กระดูกนิ้วเท้า - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

Download Report

Transcript กระดูกนิ้วเท้า - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

การเปรียบเทียบรอยฝ่ าเท้ าเพือ่ การพิสูจน์ เอกลักษณ์ บุคคล
The comparison of barefoot impressions for
individualization.
นางสาวกาญจณา สุ ขาบูรณ์
อาจารย์ สาขานิติศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
หัวข้ อศึกษา
• การพิสูจน์ เอกลักษณ์ ด้วยรอยฝ่ าเท้ า
• การเปรียบเทียบคุณลักษณะเฉพาะของรอยฝ่ าเท้ าในเชิง
นิติวทิ ยาศาสตร์
• นาเสนอวิธีการเปรียบเทียบรอยฝ่ าเท้ าด้ วยวิธีการวัด
แนวทางการศึกษาเรื่องฝ่ าเท้ า
1. ด้ านนิติวทิ ยาศาสตร์
2. ด้ านอืน่ ๆ
- ด้ านกายวิภาคศาสตร์
- ด้ านมานุษยวิทยา
- ด้ านการแพทย์ กายภาพบาบัด ฯลฯ
- ด้ านอุตสาหกรรมการผลิตรองเท้ า
รอยฝ่ าเท้ ามีความสาคัญอย่ างไร ????
ความสาคัญของรอยฝ่ าเท้ า
- พยานหลักฐานที่พบเป็ นลาดับแรกๆในสถานทีเ่ กิดเหตุ
และเป็ นพยานสาคัญในทีเ่ กิดเหตุ (Silent witness)
- ตรวจพบได้ ในสถานทีเ่ กิดเหตุเกือบทุกประเภท
- มีความเป็ นเอกลักษณ์ (Uniqueness) และไม่ เปลีย่ นแปลง
(Permanence) เช่ นเดียวกับรอยลายนิว้ มือ
(ต่ อ) ความสาคัญของรอยฝ่ าเท้ า
- คนร้ า ยยัง ไม่ ท ราบเรื่ อ งการตรวจพิสู จ น์ เ อกลัก ษณ์
ด้ วยรอยฝ่ าเท้ าและมิได้ มีความระมัดระวังเรื่ องการเกิด
รอยเท้ า
- เป็ นพยานหลักฐานสาคัญในกระบวนการพิจารณาคดี
ในชั้นศาลเชื่อมโยงไปถึงตัวบุคคลผู้เป็ นเจ้ าของรอยเท้ า
ลักษณะเฉพาะต่ างๆที่ปรากฏ
บนรอยฝ่ าเท้ า
มีหลากหลายรูปแบบ !!!!!!
คุณลักษณะเฉพาะอันหลากหลายของรอยฝ่ าเท้ า
-
รู ปร่ าง ขนาดของเท้ า
ระยะห่ างระหว่ างนิว้ เท้ า
ความกว้ างของฝ่ าเท้ าและความยาวเท้ า
รอยแตกของส้ นเท้ า รอยพับย่ นบนฝ่ าเท้ า
รอยแผลเป็ นหรือบาดแผลจากการประสบอุบัตเิ หตุ
แสดงลักษณะเฉพาะตัวไปยังบุคคลผู้เป็ นเจ้ าของรอยเท้ า
รอยพับย่ นบริเวณฝ่ าเท้ า (Crease mark)
Pits corns
& crack marks
Deformity
ข้ อมูลทีไ่ ด้ จากรอยฝ่ าเท้ า
–
–
–
–
–
ท่ าทางการเดิน
ความสู งของบุคคลผู้เป็ นเจ้ าของรอยเท้ า
ความยาวขา
น้าหนัก
ความสั มพันธ์ ระหว่ างการเคลือ่ นไหวของเท้ า
ข้ อเท้ า ขาและร่ างกาย
รอยเท้ า..มีประโยชน์ ต่องานด้ านนิติวทิ ยาศาสตร์
แต่ ..ทาไม???..ไม่ มีการนาไปใช้
ประโยชน์
ปัญหาสาคัญ
- ขาดการให้ ความสนใจ
- ขาดความมุ่งมั่นในการตรวจเก็บ
- ขาดการศึกษา
- ขาดการสนับสนุน
- ขาดประสบการณ์
ความสาคัญของรอยเท้ า..
