หน่วยที่ 6 สื่อเล่าเรื่องและนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย

Download Report

Transcript หน่วยที่ 6 สื่อเล่าเรื่องและนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย

หน่ วยที่ 6
่
่
สือการเล่
าเรืองและนิ
ทานสาหร ับ
เด็กปฐมวัย
่
รายวิชา สือการเรี
ยนรู ้สาหร ับเด็ก
ปฐมวัย
สาขาการศึกษาปฐมวัย รุน
่ ที่ 8
วิทยาลัยชุมชนระนอง
่ า
ความหมายและความสาคัญของสือเล่
่
เรืองส
าหร ับเด็กปฐมวัย
่
• ความหมายของการเล่าเรือง
1. เนือ
้ เรือ
่ งเป็ นเชงิ บอกเล่าตามลาดับก่อนหลัง มี
แนวคิดเป็ นคาสอนหรือไม่มก
ี ็ได ้
2. การเดินเรือ
่ งอยูบ
่ นพืน
้ ฐานของความเป็ นจริง
3. ผู ้เล่าคิดว่าเป็ นเรือ
่ งจริง หรือไม่แน่ใจว่าเป็ นจริง
ตามทีค
่ นทัว่ ไปเล่า
เรือ
่ ง
4. เรือ
่ งทีเ่ ล่าอาจเป็ นเรือ
่ งจริงหรือสมมุตข
ิ น
ึ้ ก็ได ้
5. เรือ
่ งทีเ่ ล่าเป็ นเรือ
่ งทีเ่ กิดขึน
้ ในปั จจุบน
ั หรือ
สามารถตรวจสอบเวลาได ้
่
่
• ความหมายของสือการเล่
า เรืองส
าหร ับเด็ ก
ปฐมวัย
่
่
สือการเล่
า เรืองส
าหร บั เด็ ก ปฐมวัย หมายถึง วัส ดุ
อุปกรณ์ และวิธก
ี าร
่ นามาเป็ นตัวกลาง สามารถ่ายทอดความรู ้ ความ
ทีครู
เข ้าใจ อารมณ์
ความรู ้สึก ความสนใจ ประสบการณ์ ทัศนคติ ค่านิ ยม
และทักษะเพือ่
่
นาไปใช ้ในชีวต
ิ ประจาวันทีเหมาะสมกั
บวัยของเด็ก
่
่
• ความสาค ัญของสือการเล่
าเรืองส
าหร ับเด็ก
ปฐมวัย
1. ช่วยเสริมสร ้างความเข ้าใจให ้แก่เด็ก
2. ช่วยเรียกร ้องความสนใจเด็ก
3. ช่วยให ้เด็กสนุ กและเพลิดเพลิน
่
ความหมายและความสาคัญของสือการเล่
า
นิ ทานสาหร ับเด็กปฐมวัย
• ความหมายของการเล่านิ ทาน
การเล่านิทาน หมายถึงดังต่อไปนี้
1. การเล่านิทานมีจด
ุ มุง่ หมายเพือ
่ สอน ให ้
แนวคิด แฝงคติเตือนใจ มุง่
ให ้ปฏิบัต ิ
2. การเดินเรือ
่ งโดยไม่สอดคล ้องกับความเป็ น
จริงตามความเข ้าใจของ
คนปั จจุบัน
3. เรือ
่ งนิทานทีแ
่ ต่งขึน
้ สว่ นใหญ่เกิดจาก
จินตนาการ
ื ต่อกันมา
4. นิทานทีน
่ ามาเล่ามักเป็ นเรือ
่ งเล่าสบ
่
• ความหมายของสือการเล่
านิ ทานสาหร ับ
