม่ าล้ อมรอบ
สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
ไอออนเชิงซ้ อน หมายถึง ไอออนทีป่ ระกอบด้ วยอะตอมของธาตุอย่ างน้ อย 2 ชนิด
เช่ น MnO4- PO43- CN- [Cu(NH3)4]2+
สารประกอบเชิงซ้ อน
สู ตร
ไอออนบวก
ไอออนลบ
โพแทสเซียมเปอร์ แมงกาเนต
KMnO4
K+
MnO4-
โพแทสเซียมไดโครเมต
K2Cr2O7
K+
Cr2O72-
แอมโมเนียมฟอสเฟต
(NH4)3PO4
NH4+
PO43-
โพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอเรต(III)
K3[Fe(CN)6]
K+
[Fe(CN)6]3-
เตตระแอมมีนคอปเปอร์ (II)ซัลเฟต
[Cu(NH3)4]SO4
[Cu(NH3)4]2+
SO42-
เฮกซะแอมมีนโคบอลต์ (III)คลอไรด์
[Co(NH3)6]Cl3
[Co(NH3)6]3+
Cl-
สารประกอบเชิงซ้ อนของธาตุแทรนซิชัน
ตารางแสดงสารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองค์ประกอบ
สารประกอบ
เชิงซ้อน
KMnO4
K2MnO4
PbCrO4
K3[Fe(CN)6]
ไอออนบวก
ไอออนลบ
K+
K+
Pb2+
K+
[MnO4][MnO4]2[CrO4]2+
[Fe(CN)6]3-
สี ของ
สารประกอบ
ม่วงแดง
เขียว
เหลือง
ส้มแดง
Cu[(NH3)4SO4]
[Cu(NH3)4]2+
[SO4]2-
คราม
Cu[(H2O)5SO4]
[Cu(H2O)5]2+
[SO4]2-
น้ าเงิน
สมบัติบางประการของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสไอออน
Cr
Mn
+6
Cr2O72- + H O
2 2
สี ส้ม
H+
H+
+6
Cr3+
สี เขียว
CrO4
สี เหลือง
2-
MnO42สี เขียว
+7
MnO4สี ม่วงแดง
S2-
OH+6
+ O2(g)
H+
H+ กับ S2-
NaOH
Cr2+
สี นา้ เงิน
+4
MnO2
สี ดา
Mn2+
สี ชมพูอ่อน
OH+3
Mn(OH)3
สี นา้ ตาล
สี ของสารประกอบของโครเมียมและแมงกานีสในนา้
สู ตร
ชื่อ
สี
Cr2+
Cr3+
CrO42Cr2O72Mn2+
Mn(OH)3*
MnO2*
MnO42MnO4-
Chromium (II) ion
Chromium (III) ion
Chromate ion
Dichromate ion
Manganese (II) ion
Manganese (II) hydroxide
Manganese (IV) oxide
Manganate ion
Permanganate ion
นา้ เงิน
เขียว
เหลือง
ส้ ม
ชมพูอ่อน
นา้ ตาล
ดา
เขียว
ม่ วงแดง
*ไม่ละลายน้ า
การเตรี ยมสารประกอบเตตระแอมมีนคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต
เตรี ยมโดยนา CuSO4.5H2Oซึ่ งเป็ นผลึกสี ฟ้ามาละลายน้ า แล้วเติม NH3 และ
เอทานอล จะได้ผลึกสี ครามเข้ม เมื่อตั้งทิ้งไว้ขา้ มคืนจะเปลี่ยนเป็ นสารสี เขียวแกม
ฟ้ า ดังสมการ
CuSO4.5H2O + 4NH3
(สี ฟ้า)
Cu(NH3)4SO4.H2O + 4H2O
(สี คราม)
ทิ้งไว้ขา้ มคืน
Cu(NH3)3SO4 + NH3 + H2O
(สี เขียวแกมฟ้ า)
สารประกอบเชิงซ้ อนขอธาตุแทรนซิชัน