กับงานด้ านนิติวทิ ยาศาสตร์
นาไปส่ ู ..การศึกษาและวิจัย
วัตถุประสงค์ การวิจยั
1. เพือ่ หาวิธีการพิสูจน์ เอกลักษณ์ ของรอยฝ่ าเท้ า
2. เพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบรอยฝ่ าเท้ าของบุคคลคน
เดียวกันในท่ ายืน เดินและ วิง่
3. เพือ่ หาวิธีการใหม่ ๆ ในการพิสูจน์ เอกลักษณ์
บุคคลเชื่อมโยงถึงตัวบุคคลผู้กระทาความผิด
สมมติฐานของการวิจัย
1. วิธีการทาบรอย(tracing)สามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ของบุคคลได้
2. รอยฝ่ าเท้ าของบุคคลคนเดียวกันทีเ่ กิดจากท่ าทางการยืน เดินและวิง่ มีความ
แตกต่ างกัน
3. วิธีการวัดความยาวจากปลายส้ นเท้ าไปยังปลายนิว้ เท้ าทั้งห้ าและมุมระหว่ างเส้ น
ดังกล่าวสามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ได้
4. วิธีการวัดความยาวจากปลายนิว้ เท้ าที่ 1 ไปยังปลายนิว้ เท้ าทั้งสี่ และมุมระหว่ าง
เส้ นดังกล่าวสามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ได้
5. รอยฝ่ าเท้ าซ้ ายและขวาของบุคคลคนเดียวกันมีความแตกต่ างกัน
ทฤษฎีและงานวิจัยต่ างๆที่เกีย่ วข้ อง
ทฤษฎีการเกิดรอยลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ
ฝ่ าเท้ าในสถานทีเ่ กิดเหตุ
1. รอยประทับที่มองเห็นด้ วยตาเปล่า (Patent Print)
แบบ 2 มิติ เช่ น
รอยฝ่ าเท้ าเปื้ อนคราบโลหิต
แบบ 3 มิติ เช่ น
รอยเท้ าบนดินเหนียว
(ต่ อ) ทฤษฎีการเกิดรอยลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าใน
สถานทีเ่ กิดเหตุ
2. รอยประทับที่มองไม่ เห็นด้ วยตาเปล่าหรือรอย
แฝง (Latent print)
ชนิดของรอยฝ่ าเท้ า
• รอยฝ่ าเท้ าที่มีลายเส้ น
• รอยฝ่ าเท้ าที่ไม่ มีลายเส้ น
• รอยฝ่ าเท้ าที่มีลายเส้ น
- ตรวจพิสูจน์ รอยลายเส้ น
- ตรวจพิสูจน์ ทางกายภาพ
- ตรวจพิสูจน์ ด้วยการวัด
• รอยฝ่ าเท้ าที่ไม่ มีลายเส้ น
- ตรวจพิสูจน์ ทางกายภาพ
- ตรวจพิสูจน์ ด้วยการวัด
รู ปแบบของรอยเท้ าทีต่ รวจพบในสถานทีเ่ กิดเหตุ
1. รอยเท้ าเปล่า (naked foot)
2. รอยเท้ าทีส่ วมถุงเท้ า (sock-clad foot)
3. รอยเท้ าทีป่ รากฏอยู่บนพืน้ ของรองเท้ าทีส่ วมใส่
(impressions on the inner surface of shoes)
ตัวอย่ างรูปแบบของรอยเท้ าทีต่ รวจพบในสถานทีเ่ กิดเหตุ
รอยเท้ าจากการสวมถุงเท้ าเปื้ อนคราบโลหิต
รองเท้ าทีเ่ กิดการกดทับจนยุบตัวเป็ นรู ปฝ่ าเท้ า
หน่ วยงานตรวจพิสูจน์ รอยฝ่ าเท้ าในต่ างประเทศ
- สานักงานตารวจมณฑลโอซาก้ าในประเทศญีป่ ุ่ น ( Osaka
Prefectural Police Headquarter) แผนกรอยเท้ าและ
หน่ วยงานกลางของประเทศญีป่ ุ่ น
- หน่ วยงานด้ านการสื บสวนสอบสวนกลางของประเทศ
สหรัฐอเมริกา Federal Bureau of Investigation (FBI)
- สถาบันนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ แผนกการตรวจพิสูจน์ แห่ งประเทศ
แคนาดา
ทฤษฎีดา้ นกายวิภาคศาสตร์ส่วนเท้า
กระดูกเท้ าประกอบไปด้ วย
1. กระดูกของปลายขา 2 ชิ้น คือ Tibia และ Fibula
2. กระดูกเท้ า 26 ชิ้น คือ
- กระดูกข้ อเท้ า (tarsus) 7 ชิ้น
- กระดูกฝ่ าเท้ า (metatarsus) 5 ชิ้น
- กระดูกนิว้ เท้ า (phalanx) 14 ชิ้น
กระดูกของปลายขา 2 ชิ้น คือ Tibia และ Fibula
กระดูกเท้ าทั้ง 26 ชิ้น
กายวิภาคศาสตร์ ส่วนเท้ า
รู ปลักษณ์ สรีระของเท้ า
1. แบบเท้ าแบน (Flat Foot)
2. แบบอุ้งเท้ าสู ง (High Arch)
3. แบบปกติ (Neutral Arch)
บริเวณส่ วนต่ างๆ ของรอยฝ่ าเท้ า
งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
L. M. Robbins (1978)
“ The Individuality of Human Footprints.”