เด็กปฐมวัย
่
สือการเล่
านิ ทานสาหร ับเด็กปฐมวัย หมายถึง วัสดุ
อุปกรณ์ และ
วิธ ีก ารที่ครู น ามาเป็ นตัว กลางถ่ า ยทอดความรู ้ ความ
เข ้าใจ อารมณ์ ความรู ้สึก
คว า ม ส นใจ ป ร ะ ส บ กา ร ณ์ ทั ศ น ค ติ แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ที่
เหมาะสมสาหร ับเด็กมาใช ้
เ ล่ า นิ ท า น เ พื่ อ ช่ ว ยใ ห ้เ ด็ ก ป ร ับ ตั ว แ ล ะ เ ต รี ย ม ร ับ
สถานการณ์ในชีวต
ิ ประจาวัน
่
• ความสาคัญของสือการเล่
านิ ทานสาหร ับ
เด็กปฐมวัย
1. ช่วยเสริมสร ้างความเข ้าใจให ้แก่เด็ก
2. ช่วยเรียกร ้องความสนใจของเด็ก
3. ช่วยให ้สนุ กเพลิดเพลิน
่ วยให ้เด็กปร ับตัวและเตรียมทีจะร
่ ับ
4. เพือช่
สถานการณ์ใน
ชีวต
ิ ประจาวัน
่
่ าเรืองและ
่
การจัดหาและเลือกสือเพื
อเล่
นิ ทานสาหร ับเด็กปฐมวัย
ื่
• ครูปฐมวัยจาเป็ นต ้องเข ้าใจหาและเลือกสอ
เล่าเรือ
่ งและนิทานสาหรับเด็กปฐมวัย โดยยึด
หลักดังนี้
1. ประหยัด
2. ประโยชน์
ิ ธิภาพ
3. ประสท
่ อเล่
่ าเรืองและนิ
่
• การจัดหาและเลือกสือเพื
ทานสาหร ับ
เด็กปฐมวัย
่ มี
่ อยู่ในสถานศึกษา
1. การสารวจสือที
2. การไต่ถาม
3. การยืม
4. การทา
5. การซือ้
่
่ าเรืองและนิ
่
ตัวอย่างสือเพื
อเล่
ทาน
สาหร ับเด็กปฐมวัย
่ ครู
่
่ ปฐมวัยอาจจัดหาและเลือกเพือเล่
่ าเรือง
• สือที
สาหร ับเด็กปฐมวัย ได ้แก่
ิ ประเภทต่างๆ
1. สงิ่ แวดล ้อมรอบตัวเด็ก 7. หุน
่ เชด
2. วัสดุเหลือใช ้
8. การเล่าเรือ
่ ง
ประกอบกิจกรรมเข ้าจังหวะ
3. ภาพแผ่น
4. ภาพกระดาษกระดก
5. แผ่นป้ าย
6. หุน
่ จาลอง
่ เด็
่ กๆใช้เล่าเรืองให้
่
่
• สือที
เพือนๆฟั
ง
1. ผลงานของตนเอง
่
2. ให ้เด็กนาของเล่นทีชอบมาจากบ
้าน
3. ครูอาจนาหุ่นจาลองหรือภาพแผ่นใหญ่
่
4. ครูอาจเล่าเรืองด
้วยวิธเี ล่นเกม
่ ครู
่ ปฐมวัยอาจจัดหาและเลือกเพือเล่
่ า
• สือที
นิ ทานสาหร ับเด็กปฐมวัย
1. กระดานชอล ์ก
2. ภาพแผ่นและภาพพลิก
3. ภาพกระดาษกระดก
่
4. เครืองฉายภาพหมุ
น
5. แผ่นป้ ายแม่เหล็กตะแกรง
6. หุ่นจาลอง
7. หุ่นเชิดประเภทต่างๆ
8. การทาหนังสือภาพนิ ทานสาหร ับเด็ก
่
่ าเรืองและนิ