Excess
Ammonia
TM
Formula of Hydroxide Precipitate
Colour
Excess NaOH
Cr
Cr(OH)3
green
[Cr(OH)6]3-(aq)
Mn
Mn(OH)2
cream
Fe
Fe(OH)2
green
Fe(OH)3
red/brown
Co
Co(OH)2
light blue
Ni
Ni(OH)2
green
[Ni(NH3)6]2+(aq)
Cu
Cu(OH)2
blue
Cu(NH3)4]2+(aq)
Zn
Zn(OH)2
white
[Zn(OH)4]2- (aq) [Zn(NH3)4]2+(aq)
หลักการเขียนสู ตรสารประกอบเชิงซ้ อน
1. เขียนสัญลักษณ์ของไอออนก่อนเป็ นอันดับแรก แล้วจึงเขียนลิแกนด์ตามหลัง
## สารเชิงซ้อนมีท้ งั ลิแกนด์ที่เป็ นกลาง และลิแกนด์ที่มีประจุลบ ** นิยมเขียนลิแกนด์
ที่เป็ นกลางก่อนลิแกนด์ที่มีประจุลบ
2. ถ้าสารเชิงซ้อนมีประจุให้เติมประจุไว้ดา้ นบนขวาของสู ตร ซึ่ งประจุของไอออนเชิงซ้อน
ได้จากผลบวกของประจุของไอออนโลหะ และลิแกนด์
** ประจุไอออนเชิงซ้อน = ประจุไอออนโลหะ + ประจุท้ งั หมดของลิแกนด์
เช่น Cu2+ กับ CN- 4 ion
การคานวณ = ประจุของ Cu2+ + ประจุของ CN- 4 ion
= (2+) + [(1-)x4]
= 2สูตรไอออนเชิงซ้อนเป็ น [Cu(CN)4]2-
3. การเขียนสู ตรของสารประกอบเชิงซ้อนให้เขียน ไอออนบวกก่อนแล้วเขียนไอออนลบ เสมอ
ไอออนที่ทาหน้าที่ดุลประจุของ ไอออนเชิงซ้อนในสารประกอบโคออดิเนชัน เรี ยกว่า
“Counter ions”
เช่น [Co(NH3)6]Cl3
ไอออนบวกคือ [Co(NH3)6]3+
ไอออนลบ คือ Cl- เป็ น Counter ion เพื่อดุล 3+
K2[Co(NH3)2Cl4]
ไอออนลบ คือ [Co(NH3)2Cl4]2-
ไอออนบวก คือ K+ 2 ion เป็ น Counter ion เพื่อดุล
การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้ อน ตามระบบ IUPAC
1.
2.
เรี ยกชื่อไอออนบวกก่อนไอออนลบ
การเรี ยกชื่อไอออนเชิงซ้อน ให้เรี ยกชื่อลิแกนด์ก่อนแล้วตามด้วยชื่อของไอออน
ของโลหะแทรนซิ ชนั ถ้าลิแกนด์มีมากกว่า 1 ชนิด ให้เรี ยกชื่อโดยเรี ยงตามลาดับ
อักษรภาษาอังกฤษ โดยไม่ตอ้ งคานึงว่าลิแกนด์มีประจุหรื อไม่
**การเรี ยกชื่อลิแกนด์
1) ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย -ide เปลี่ยนเป็ น -o
ไอออนลบ
ชื่อทั่วไป
ชื่อเมื่อเป็ นลิแกนด์
ClBrICNO2-
chloride
bromide
Iodide
cyanide
oxide
chloro
bromo
Iodo
cyano
oxo
**การเรี ยกชื่อลิแกนด์
2) ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย –ite หรื อ –ate เปลี่ยนเป็ น –ito , –ato
ไอออนลบ
CO32S2O32SCNC2O42-
ชื่อทัว่ ไป
carbonate
thiosulfate
thiocyanate
thiocyanate
oxalate