ศึ กษาวิจัย ความเป็ นเอกลักษณ์ ของรอยฝ่ าเท้ า ของ
มนุษย์ สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ ในเมือง Kentucky USA
ถือเป็ นการเริ่ มต้ นศึ กษาเรื่ องรอยฝ่ าเท้ าซึ่ ง ช่ วยในการ
คาดคะเนความสู ง นา้ หนัก เพศ และอายุของแต่ ละคน
Robert B. Kennedy (1996)
“Uniqueness of bare feet and its use as a
possible means of identification.”
“ Statistical analysis of barefoot impressions.”
ศึกษาวิจัยลักษณะเฉพาะของรอยฝ่ าเท้ าจานวน
4,000 รอย โดยใช้ วิธีการวัดทั้งหมด 19 รู ปแบบและ
วิธี ก ารทาบรอย เพื่อ ศึ ก ษาความเป็ นไปได้ ใ นการ
นาไปใช้ พสิ ู จน์ เอกลักษณ์ บุคคล
Kewal Krishan (2007)
“Individualizing
Characteristics of Footprints in
Gujjars of North India: Forensic Aspects “
ศึกษาวิจัย คุณลักษณะเฉพาะของรอยฝ่ าเท้ าภายใต้
หลักเกณฑ์ ทางนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อนาไปใช้ ในการ
พิสูจน์ เอกลักษณ์ บุคคลและการคัดแยก :
(กรณีศึกษาประชากรชาวเมือง Gujjars ทางภาคเหนือของอินเดีย)
Gregory E. Laskowski and Vernon L. Kyle (1987)
“Barefoot Impressions-A Preliminary Study of
Identification Characteristics and Population
Frequency of their Morphological Features”
การศึกษาวิจัยเบือ้ งต้ นเกีย่ วกับลักษณะเฉพาะ
และอัตราการเกิดขึน้ ของลักษณะทางกายภาพบน
รอยพิมพ์ฝ่าเท้ าของมนุษย์
วิธีดาเนินการวิจัย
กลุ่มตัวอย่ าง
คั ด เลื อ กรอยพิ ม พ์ ฝ่ าเท้ า ที่ มี คุ ณ ภาพดี แ ละมี ค วามชั ด เจน จาก
นั ก ศึ ก ษาชายที่ มี อ ายุ ร ะหว่ า ง 18-25
ปี ในสาขาวิ ช าการจั ด การ
อุตสาหกรรม คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุ วรรณภูมิศูนย์ วาสุ กรีจานวน 90คู่
เครื่องมือในการวิจัย
1. อุปกรณ์ สาหรับทาความสะอาด
2. อุปกรณ์ สาหรับพิมพ์ เท้ า
3. อุปกรณ์ สาหรับการเก็บข้ อมูลและวัดรอยเท้ า
วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล
- ทาความสะอาดเท้ า
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ แนะนาและสาธิตวิธีการขั้นตอนการพิมพ์เท้ า
- พิมพ์เท้ าในท่ ายืน เดินและวิง่
วิธีการเปรียบเทียบรอยฝ่ าเท้ า
1. วิธีการทาบรอยและพิจารณาลักษณะ
ทางกายภาพ
2. วิธีการวัด
วิธีการทาบรอยและพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
1) จานวนรอยโค้ งหยักบนแนวนิว้ เท้ า(Humps)
2) จานวนรอยข้ อนิว้ ทีป่ รากฏในรอยพิมพ์ฝ่าเท้ าซ้ ายและเท้ าขวา
(Phalange Marks)
3) รู ปแบบของรอยพิมพ์ ฝ่าเท้ าทีเ่ ป็ นแบบแบนราบ (Flat Foot)
4) จานวนรอยพิมพ์ฝ่าเท้ าทีไ่ ม่ ปรากฏรอยนิว้ เท้ าที่ 5
(Missing 5thtoe)
5) รู ปแบบความยาวของนิว้ เท้ า (Lengths of toes pattern)
ภาพแสดงรอยข้ อนิว้ เท้ า (Phalange Marks)
และรอยโค้ งหยักบนแนวนิว้ เท้ า (Humps)
ภาพแสดงรอยพิมพ์เท้ าแบบแบนราบ Flat-foot