่
การผลิตสือเพื
ทาน
อเล่
สาหร ับเด็กปฐมวัย
1. การกาหนดวัตถุประสงค์ทค
ี่ รอบคลุมเนือ
้ หาที่
จะเล่า
ื่ ทีเ่ หมาะสม
2. การพิจารณาเลือกประเภทของสอ
กับเนือ
้ หาของเรือ
่ งทีจ
่ ะเล่า
3. การพิจารณาการเลือกและเตรียมวัสดุ
4. การดาเนินงานผลิต
ื่ ทีผ
5. การทดสอบสอ
่ ลิต
การผลิตภาพเพือ
่ เล่าเรือ
่ งและนิทาน
สาหรับเด็กปฐมวัย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
เลือกตัดภาพ
ใช ้วิธลี อกภาพ
ใช ้วิธยี ่อหรือขยายภาพ
่ ยมจั
่
ใช ้วิธพ
ี บ
ั กระดาษสีเหลี
ตรุ ัส
ใช ้วิธพ
ี บ
ั กระดาษรูปวงกลม
ใช ้ศิลปะการฉี กกระดาษ
การผลิตภาพกระดาษกระดก
การผลิตภาพพลิก
การผลิตแผ่นป้ ายเพือ
่ เล่าเรือ
่ งและ
นิทานสาหรับเด็กปฐมวัย
• การผลิตแผ่นป้ ายแบบแขวนหรือแบบติดฝาผนังห ้อง
1. แผ่นป้ ายกระดาษชานอ ้อย
2. แผ่นป้ ายแม่เหล็กตะแกรง
• การผลิตแผ่นป้ ายแบบขาตัง้
1. แผ่นป้ ายกระดาษชานอ ้อย
2. แผ่นป้ ายไม้อด
ั
้ ะ
3. การผลิตแผ่นป้ ายแบบตังโต๊
4. การผลิตแผ่นป้ ายแบบมว้ นได ้
การผลิตหุน
่ เพือ
่ เล่าเรือ
่ งและนิทาน
สาหรับเด็กปฐมวัย
• หุ่นจาลอง
• หุ่นเชิดประเภทต่างๆ
้ อ
1. หุ่นนิ วมื
2. หุ่นมือ
3. หุ่นกระบอก
4. หุ่นช ักหรือหุ่นสาย
5. หุ่นเงาหรือหนังตะลุง
ื่ เพือ
แนวการใชส้ อ
่ เล่าเรือ
่ งและนิทาน
สาหรับเด็กปฐมวัย
่ าเรืองและนิ
่
• หลักการใช้สอเพื
ื่
อเล่
ทานสาหร ับเด็ก
ปฐมวัย
้
ื่ ทีจ
้ ้พร ้อม
1. ขันเตรี
ยม เตรียมสอ
่ ะใชให
้
ื่ นั น
2. ขันทดลอง
ควรทดลองใชส้ อ
้ ก่อนทีจ
่ ะนาไปใช ้
ื่ จะได ้หาวิธก
สอน หากมีปัญหาในการใชส้ อ
ี ารแก ้ไข
ปรับปรุงก่อนนาไปใช ้
้
ื่ ในที่
3. ขันเตรี
ยมก่อนนาไปใช้ เลือกทีต
่ งั ้ หรือวางสอ
ื่ ทีจ
เหมาะสม และจัดเรียงลาดับสอ
่ ะใชก่้ อน-หลังให ้
เรียบร ้อยเพือ
่ สะดวกแก่การหยิบใช ้
้
4. ขันใช้
ื่ ทีน
- สอ
่ ามาแสดง ต ้องมีทต
ี่ งั ้ ทีว่ างหรือแขวน
โดยเฉพาะเตรียมไว ้ให ้พร ้อม ครูไม่จาเป็ นต ้องถือไว ้
ตลอดเวลา
ื่ มาใชเรี
้ ยงตามลาดับต่อเนือ
- นาสอ
่ งกันเป็ นระเบียบ
• การเตรียมและการเล่า
ี ก่อนโดยจินตนาการ