ชื่อเมื่อเป็ นลิแกนด์
Carbonato
Thiosulfato
thiocyanato เมื่อเกิดพันธะที่ S
isothiocyanato เมื่อเกิดพันธะที่ N
oxalato
**การเรียกชื่อลิแกนด์
3) ลิแกนด์ ทไี่ ม่ มปี ระจุหรือเป็ นกลาง :
ยกเว้ น
ลิแกนด์
H2O
NH3
CO
ให้ เรียกเหมือนกับโมเลกุลทีเ่ ป็ นกลาง
ชื่อเมื่อเป็ นลิแกนด์
aqua
ammine
carbonyl
**การเรี ยกชื่อลิแกนด์
4) ถ้าสารประกอบเชิงซ้อนมีลิแกนด์ชนิ ดเดียวกันมากกว่าหนึ่ ง ให้บอกจานวนที่
ซ้ ากันไว้หน้าชื่อลิแกนด์ดว้ ยภาษากรี ก
จานวนลิแกนด์ ที่ซ้ากัน
2
3
4
5
6
เรียก
di
tri
tetra
penta
hexa
คานาหน้าชื่อเหล่านี้ไม่ได้นามาพิจารณาในการเรี ยงลาดับอักษรการเรี ยกชื่อลิแกนด์ดว้ ย
เช่น ไอออนเชิงซ้อน [Co(NH3)4Cl2]+ ต้องอ่าน tetraammine ก่อน dichloro
ถ้ากรณี ที่ในชื่อลิแกนด์บางชนิ ดมีคาที่เหมือนกับคาที่ใช้ระบุจานวนกลุ่มลิแกนด์อยูด่ ว้ ย
เช่น ethylenediamine จะหลีกเลี่ยงการไม่ใช้คาว่า di, tri, tetra,… นาหน้าชื่อเพื่อบอกจานวน
ลิแกนด์ประเภทนี้ เพราะจะทาให้สับสน แต่ใช้คาอื่นระบุจานวนแทน ดังนี้
จานวนลิแกนด์
คานาหน้า
2
บีส (bis)
3
ทรี ส (tris)
4
เทตระคิส (tetrakis)
ถ้ามี ethylenediamine(NH2CH2CH2NH2) ใช้ตวั ย่อว่า en เป็ นลิแกนด์สองกลุ่มหรื อสามกลุ่ม
ในสารเชิงซ้อน เช่น [Cu(en)2]2+ , [Co(en)3]3+ อ่านชื่อระบุจานวนเป็ น
bis-(ethylenediamine) และ tris(ethylenediamine)
**การเรี ยกชื่อไอออนเชิงซ้อน
1) ถ้าไอออนเชิงซ้อนมีประจุเป็ นลบ : ให้เรี ยกชื่อลิแกนด์แล้วตามด้วยชื่อโลหะ และ
เปลี่ยนคาลงท้ายเป็ น –ate และใส่ เลขออกซิ เดชันไว้ในวงเล็บต่อจากชื่อโลหะ
ด้วยเลขโรมัน
โลหะ
ชื่อโลหะ
ชื่อโลหะในไอออนเชิงซ้ อนทีม่ ปี ระจุลบ
Al
Cr
Mn
Ni
Co
Zn
Mo
W
Aluminium
chromium
manganese
nickel
cobalt
zinc
molybdenum
tungsten
Aluminate
Chromate
Manganate
Nickelate
Cobaltate
Zinccate
Molybdate
Tungatate
**การเรี ยกชื่อไอออนเชิงซ้อน
2) ไอออนเชิงซ้อนที่มีประจุเป็ นลบ : ชื่อโลหะบางตัวมีชื่อเรี ยกเป็ นภาษาละติน
ให้ใช้ภาษาละตินและลงท้ายด้วย –ate
ธาตุ
Fe
Cu
Pb
Ag
Au
Sn
ชื่อโลหะ
ภาษาอังกฤษ
iron
copper
lead
silver
gold
tin
ภาษาละติน
Ferrum
Cuprum
Plumbum
Argentum
Aurum
Stannum
ชื่อโลหะในไอออนเชิงซ้ อน
ทีม่ ปี ระจุเป็ นลบ
Ferrate
Cuprate
Plumbate
Argentate
Aurate
Stannate
3.
