แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม

Download Report

Transcript แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม

แผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อุตสาหกรรม
(พ.ศ. 2555-2559)
สานักโลจิสติกส์ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
กระทรวงอุตสาหกรรม
เหตุผลและความจาเป็ น
New Information Technology
& Communication
AEC/ FTA
Global Warming
Concern
Consumer Behavior
Changes
Logistics and
Supply Chain Trends
Facilitation for
Transportation and Trade
Logistics vs. Supply Chain
ฝา่ ยจัดซือ้
ฝา่ ยวางแผน
ฝา่ ยขาย/
การตลาด
Movement of Goods, Information Flows,
Transfer of Title, Purchase and Sale
ฝา่ ยผลิต / โรงงาน
ฝา่ ยบริการลูกค้า/ คลังสินค้า/
จัดส่ง
กิจกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Activities)
Customer service and support
Sourcing and Procurement
Transportation
Logistics communication and
order processing
Facilities site selection,
warehousing, and storage
Demand forecasting and
planning
Inventory management
Material handling and
packaging
Reverse logistics
5
รายปี
ข้อมูล และ
ฐานข้อมูล
ตัวชี้วดั
แผนแม่บท
โลจิ สติ กส์
I/O Table
สศช.
ราย 10 ปี
Industrial Census
สสช.
ต้นทุนการถือครอง
สิ นค้าคงคลัง
KPI ต้นทุน/GDP
ลดลงร้อยละ 15
ใน 5 ปี
KPI เพิ่ ม
ประสิ ทธิ ภาพ 3 มิ ติ
ร้อยละ 10 ใน 5 ปี
หน่ วยงาน
รับผิดชอบ
หน่ วยงาน
ภาครัฐอื่นๆ
Internal Logistics
External Logistics
อื่นๆ
กระทรวง
อุตสาหกรรม
ต้นทุนค่าขนส่ง
ต้นทุนบริ หารจัดการ
ภาคเกษตรกรรม
ภาคการค้า
และบริ การ
Professional Manufacturing
Logistics Management
ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็ นมืออาชีพ
ด้านโลจิ สติ กส์ฯ ภาคอุตสาหกรรม
LSIC
กพร.
ราย 5 ปี
ภาคอุตสาหกรรม
เป็ น 1 ในร้อยละ 3
เป้ าหมาย
ประเทศ
ลดลง
ร้อยละ 3
ใน 5 ปี
รง. 8, รง. 9
สศอ.
สานันโลจิ สติ กส์
กพร.
หน่ วยงานอื่น
ภายใน อก.
- Implement Logistics Clinic Projects Nation Wide
- Intensive Capacity Building for Professional Development
- Best Practice, Lessons Learned & Benchmarks
for Continuous Improvement
- Utilize IT & Innovation for Business Efficiency &
Green Logistics
Supply Chain Collaboration and Networking
ยุทธศาสตร์การส่งเสริ มให้เกิ ดความร่วมมือ
และการเชื่อมโยงฯ ของภาคอุตสาหกรรม
- Create Opportunity & Incentives for Collaboration
- Create Tools for Information Sharing & Activities Integration
- Develop Standards for Business Networking Promotion
National Supply Chain Competitiveness
Enabling Factors
ยุทธศาสตร์การสนับสนุนให้เกิ ดปั จจัยแวดล้อม
ที่เอื้อต่อการเพิ่ มขีดความสามารถฯ
- Link Farmers & SMEs to Regional Supply Chain
- Facilitate Trade & Transportation for Business Promotion
- Strengthen LSP for Customer Services Improvement
การแยกแยะที่มาของตัวชี้วดั แผนแม่บทการพัฒนา
ระบบโลจิ สติ กส์อตุ สาหกรรม (พ.ศ. 2555 – 2559)
ดาเนิ นการเอง
ภาคเอกชน
ผ่านสภา, สมาคม
ต่างๆ
8
Key to Success
9
ร่างแผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์อตุ สาหกรรม
(พ.ศ. 2555 – 2559)
อุตสาหกรรมไทยมีระบบบริ หารจัดการโลจิ สติ กส์และโซ่อปุ ทาน
ที่มีประสิ ทธิ ภาพ และมีความร่วมมือทางธุรกิ จที่เข้มแข็งตลอด
โซ่อปุ ทาน สามารถแข่งขันได้อย่างยังยื
่ นในระดับสากล
1. เพือ่ สร้างความเป็ นมืออาชีพในการจัดการด้านโลจิสติกส์ของผูป้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรม (Business Logistics Professional)
2. เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขันระดับโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรมไทย (Supply Chain Competitiveness)