1. ทาความเข ้าใจกับเรือ
่ งเสย
ออกมาเป็ นภาพ อ่าน
้ เพือ
เรือ
่ งชาๆ
่ จับความตัวละครและเหตุการณ์ทก
ุ อย่าง
ื แล ้วคิด
ปิ ดหนังสอ
ย ้อนเรือ
่ งออกมาเป็ นภาพ อ่านอีกครัง้ เพือ
่ เก็บภาษาที่
สละสลวย
2. การเลือกคา ควรเป็ นคาทีเ่ ด็กฟั งหรือนึกออกเป็ น
ภาพในจินตนาการได ้
้
3. เมือ
่ ในท ้องเรือ
่ งตัวละครคุยกัน ให ้ใชบทสนทนา
เพราะทาให ้เด็กตืน
่ เต ้น
กว่า
4. เตรียมขึน
้ ต ้นเรือ
่ งให ้ดี เพือ
่ เรียกร ้องความสนใจ
่
• ขณะเล่า นิ ท าน ต อ้ งมีค วามรู ้สึก กับ ตัว ละครในเรือง
สายตา หน้าตา มือ
แ ล ะ ตั ว ค รู ม อ ง ดู เ ด็ ก ๆ ทั่ ว ทุ ก ค น แ ส ด ง ท่ า ท า ง
ประกอบการเล่า
้ ่ าพอเหมาะกับ ระดับ สายตาเด็ ก เลื อ ก
• นั่ งเก า้ อี ต
่ านิ ทานทีมี
่ แสง
สถานทีเล่
สว่างเพียงพอ
่
• ขณะเล่าครูควรเวน
้ จังหวะตามอารมณ์ของเรืองและ
แสดงความหมาย
่ า
ด ้วยท่าทีออกมาตลอดเวลาทีเล่
่
ย้ าวพอเหมาะกับ ระยะความสนใจของ
• รก
ั ษาเรืองให
เด็กปฐมวัย ประมาณ
หนังสือภาพสาหร ับเด็ก
ปฐมวัย
ลักษณะและขนาดของภาพกับกระบวนการ
คิดของเด็กปฐมวัย
่
• เด็กปฐมวัยมีแนวโน้มทีจะให
้ความสนใจและเข ้าใจภาพที่
มีขนาดใหญ่ มีเส ้นหรือสีทเป็
ี่ นโครงร่างของภาพเด่นชัด
ไม่มรี ายละเอียดภายในมากนัก
่ นจากความนึ
้
• เด็กจะผูกเรืองขึ
กคิดและประสบการณ์ของ
้
่
ตน โดยไม่คานึ งถึงเนื อหาที
แม้จรองของภาพ
ลักษณะนี ้
่
จะค่อยๆหายไปเมืออายุ
มากขึน้
• เด็กอายุ 4-6 ขวบ จะพิจารณาขนาดและลักษณะโครง
่
ร่างของภาพเป็ นหลักในการจัดลาดับและผูกเรืองมากขึ
น้
่
• ลักษณะการผูกเรืองจากภาพของเด็
กปฐมวัยดาเนิ น
ตามลาดับดังนี ้
- เลือกภาพทีมข
ี นาดและโครงร่างเหมือนกันมาไว ้
ด ้วยกัน
ประเภทและลักษณะหนังสือภาพ
สาหร ับเด็กปฐมวัย
1. แบ่งประเภทหนังสือภาพโดยวัตถุประสงค ์
ของการใช้
- หนังสือประเภทถ่ายทอดประสบการณ์
- หนังสือประเภทถ่ายทอดมโนมติ
- หนังสือภาพนิ ทาน
2. แบ่งประเภทหนังสือภาพโดยลักษณะของ
ภาพ
- หนังสือภาพถ่าย
- หนังสือภาพลายเส ้นหรือภาพเขียน
- หนังสือการ ์ตูน
3. แบ่งประเภทหนังสือภาพโดยองค ์ประกอบ
