ศาสนาเต๋า

Download Report

Transcript ศาสนาเต๋า

ศาสนาเตา๋
(Taoism)
จาง
ซานฟง
หลักทีล
่ ก
ึ ซึง้ ของจักรวาล
เป็ นสิ่ งทีจ
่ ะช่วยไขความลี้
ลับของโลกและชีวต
ิ
เตา๋ แปลวา่ หนทาง
(the way)
ธรรมชาติ
ดั
ง้ นเดิม+
หยิ
หยาง
Negative + Positive
ในของสิPower
่ งหนึ่งจะตองมี
้
ประวัตศ
ิ าสดา
604-517 กอน
่
ค.ศ.
• แซ่ “ลิ”
• รับราชการเป็ น
บรรณารักษ์ ที่
หอสมุดหลวง
• ชอบสมถะเรียบ
งาย
่
• เขียนคัมภีร ์
“เลาจื
้ ”
่ อ
(Lao tze)
การพบกันระหวางเล
าจื
้
่
่ อ
กับขงจือ
้
อานาจสาคัญยิง่ ใหญที
่ ุด
่ ส
4 อยาง
่
1. อานาจของ มนุ ษย ์ ทีม
่ าจาก
โลก
2. อานาจของ โลก ทีม
่ าจาก
สวรรค ์
3. อานาจ สวรรค ์ ทีม
่ าจากเตา๋
4. อานาจของ เตา๋ มาจากความ
เป็ นไปในตัวเอง
คุณลักษณะ
ของเตา๋
• เตา เป็ นสิ่ งทีเ่ รียกขานดวยชือ
่
้
๋
ไมได
่ ้
• เตา๋ เป็ นตนก
้ าเนิดของสิ่ งทัง้
ปวง (ภาวะและ อภาวะ)
• เตา๋ มีอยูในที
ท
่ ุกหนทุกแหง่
่
เตาในฐานะกฎ
๋
ธรรมชาติ
• ทุกสิ่ งเปลีย
่ นแปลงอยูตลอดเวลา
่
แต่ “กฎของความเปลีย
่ นแปลง”นี้
โดยตัวมันเองแลวไม
เปลี
่ นแปลง
้
่ ย
เป็ นกฎทีแ
่ น่นอน ตายตัว เทีย
่ ง
แท้ มัน
่ คง ถาวร ตลอดไป
และกฎทีแ
่ น่นอนนี้ คือ เตา๋
ทีส
่ ุดของความเจริญคือ
ความเสื
่ อม าและที
ส
่จ
ุดของ
าประมาท
• อย
การหมุ
น
กลั
บ
คื
อ
วิ
ถ
ข
ี
องเต
ดุ
่
๋
ลืมตัว
ความเสื่ อมก็คอ
ื ความเจริญ
มนุ ษยกั
บ
การด
าเนิ
น
์
ชีวต
ิ แบบเตา๋
“การดารงชีพให้กลมกลืนกับ
ธรรมชาติ” เป็ นอยูอย
ๆ
่ างง
่ าย
่
ทาจิตให้สงบ
"กระทาโดยไมกระท
า"
่
(ปราศจากการยึดมัน
่ ในผล
ของการกระทา)
หลัก
จริยธรรม
1.การรูจั
้ กตนเอง (ธรรมชาติภายใน)
2.การชนะตนเอง (เป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกันกับธรรมชาติ)
3.ความสั นโดษ (มีความหยุด ความ
พอ ไมรู่ สึ้ กขาด)
4.อุดมคติแหง“เต
า”
่
๋ (ความรูสึ้ กทีเ่ ต็ม
เปี่ ยมอยูภายใน)
่
บ
มนุ ษยกั
์
ธรรมชาติ
• สิ่ งทีเ่ ป็ นของธรรมชาติ / สิ่ งทีเ่ ป็ น
ของคน
เช่น วัวกับมามี
้ สี่ขา, ขาของเป็ ดและ
นกกระเรียน ฯลฯ
(อยาไปพยายามท
าสิ่ งทีม
่ น
ั ฝื นกับสิ่ ง
่
ทีธ
่ รรมชาติให้มา)
• ธรรมเป็ นสิ่ งทีด
่ งี ามและมีความ
การฝึ ก
จิต
1.ให้มีจต
ิ ใจทีอ
่ ส
ิ ระ
2.ให้ รู้ จัก ควบคุ ม จิต ใจ อยู่ เหนื อ
ความฉลาดแบบโลก และเข้ าถึง
ความวางของเต
า๋
่
3 . ใ ห้ ลื ม ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง สิ่ ง ที่
ตรงกันข้ามทัง้ หลาย เช่น ความ
ดี แ ล ะ ค ว า ม ชั่ ว ค ว า ม ถู ก แ ล ะ
พิธก
ี รรม
สาคัญ
•การบูชา
บรรพบุรุษ
สิ่ ง ทั้ ง ห ล า ย มี
วิ ญ ญ า ณ สิ ง ส ถิ ต อ ยู่
ทั้ ง หมด และเชื่ อ ว่ าถ้ า
ลู ก หลานมี ค วามกตัญ ญู
กราบไหว้ วิญ ญาณบรรพ
บุ รุ ษ แ ล้ ว วิ ญ ญ า ณ
เ ห ล่ า นั้ น จ ะ ต้ อ ง ดู แ ล