1. การสร้างความเป็ นมืออาชีพ
ด้านการจัดการโลจิสติกส์ในสถาน
ประกอบการของภาคอุตสาหกรรม
1.1 ให้คาปรึกษาเชิงลึก ให้ครอบคลุมทุก
อุตสาหกรรมในทุกภูมภิ าค
1.2 พัฒนาบุคลากรด้านการจัดการโลจิสติกส์ใน
ภาคอุตสาหกรรม ให้มคี วามเป็ นมืออาชีพทัง้ ใน
เชิงปริมาณ และคุณภาพ
1.3 สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและนวัตกรรมด้านการจัดการโลจิสติกส์
เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการทาธุรกิจ และการรักษา
คุณภาพสิง่ แวดล้อม
1.4 ส่งเสริมการใช้แนวทางและเครื่องมือการจัดการ
ทีด่ เี พื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
3. การสนับสนุนให้เกิดปจั จัยแวดล้อมทีเ่ อือ้
ต่อการเพิม่ ขีดความสามารถการแข่งขันของ
โซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเป้าหมาย
2.การส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ
และการเชือ่ มโยงระหว่างหน่วยธุรกิจ
ในโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม
3.1 สร้างความเข้มแข็งให้ภาคเกษตรกรรม และ
SMEs เชื่อมประสานเข้าสูร่ ะบบโซ่อปุ ทานของ
อุตสาหกรรมเป้าหมายอย่างยังยื
่ น
2.1 ส่งเสริมให้เกิดโอกาสและแรงจูงใจสาหรับ
การสร้างความร่วมมือระหว่างผูป้ ระกอบการ
ในโซ่อุปทาน
3.2 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบอานวย
ความสะดวกทางการค้าและการขนส่ง บน
เส้นทางการค้าของอุตสาหกรรมเป้าหมาย
2.2 สร้างเครื่องมือและส่งเสริมกลไกให้เกิด
กระบวนการแลกเปลีย่ นข้อมูลระหว่าง
ผูป้ ระกอบการในโซ่อุปทาน
3.3 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาผูใ้ ห้บริการ
โลจิสติกส์ทเ่ี ข้มแข็งบนเส้นทางการค้าของ
อุตสาหกรรมเป้าหมายเชือ่ มโยงถึงลูกค้า
ปลายทาง
2.3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบงานมาตรฐานของ
โครงข่ายธุรกิจระดับโซ่อุปทานทัง้ ภายใน
ประเทศและระหว่างประเทศ
(ร่าง) แผนแม่บทการพัฒนา (2555-2559)
10
ยุทธศาสตร์ที ่ 1 : การสร้างความเป็ นมืออาชีพด้านการจัดการ
โลจิสติกส์ในสถานประกอบการของภาคอุตสาหกรรม
► กลยุทธ์ที่ 1.1 ให้คาปรึกษาเชิงลึกให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรมในทุกภูมิภาค
⌐ การพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายเพือ่ เตรียมพร้อมสูส่ ากล
⌐ การยกระดับศักยภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานของกลุม่ วิสาหกิจผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนสินค้าอุตสาหกรรมเพือ่ รองรับ
ฐานการผลิต AEC
⌐ การพัฒนาระบบการจัดการโลจิสติกส์ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมเพือ่ การส่งออกกลุม่ ประเทศเพื่อนบ้าน
⌐ การ Workshop สัญจรขยายผลความรูด้ า้ นโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภาคอุตสาหกรรมเพือ่ ความเข้มแข็งทางธุรกิจ
► กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนาบุคลากรด้านการจัดการโลจิสติกส์ในภาค อุตสาหกรรมให้มีความเป็ นมืออาชีพทัง้ ในเชิง
ปริมาณและคุณภาพ
⌐ การสร้างนักจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนมืออาชีพระดับสากล
⌐ การสร้างทีป่ รึกษาด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม
⌐ การจัดทาระบบ e-learning ด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเพือ่ ขยายผลรองรับ AEC
⌐ การเสริมสร้างความรูด้ า้ นโลจิสติกส์อุตสาหกรรมสาหรับบุคลากรภาคอุตสาหกรรมและบุคคลทัวไป
่
11
ยุทธศาสตร์ที ่ 1 : การสร้างความเป็ นมืออาชีพด้านการจัดการ
โลจิสติกส์ในสถานประกอบการของภาคอุตสาหกรรม
► กลยุทธ์ที่ 1.3 สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมด้านการจัดการโลจิสติกส์เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทาธุรกิจ และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