่ คาบรรยาย
- หนังสือภาพทีมี
่ มค
- หนังสือภาพทีไม่
ี าบรรยาย
4. แบ่งประเภทของหนังสือภาพโดยลักษณะ
้
่
ของเนื องเรื
อง
้ องเพ
่
- หนังสือภาพเนื อเรื
้อฝัน
้ องเพ
่
- หนังสือภาพเนื อเรื
้อฝันสมจริง
้ องสมจริ
่
- หนังสือภาพเนื อเรื
ง
ื ภาพประเภท
ลักษณะหนังสอ
ถ่ายทอดประสบการณ์
1. ลักษณะหนังสือภาพสร ้างเสริมภาพนึ ก
สาหร ับเด็ก
่ ขนาดใหญ่
- ควรเป็ นภาพถ่ายหรือภาพเหมือนทีมี
ไม่ควรมีรายละเอียด
่ ในภาพ สีควรเป็ นสีธรรมชาติ
หรือ ส่ว นประกอบอืนๆ
หรือสีสดใสเหมือน
จริง ในหนังสือภาพ หนึ่ งหน้าควรมีภาพเดียว อาจมีชอื่
ภาพขนาดสูง
่ ้เคยชินกับตัวอักษร หรือไม่มี
ประมาณ 1.5 ซม. เพือให
่ ด
ก็ได ้ แต่ทส
ี่ าค ัญทีสุ
2. ลักษณะหนังสือภาพสร ้างความเข้าใจ
ระหว่างเด็ก
- อาจทาได ้โดยรวบรวมภาพเขียนของเด็กไว ้เป็ น
หมวดหมู่และเป็ นเล่ม
่ างๆ
เช่น ภาพสัตว ์ ภาพผลไม้ ดอกไม้ หรือสถานทีต่
เป็ นต ้น หรือเขียนภาพ
่ างๆ ทีเด็
่ กเคยมีประสบการณ์ตรงมาแล ้ว โดยเขียน
สิงต่
ให ้มีลก
ั ษณะคล ้าย
ภาพเขียนของเด็ก คือ มีเส ้นและสีเด่นช ัด แสดงโครง
ร่างภายนอกง่ายๆ
3. หนังสือภาพฝึ กทักษะภาษา
่ ้ควรเป็ นภาพถ่ายหรือเหมือนทีมี
่
- ภาพทีใช
ขนาดโตอย่างน้อย 4-5
้
นิ ว้ ขึนไป
มีเส ้นและสีตด
ั กันเด่นช ัด ในหน้าหนึ่ งควรมี
ภาพเดียว มีชอของ
ื่
่ ้เด็กคุ ้นเคยกับ
ภาพนั้นๆไว ้ด ้านล่างของภาพ เพือให
่
ตัวอักษร และจาชือภาพ
่
ในลักษณะเชือมโยง
กับตัวอักษรไปด ้วย ภาพต่างๆ อาจ
จัดไว ้เป็ นประเภท
่ ้า สัตว ์สองเท ้า แมลง ไม้ดอก ไม้ผล
เช่น ชุดสัตว ์สีเท
่
4. หนังสือภาพเพือให้
ประสบการณ์ใหม่แก่
เด็ก
่ างๆ
- ควรเป็ นภาพถ่ายหรือภาพเหมือนของสิงต่
่ กมี
ทีเด็
ประสบการณ์โดยตรงมาแล ้ว แต่ในบางกรณี ทต
ี่ ้องการ
จะส่งเสริม
่ อยู
่ ่
จิน ตนาการหรือ จ าเป็ นต อ้ งให เ้ ด็ กได เ้ รีย นรู ้ในสิงที
ห่างไกล หาได ้ยาก มี
อัน ตราย หรือขนาดใหญ่เกินไป จาเป็ นตอ้ งใช ้หนั งสือ
่ ้
ภาพเป็ นสือให
่ ้ควรเป็ นภาพถ่าย หรือ
ประสบการณ์ทางออ้ ม ภาพทีใช
ภาพเหมือน
5. หนังสือภาพส่งเสริมการเขียนและการ