ให้แสดงเลขออกซิ เดชันของโลหะในสารเชิงซ้อนด้วยเลขโรมันในวงเล็บ( )
ตามหลังชื่อโลหะทุกครั้ง
เช่น [Co(NH3)6]3+ hexaamminecobalt(III)ion
[CuCl4]2-
tetrachlorocuprate(II)ion
### การเขียนชื่อลิแกนด์ โลหะ และวงเล็บที่ระบุเลขออกซิ เดชันของโลหะจะ
เขียนติดกันไปเลยโดยไม่มีการเว้นวรรค
การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้ อน
K3[Co(NO2)6]
Potassium hexanitrocobaltate (III)
Li2[Ni(CN)6]
Lithium hexacyanonickelate (IV)
Na3[Cr(NO2)6]
Sodium hexanitrochromate (III)
[Cr(H2O)4Cl2]ClO4
Tetraaquodichlorochromium(III)perchlorate
[Co(NH3)4Cl2]Br
Tetraamminedichlorocobalt(III) bromide
[Ni(H2O)6]SO4
Hexaaquo nickel (II) sulphate
การเขียนสู ตรและการเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้ อน
ตัวอย่ าง การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้ อน
สารประกอบเชิงซ้ อน
K3[Fe(CN)6]
ไอออนบวก ไอออนลบ
เลขโคออร์ ดเิ นชัน
อ่ านชื่อ
................... ...................... ................................. ........................
[Cu(NH3)4]SO4
................... ...................... ................................. ........................
[Cr(H2O)4Cl2]ClO4 ................... ...................... ................................. ........................
Na3[Cr(NO2)6]
................... ...................... ................................. ........................
Fe2[Fe(CN)6]
................... ...................... ................................. ........................
[Ni(NH3)6]Br2
................... ...................... ................................. ........................
ธาตุกงึ่ โลหะ (Metalloids)
ธาตุกงึ่ โลหะ คือ ธาตุทมี่ สี มบัตบิ างประการคล้ ายโลหะ และมีสมบัติบาง
ประการคล้ายอโลหะ ได้ แก่
B (โบรอน)
Si (ซิลกิ อน)
As (อาร์ เซนิก) Sb (แอนติโมนี)
Po (โพโลเนียม) At (แอสทาทีน)
Ge (เจอร์ เมเนียม)
Te (เทลลูเรียม)
ธาตุกงึ่ โลหะ
โบรอน (B)
- มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสู งเหมือนโลหะ แต่
เปราะ และไม่ นาไฟฟ้า
- มีโครงสร้ างแบบโครงผลึกร่ างตาข่ ายที่แข็งแรงมาก
มีรูปผลึกหลายรู ป
ธาตุกงึ่ โลหะ
ซิลกิ อน (Si)
- เป็ นผลึกสี เทาเงิน มีจุดเดือด จุดหลอม เหลวสู งเหมือน
โลหะ แต่ เปราะเหมือนอโลหะ
- เป็ นสารกึง่ ตัวนา
- อะตอมของ Si ยึดต่ อกันในรู ปโครงผลึก ร่ างตาข่ าย
- ใช้ ทาแผงวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่ างๆ เช่ น วิทยุ
โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
ธาตุกงึ่ โลหะ
เจอร์ เมเนียม (Ge) มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสู งเหมือนโลหะ
แต่ เปราะเหมือนอโลหะ เป็ นธาตุกงึ่ ตัวนา ใช้ ทาส่ วนประกอบ
ของอิเล็กทรอนิกส์
อาร์ เซนิก (As) มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวค่ อนข้ างสู ง นาไฟฟ้าได้
เหมือนโลหะ แต่ เปราะ