ภาพแสดงรอยข้ อนิว้ ที่ 1 และ รอยนิว้ เท้ าที่ 5 ทีข่ าดหายไป
Phalange
Marks
Missing
5th toe
รู ปแบบความยาวของนิว้ เท้ า (Lengths of toes pattern)
T1
T2
T3
T1 >
(the
T2 >
(the
T3 >
(the
T1 =
(the
T2
= T-type
tibialis-type)
T1
= F-type
fibularis-type)
T1 andT2 = M-type
midularis-type)
T2
= O-type
intermediate-type)
การเปรียบเทียบความแตกต่ างของรอยพิมพ์ฝ่าเท้ าซ้ ายด้ วยการทาบรอย
พิมพ์ฝ่าเท้ าในท่ าทางการยืนกับเดินและท่ าทางการยืนกับการวิ่ง ตามลาดับ
วิธีการวัด
1.
2.
3.
4.
5.
การวัดความยาวของรอยพิมพ์ฝ่าเท้ า (foot length)
การวัดความกว้ างของฝ่ าเท้ า (ball width)
การวัดความกว้ างของส้ นเท้ า (heel width)
การวัดความสู งของส้ นเท้ า (heel length)
การวัดความลึกของโค้ งด้ านในเท้ า (arch width)
วิธีการวัด
6. การวัดความยาวจากปลายส้ นเท้ าไปยังปลายนิว้ เท้ าที่
1, 2, 3, 4 และ 5
7. การวัดมุมระหว่ างเส้ นทีล่ ากจากปลายส้ นเท้ าไปยังปลาย
นิว้ เท้ าที่ 1, 2, 3, 4 และ 5
8. การวัดความยาวจากปลายนิว้ เท้ าที่ 1 ไปยังปลายนิว้ เท้ าที่ 2,
3, 4 และ 5
9. การวัดมุมระหว่ างเส้ นทีล่ ากจากปลายนิว้ เท้ าที่ 1 ไปยังปลาย
นิว้ เท้ าที่ 2, 3, 4 แ ละ 5
แสดงจุดอ้ างอิงในการวัด
แสดงวิธีการวัดชุดที่ 1-5
แสดงวิธีการวัด ชุดที่ 6-9
สถิติทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ผล
-
การแจกแจงความถี่
การแสดงค่ าร้ อยละ
ค่ าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
t-test และ F-test
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
• การพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
• วิธีการวัด
• การทดสอบสมมติฐาน
การพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
1. จานวนรอยโค้ งหยักบนแนวนิว้ เท้ า (Humps)





Three humps L 40%
Two humps L 39%
Four humps L 14%
One hump
L 6%
Five humps L 1%
R
R
R
R
R
36%
38%
14%
8%
4%
การพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
2. จานวนรอยข้ อนิว้ ที่ปรากฏในรอยพิมพ์ฝ่าเท้ าซ้ าย
และเท้ าขวา (Phalange Marks)
•
•
•
•
1
2
3
4
ข้ อนิว้
ข้ อนิว้
ข้ อนิว้
ข้ อนิว้
L 64%
L 17%
L 2%
L 3%
R 63%
R 16%
R 4%
R 2%
การพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
3. รอยพิมพ์ฝ่าเท้ าที่เป็ นแบบแบนราบ (Flat Foot)
Left
6.67%
Right
6.67%
การพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
4. จานวนรอยพิมพ์ฝ่าเท้ าที่ไม่ ปรากฏรอยนิ้วเท้ าที่ 5
(Missing 5th toe)
• Left
4.44%
• Right
5.55%
การพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
5. รูปแบบความยาวของนิว้ เท้ า (Lengths of toes pattern)
T-type (the tibialis-type) left 25.56%
 T1 > T2
F-type (the fibularis-type) left 62.22%
 T2 > T1
O-type (the intermediate- left 12.22%
type).