แสดงออก
่ ้ควรเป็ นภาพของสิงที
่ เด็
่ กเคยมี
- ภาพทีใช
ประสบการณ์ตรงมาแล ้ว
่ เด็
่ กคุ ้นเคยอยู่แล ้ว และอาจทาได ้ 3 ลักษณะ
หรือสิงที
คือ (1) หนังสือภาพ
่ ส่วนขาด
โครงร่างสมบู รณ์ (2) หนังสือภาพทีมี
หายไปอาจเป็ นเส้นหรือสี
่
่
ขาดหายไปบางส่วน เพือให้
เด็กเพิมเติ
มหรือ
ตกแต่งภาพให้สมบู รณ์ (3)
่ เส้นหรือสีให้บางส่วน นอกนัน
้
หนังสือภาพทีมี
่
ลักษณะหนังสือภาพประเภท
ถ่ายทอดมโนมติ
ื ภาพถ่ายมโนมติ
ลักษณะหนังสอ
จะต ้อง
สอดคล ้องกับลักษณะของ
ความสามารถทางการรับรู ้ทางตาและความคิดของ
เด็ก กล่าวคือ ควรเป็ น
้ นชด
ั แสดงโครง
ภาพทีม
่ ข
ี นาดใหญ่
มีเสนเด่
ร่างกายภายนอก ไม่ม ี
ี วรเป็ นสส
ี ดใด
รายละเอียดภายในมากเกินไป สค
ื ภาพ อาจ
ภาพในหนังสอ
เป็ นภาพถ่าย ภาพเขียน ภาพลายเสน้ การ์ตน
ู แต่
สว่ นประกอบทีเ่ ป็ นมโมติ
1. หนังสือภาพแสดงส่วนประกอบหลักของมโน
มติ
ภาพที่จะแสดงส่ ว นประกอบหลัก ของมโนมติใ ด
จะต ้องเป็ นภาพของ
่ ้นๆ ในลักษณะท่าทางและอยู่ในสิงแวดล
่
สิงนั
้อมต่างๆกัน
ไป แต่
่ าคัญจะตอ้ งเด่นชดั มีขนาดและรูปร่าง
ส่วนประกอบทีส
เหมือนกัน
เช่น จะถ่า ยทอดมโนมติว่า แมวมีส ขา
ี่ มีหนวดยาว
จะต ้องมีภาพแมว
หลายๆ ตัว มีสี ขนาด แสดงท่าทางแตกต่างกันไป แต่
ภาพแมวทุกตัวต ้องมี
2. หนังสือภาพแสดงการจัด
จาแนกประเภท
ค ว ร เ ป็ น ภ า พ ที่ จ ะ ใ ห ้ เ ด็ ก
จาแนกประเภท
หรือ จั ด ห มว ด ห มู่ ค วร เ ป็ น
่
ภาพทีมี
ส่วนประกอบไม่มากนัก เช่น มี
สีแตกต่าง
กัน มีค วามสู ง แตกต่ า งกัน มี
ขนาด
แตกต่ า งกัน ชุด ละหนึ่ งหรือ
สองอย่าง
การจัด ภาพควรจะมี ท ้งภาพ
ั
3. หนังสือภาพแสดงมโนมติทางคณิ ตศาสตร ์
เช่น หนังสือภาพฝึ กเปรียบเทียบปริมาณมาก-น้อย
สูง-ตา่ ใหญ่-เล็ก
หนา-บาง และการนับจานวน 1-10 เป็ นต ้น
ลักษณะหนังสือภาพประเภท
นิ ทาน
1. ประเภทของภาพ
้ นหนั งสอ
ื ภาพสาหรับเด็กและผู ้ใหญ่
ภาพทีน
่ ย
ิ มใชเป็
ได ้ดี ได ้แก่ ภาพ
การ์ตน
ู เพราะสามารถเน ้นจุดเด่น เฉพาะสว่ นทีต
่ ้องการ
แสดงความหมายได ้ดี
2. ขนาดของภาพและลักษณะของเส้น
้
ลักษณะของภาพทีใ่ ชแสดงความหมายและเนื