⌐ การส่งเสริมประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการและบูรณาการข้อมูลเพือ่ สร้างขีดความสามารถการ
แข่งขันในระดับสากล
⌐ การจัดทา Best Practice ด้าน Green Logistics และ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเป้าหมายเพือ่ การ
ส่งออก
► กลยุทธ์ที่ 1.4 ส่งเสริมการใช้แนวทางและเครื่องมือการจัดการที่ดีเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง
⌐ การตรวจประเมินการจัดการโลจิสติ กิ ส์ภาคอุตสาหกรรมเพือ่ เชิดชูเกียรติ เป็ นแบบอย่างทีด่ ี (Best Practice)
⌐ ศูนย์บริการข้อมูลโลจิสติกส์ (Logistics Service Information Center : LSIC) เพือ่ สร้างขีดความสามารถการแข่งขัน
ภาคอุตสาหกรรม
⌐ การจัดทาเครือ่ งมือพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานอย่างต่อเนื่องด้วยตนเองเพือ่ เสริมสร้างศักยภาพทางธุรกิจ
(Self Continuous Improvement)
12
ยุทธศาสตร์ที ่ 2 :การส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและการเชือ่ มโยง
ระหว่างหน่ วยธุรกิจในโซ่อปุ ทานของภาคอุตสาหกรรม
► กลยุทธ์ที่ 2.1 ส่งเสริมให้เกิดโอกาสและแรงจูงใจสาหรับการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการในโซ่
อุปทาน
⌐ การสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรในโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเป้าหมายเพือ่ การส่งมอบสินค้าคุณภาพและลดต้นทุน
⌐ การพัฒนาระบบสนับสนุนการเชือ่ มโยงข้อมูลและเครือข่ายการขนส่งเทีย่ วกลับ
► กลยุทธ์ที่ 2.2 สร้างเครื่องมือและส่งเสริมกลไกให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างผู้ประกอบการในโซ่
อุปทาน
⌐ การส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเชือ่ มโยงธุรกรรมระหว่างองค์กรในโซ่อุปทาน
► กลยุทธ์ที่ 2.3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบงานมาตรฐานของโครงข่ายธุรกิจระดับโซ่อปุ ทาน ทัง้ ภายในประเทศและ
ระหว่างประเทศ
⌐ การพัฒนาและยกระดับระบบความน่าเชือ่ ถือด้านสุขอนามัยของสินค้าอุตสาหกรรมเพือ่ ขยายตลาดเอเชียและสหภาพ
ยุโรป
⌐ การจัดทาและส่งเสริมระบบมาตรฐานอุปกรณ์และระบบงานมาตรฐานการจัดการด้านโลจิสติกส์ของโซ่อุปทาน
ภาคอุตสาหกรรม
⌐ การส่งเสริมมาตรฐานความปลอดภัยในโซ่อุปทานของสินค้าอุตสาหกรรมจากผูก้ อ่ การร้ายภัยพิบตั ิ หรือโจรกรรม
13
ยุทธศาสตร์ที ่ 3 :การสนับสนุนให้เกิดปัจจัยแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเพิม่
ขีดความสามารถการแข่งขันของโซ่อปุ ทานในอุตสาหกรรมเป้ าหมาย
► กลยุทธ์ที่ 3.1 สร้างความเข้มแข็งให้ภาคเกษตรกรรม และ SMEs เชื่อมประสานเข้าสู่ระบบโซ่อปุ ทานของ
อุตสาหกรรมเป้ าหมายอย่างยังยื
่ น
⌐ การจัดทาระบบสนับสนุนโซ่อุปทานอุตสาหกรรมการผลิตทีเ่ ชือ่ มโยงภาคเกษตรกรรมและ SMEs สูส่ ากล เช่น cool
chain
► กลยุทธ์ที่ 3.2 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาระบบอานวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่ง บนเส้นทางการค้า
ของอุตสาหกรรมเป้ าหมาย
⌐ การสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมพัฒนาและใช้ประโยชน์ระบบอานวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่งระหว่าง
ประเทศ
⌐ การพัฒนาระบบการออกหนังสือรับรองการนาเข้าและส่งออกแบบอิเล็กทรอนิกส์สาหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย
เพือ่ รองรับการเชือ่ มโยงกับระบบ National Single Window
► กลยุทธ์ที่ 3.3 สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่เข้มแข็งบนเส้นทางการค้าของอุตสาหกรรม
เป้ าหมายเชื่อมโยงถึงลูกค้าปลายทาง
⌐ มาตรการสนับสนุนและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานรับผิดชอบ เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์
ทัง้ ในและต่างประเทศ
14
ขอบคุณครับ
http://www.logistics.go.th
Youtube = logistics dpim