 T1 = T2
right 17.78%
right 63.33%
right 18.89%
ผลการวิเคราะห์ วธิ ีการวัด พบว่ า
1. การวัดความยาวของรอยพิมพ์ฝ่าเท้ า (foot length)
2. การวัดความกว้ างของฝ่ าเท้ า (ball width)
3. การวัดความกว้ างของส้ นเท้ า (heel width)
4. การวัดความสู งของส้ นเท้ า (heel length)
5. การวัดความลึกของโค้ งด้ านในเท้ า (arch width)
ไม่ มคี วามแตกต่ างกันอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.05
ผลการวิเคราะห์ วธิ ีการวัด พบว่ า
การวัดความยาวของเส้ น T1, T2, T3, T4 และ T5 ทั้ง 5 เส้ น
การวัดมุมระหว่ างเส้ น T1-T2,T2-T3,T3-T4 และT4-T5
มีความแตกต่ างกันอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทีร่ ะดับ 0.05
ผลการวิเคราะห์ วธิ ีการวัด พบว่ า
- การวัดความยาวของเส้ น L1, L2, L3 และ L4
ทั้ง 4 เส้ น และ
- การวัดมุมระหว่ างเส้ น L1-L2, L2-L3
และ L3-L4
มีความแตกต่ างกันอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05
ทดสอบสมมติฐานของการวิจัย
1. วิธีการทาบรอย(tracing) สามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ของบุคคลได้
2. รอยฝ่ าเท้ าของบุคคลคนเดียวกันทีเ่ กิดจากท่ าทางการยืน เดินและวิง่ มีความ
แตกต่ างกัน
3. วิธีการวัดความยาวจากปลายส้ นเท้ าไปยังปลายนิว้ เท้ าทีท่ ้งั ห้ าและมุม
ระหว่ างเส้ นดังกล่าวสามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ได้
4. วิธีการวัดความยาวจากปลายนิว้ เท้ าที่ 1 ไปยังปลายนิว้ เท้ าทั้งสี่ และมุม
ระหว่ างเส้ นดังกล่าวสามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ได้
5. รอยฝ่ าเท้ าซ้ ายและขวาของบุคคลคนเดียวกันมีความแตกต่ างกัน
ผลการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย
ผลการทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐาน
เป็ นไปตาม
สมมติฐาน
สมมติฐานที่ 1
สมมติฐานที่ 2
สมมติฐานที่ 3
สมมติฐานที่ 4
สมมติฐานที่ 5
/
/
/
/
ไม่ เป็ นไปตาม
สมมติฐาน
/
สรุป อภิปรายผล
ลักษณะทางกายภาพของรอยพิมพ์ฝ่าเท้ า
- จานวนรอยโค้ งหยัก 2 เนินและ 3 เนินพบมากทีส่ ุ ดในจานวน
ใกล้ เคียงกัน
- จานวนรอยข้ อนิว้ พบมากทีส่ ุ ดทีน่ ิว้ เท้ าที่ 1
- รู ปแบบรอยพิมพ์ ฝ่าเท้ าแบบแบนราบพบ 6.67%
- รอยพิมพ์ฝ่าเท้ าที่ไม่ ปรากฏรอยนิว้ เท้ าที่ 5 เกิดขึน้ บนเท้ าซ้ าย
4.44% และเท้ าขวา 5.55%
- รู ปแบบความยาวนิว้ เท้ าพบมากทีส่ ุ ดในแบบ F-type (T2>T1)
สรุป ได้ ว่า..
รอยพิมพ์ ฝ่าเท้ าของกลุ่มตัวอย่ างมีความแตกต่ างกัน
สอดคล้ องกับการศึกษาวิจยั ของ Kewal Krishan (2007)
และ Greygory E. Laskowski and Vernon L. Kyle (1987)
ที่พบว่ า.. ลักษณะทางโครงสร้ างของเท้ า เช่ น นิว้ เท้ า สภาพ
ระนาบฝ่ าเท้ า รอยพับย่ น ความผิดปกติของเท้ า รวมถึง
ลักษณะทางกายภาพของรอยพิมพ์ฝ่าเท้ า แสดงคุณลักษณะ
เฉพาะของแต่ ละบุคคลซึ่งมีความแตกต่ างกันอย่ างชัดเจน
สรุปสมมติฐานทั้ง 5 ข้ อ
ข้ อ 1.
วิธีการทาบรอยสามารถระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ของบุคคลได้
ผลของการทดสอบ
เป็ นไปตามสมมติฐาน สอดคล้ องกับวิธีการของ Robert B.Kenedy
ข้ อ 2.