อ
้ เรือ
่ ง
ของนิทานทีม
่ ค
ี วาม
ั พันธ์กน
ต่อเนือ
่ งสม
ั นัน
้ ขนาดของภาพจะต ้องมีขนาดใหญ่
อย่างน ้อยหน ้ากระดาษ
15x20 ซม.ลงมา ควรมีภาพเต็มหน ้าเพียงภาพเดียว ควร
้
เป็ นเสนหยิ
ก ใชส้ เี ข ้มและ
3. โครงร่างและสีของภาพ
โครงร่างของภาพทุกภาพควรเป็ นโครงร่างง่ายๆ
มี
ส่วนประกอบของภาพน้อย
แสดงความหมายสาคัญเพียงความหมายเดียวต่อหนึ่ งภาพ
ลักษณะโครงร่างของภาพ
่
่ างกัน จะต ้องมี
ทีแสดงให
้รู ้ว่าเป็ นตัวละครเดียวกันในสถานทีต่
ลักษณะเหมือนกัน
เช่น โครงร่างแสดงใบหน้าตรง ก็ต ้องตรงหรือเกือบตรงในทุก
่ นตัวละครนั้น
ภาพทีเป็
่ ยวกัน โดยใช ้สีเดียวกันโดยตลอดก็
หรือแสดงความเป็ นสิงเดี
ได ้
4. การแสดงเหตุผล
5. การแสดงตาแหน่ งใกล้และไกล
่ ไ่ กลมี
เด็กปฐมวัยยังไม่เข ้าใจลักษณะภาพทีอยู
่ ่
ขนาดเล็ก ภาพสิงที
่ นในภาพ คือ ความจริง
อยู่ใกล ้มีขนาดใหญ่ ขนาดทีเห็
ในความคิดของเด็ก
่
ดังนั้น ภาพนิ ทานสาหร ับเด็กปฐมวัย จึงควรหลีกเลียง
่
การเสนอภาพทีมี
ลักษณะแสดงตาแหน่ งใกล ้และไกล โดยเฉพาะ
ความสัมพันธ ์ระหว่างภาพ
่ ควรมีขนาดเท่ากันตลอดเรือง
่
ของตัวเอกในเรือง
การทาหนังสือภาพสาหร ับ
เด็กปฐมวัย
• หนังสือภาพทาเองสาหร ับเด็กปฐมวัย
ื ภาพจากถ่าย
1. การทาหนังสอ
ื ภาพโดยภาพเขียนหรือภาพ
2. ทาหนังสอ
การ์ตน
ู
ื ภาพโดยใชภาพตรายางหรื
้
3. ทาหนังสอ
อ
เทมเพลต
ื ภาพตัดปะ
4. หนังสอ
ื ภาพแสดงพืน
5. หนังสอ
้ ผิว
• การเข้าเล่มหนังสือภาพสาหร ับเด็กปฐมวัย
1. การเข ้าเล่มหนังสือภาพโดยเย็บด ้วยด ้าย
่
2. การเข ้าเล่มหนังสือภาพโดยวิธเี ลือยสั
น
3. การเข ้าเล่มหนังสือภาพโดยใช ้ห่วงเหล็ก
4. การเข ้าเล่มหนังสือภาพโดยติดกาว
• การเลือกและการใช้หนังสือภาพสาหร ับเด็ก
ปฐมวัย
1. หนังสือภาพสาหร ับเด็กปฐมวัยจะต ้องมีความ
คงทนและปลอดภัย
2. พิจารณาความปลอดภัย โดยเฉพาะสีทเขี
ี่ ยน
ภาพ ควรเลือกภาพที่
่
เขียนด ้วยสีถาวร หรือมีการเคลือบด ้วยพลาสติกยิงดี
และไม่ควรใช ้หนังสือ
่ บเข ้าเล่มด ้วยลวด
ภาพทีเย็
3. หนังสือภาพสาหร ับถ่ายทอดประสบการณ์ควร
่ เด็
่ ก
เป็ นภาพหรือสิงที
คุนเคย
้
5. หนังสือภาพสาหร ับถ่ายทอดประสบการณ์ ควน
่ ่ใน
เป็ นภาพทีอยู
สถานการณ์จริง
่ ้เด็กฝึ กการสังเกตและจาแนก
6. หนังสือภาพสีเพือให
ประเภท ควรเป็ น
ภาพเหมือนใช ้สีสดใส เด็กจะเข ้าใจได ้ง่ายกว่าใช ้ภาพ
ถ่านหรือภาพสีตาม
ธรรมชาติ
่
้
7. หนังสือภาพทีแสดงขั
ี า
นตอนการท
างานหรือวิธท
ของเล่นเพือ่
้ ่
ส่งเสริมความคิดสร ้างสรรค ์แก่เด็ก ควรมีลาดับขันที
ละเอียด ง่ายต่อความ
่ ้เด็กทา
เข ้าใจ โดยไม่ต ้องอ่านหรือฟังคาอธิบายเพือให
่ ก
9. หนังสือภาพถ่ายทอดมโนมติ ควรเป็ นภาพทีเด็
เคยชินและเข ้าใจง่าย
้ อกับจานวน
เช่น ภาพสอนการนับโดยเปรียบเทียบนิ วมื
ขาแมลง เป็ นต ้น
้ั อเรื
้ อง
่
10. หนังสือภาพประเภทนิ ทาน ควรมีทงเนื
และภาพเพ ้อฝัน และ
่
้
แบบสมจริง แต่ให ้เพิมแบบสมจริ
งมากขึนตามอายุ
ของ
เด็ก
่ กมีสว่ น
11. ถ ้าเป็ นไปได ้ ควรเลือกหนังสือภาพทีเด็
ร่วมประกอบ
กิจกรรมได ้ เช่น ระบายสี เติมเส ้น ทายปัญหา เป็ นต ้น
การใช้และการประเมินหนังสือภาพ
สาหร ับเด็กปฐมวัย
ื ภาพไว ้ในมุมหนังสอ
ื หรือห ้องสมุด
1.
จัดหนังสอ
้
ไว ้ให ้เด็กเลือกใชใน
ื ไว ้ในที่
เวลาว่างอย่างเสรี หรืออาจจัดแสดงหนังสอ
เด็กจะมองเห็นได ้ง่าย
เพือ
่ เป็ นการดึงดูดความสนใจ
ื ภาพพร ้อมกัน
2.
กาหนดเวลาให ้เลือกดูหนังสอ
โดยครูอาจเล่านิทาน
หรือสร ้างสถานการณ์ให ้เกิดความสนใจก่อนถึงเวลาดู
ื ภาพ ควรให ้
หนังสอ
เวลาอย่างมากประมาณ 30 นาที
้ งสอ
ื ภาพประกอบการเล่านิทานหรือ
3.
ครูใชหนั
ื
อ่านเรือ
่ งราวในหนังสอ
่
4. จัดสถานการณ์เล่านิ ทานให ้เพือนฟั
ง โดยทุกคน
จะต ้องเลือกภาพที่
่ าเรืองให
่
่
ตนชอบเพือเล่
้เพือนฟั
ง
5. เล่นเกมท ้าทายความสามารถ เช่น ให ้ทาของเล่น
หรือเลียนแบบท่าทาง
ในหนังสือภาพ
การประเมินความเหมาะสมของ
หนังสือภาพ
1. จานวนความถีท
่ เี่ ด็กเลือกใช ้
้ ละครัง้
2. ระยะเวลาในการเลือกใชแต่
3. ความถูกต ้องในการแปลความหมาย
4. ความหลากหลายของเรือ
่ งทีเ่ ด็กสร ้างขึน
้
ื ภาพนัน
จากหนังสอ
้ ๆ
5. ความคิดเห็นโดยตรงของเด็กเกีย
่ วกับ
ื ภาพนัน
หนังสอ
้ ๆ