รอยฝ่ าเท้ าของบุคคลคนเดียวกันทีเ่ กิดจากท่ าทางการยืน เดินและ
วิง่ มีความแตกต่ างกัน
ผลของการทดสอบ
เป็ นไปตามสมมติฐาน จากการทาบรอยและการพิจารณาลักษณะทาง
กายภาพปรากฏว่ า รอยพิมพ์ฝ่าเท้ าซ้ ายและขวาในท่ ายืนกับเดิน ยืนกับวิง่ ทาบ
กันไม่ สนิทและมีขนาดไม่ เท่ ากัน สอดคล้องกับงานวิจัยของ Lloyd
Wallington แห่ งมหาวิทยาลัย Northamton และ William J.Bodziak ที่ได้
ทาการศึกษาการเปลีย่ นแปลงความยาวรอยฝ่ าเท้ าของบุคคลเดียวกันทีเ่ กิดจาก
ท่ าทางการยืนและการเคลือ่ นไหวแบบเดินและวิง่
ข้ อ 3.-4.
วิธีการวัดความยาวและมุมจากปลายส้ นเท้ าไปยังปลายนิว้ เท้ า
ทั้ง 5 ระบุความเป็ นเอกลักษณ์ ได้ /การวัดความยาวจากปลายนิว้ เท้ าที่
1 ไปยังปลายนิว้ เท้ าทั้ง 4 ระบุความเป็ นเอกลักษณ์ บุคคลได้
ผลการทดสอบ
สอดคล้ องกับการศึกษาวิจยั ของปรีชา รักษ์ พลเมืองและสิ ทธิ์
เตชะกัมพุช (2530) เรื่อง การวิเคราะห์ ทางสถิติรอยพิมพ์ฝ่าเท้ าคน
ไทย Robert B. Kennedy (1996) แสดงให้ เห็นว่ า การศึกษาวิจยั
ดังกล่ าวต้ องใช้ วธิ ีการวัดประกอบกันหลายๆรู ปแบบ เพือ่ ให้ เกิด
ความถูกต้ องและเป็ นทีย่ อมรับในการนาไปใช้ เพือ่ การพิสูจน์
เอกลักษณ์ บุคคลได้ จริง
ข้ อ 5.
การเปรียบเทียบรอยฝ่ าเท้ าซ้ ายและขวาของบุคคลคน
เดียวกันโดยวิธีการวัดมีความแตกต่ างกัน
ผลการเปรี ยบเที ยบเท้ าซ้ ายและเท้ าขวาด้ วยวิธี การวัด ไม่
เป็ นไปตามสมมติฐาน
แต่ จากการทาบรอยและการพิจารณาลักษณะทางกายภาพ
ไม่ มีรอยพิมพ์ ฝ่าเท้ าซ้ ายและขวาที่ทาบกันได้ สนิทหรื อมีขนาด
เท่ ากัน สอดคล้ องกับงานวิจัยของ Kewal ที่แสดงให้ เห็นความ
แตกต่ างระหว่ างเท้ าซ้ ายและขวาของคนเดียวกัน รวมทั้งฝาแฝด
ไข่ ใบเดียวกันก็ยงั มีรอยเท้ าทีแ่ ตกต่ างกันอีกด้ วย
ดังนั้น..ในการตรวจพิสูจน์ รอยฝ่ าเท้าเพือ่ ทา
การเปรียบเทียบเอกลักษณ์ บุคคลจึงควรใช้ วธิ ีการวัด
ทั้ง 9 รูปแบบหรือมากกว่ านี้ เพือ่ ให้ เกิดความถูกต้ อง
และแม่ นยามากทีส่ ุ ด
คุณค่ าของรอยฝ่ าเท้ า
• พยานหลักฐานโดยตรงจากบุคคลผู้เป็ นเจ้ าของรอยฝ่ าเท้ า
• พยานหลักฐานที่พบเป็ นลาดับแรกและพบได้ ในสถานที่เกิด
เหตุเกือบทุกประเภท
• เป็ นวัตถุพยานทีม่ นี า้ หนักอีกประเภทหนึ่งและศาลยอมรับฟัง
• ตรวจพิสูจน์ ได้ โดยง่ ายไม่ ซับซ้ อน ประหยัดงบประมาณ ใช้
เครื่องมือทีห่ าได้ ง่าย ไม่ ต้องใช้ เทคโนโลยีข้นั สู ง
Do you have any questions?