คุ้ มค รองลู ก ๆ หล า น
ๆ ผู้ยัง มีชีวต
ิ อยู่ให้มีค วาม
เป็ นอยูอย
่ างร
่ มเย็
่ นเป็ นสุข
โดยทาความสะอาด
และตกแตงฮวงซุ
่
้ย จุดธูป
เซ่ นสั งเวยดวงวิ ญ ญาณ
พิธบ
ี ริโภค
อาหารเจ
• บริโ ภคอาหารเจปี ละ ๑ ครั้ง
เป็ นเทศกาลกิน เจ คือ ตั้ง แต่
วั น ๑ ค่ า เ ดื อ น ๙
ติดตอกั
่ นไปเป็ นเวลา ๑๐ วัน
ในการกินเจตามเทศกาลนี้ ผู้จะ
กิ น เ จ ต้ อ ง ล้ า ง ท้ อ ง ก่ อ น ถึ ง
ก าหนด ๓ วัน และบางคน
พิธส
ี ่ งวิญญาณ
• เมื่ อ มี ญ าติผู
ต า้ตาย
ยจ ะต้ องประกอบพิ ธ ี ก รรมเพื่ อ ช่ วยให้
วิญ ญาณคนตายไปสู่ สุ ค ติ อยู่ อย่ างเป็ นสุ ข ไม่ ถู ก ผี
ปี ศาจร้ ายรบกวน การประกอบพิธ ีก็ ล ดหลั่น กัน ไปตาม
ฐานะผู้ตายและเจ้าภาพ อยางเช
้ สูงตาย และ
่
่ น คนชัน
เจ้าภาพเป็ นผู้มีฐานะดีก็อาจนิมนตพระเต
ามาประกอบพิ
ธี
๋
์
ถึง ๔๙ รูป และประกอบพิธน
ี านถึง ๔๙ วัน แตถ
่ ้า
คนชัน
้ กลางตาย ก็อาจนิมนตพระเต
าอย
างน
๋
่
้ อย ๑ รูป
์
มาประกอบพิธต
ี ง้ั แต่ ๑-๓ วันตามแตฐานะการเงิ
นของ
่
เจ้าภาพ พระเตาจะบรรเลงดนตรี
และรายมนตร
๋
่
์ ซึ่งเชื่อ
กันวาจะช
่
่ วยให้คนตายพ้นจากถูกลงโทษในโลกวิญญาณ
ในการท าพิธ ี พระเต๋าจะใช้ สี แดงสดเขีย นชื่อ วัน เกิด
วัน ตายและที่ อ ยู่ ของผู้ ตายลงบนกระดาษสี เหลือ ง ๒
แผน
และประทับตราประจาวัดลงบนกระดาษ ถือกันวา่
่
กระดาษแผนนั
่ ้น จะเป็ นเสมือนใบรับรองผู้ตาย กระดาษ
พิธก
ี รรมไลผี
่
•ร
พวกเต
าเชื
อ
่ วามี
ภูตผีปีศาจร้ายมากมายคอยหลอก
าย
๋
่
้หลอนทาร้ายผู้คน เช่น ปรากฏรางน
่
่ าเกลียดน่า
กลัว หรือทาเสี ยงแปลก ๆ เป็ นต้น ทาให้ คน
ถู ก หลอกเจ็ บ ป่ วยได้ จึ ง เกิด กรรมวิธ ี ไ ล่ ผี ร้ าย
ขึน
้ มา โดยมีพระเต๋าเป็ นผู้ประกอบพิธ ี พระเต๋า
แต่ละรูปทีม
่ าประกอบพิธจ
ี ะสวมหมวกติดดาว ๗
ดวง และผ้ายันต ์ เมือ
่ เริม
่ พิธ ี พระเตา๋ ๕ รูป
จะถือธง ๕ ธง คือธงสี เขียว สี แดง สี เหลือง
สี ขาว และสี ด า โดยแต่ละรูปจะยืน อยู่แต่ละทิศ
คือ ทิศ ตะวัน ออก ตะวัน ตก กลาง ใต้ และทิศ
เหนือ ในพิธจ
ี ะแขวนรูปเทพเจ้าของศาสนาเตาไว
๋
้
จุดธูปและนาน้ ามาทาน้ ามนต พระเตาจะบรรเลง
นักบวชศาสนาเตา๋ “เตาสื
”
อ
้
“เตาหยิ
น”
้
นิกายในศาสนา
1. นิ ก าย เช็ ง -อิ
เป็ นนิ ก ายฝ่ ายใต้ เพราะ
เจริญอยูแถบทางใต
่
้ของแมน
่ ้าแยงซี นิกายนี้มุง่
ไปในทางอิทธิฤทธิข
์ องอาจารยสวรรค
ี
์
์ จึงมีอก
ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า นิ ก ายเทีย นจื๊อ เชื่ อ กัน ว่า จาง
เต้า หลิง เป็ นอาจารยสวรรค
คนแรก
มีดาบ
์
์
ศั ก ดิ ์สิ ท ธิ ์ส า ม า ร ถ ฆ่ า ปี ศ า จ แ ม้ อ ยู่ ไ ก ล ถึ ง
๑,๐๐๐ ไมล ์ได้ นิ ก ายนี้ เ ชื่ อ เรื่ อ งโชคลาง
อภิ นิ ห ารและคาถาอาคม จึ ง มี ค าถาอาคม
มากมาย เช่ น คาถาขอฝน คาถากัน ฝน
คาถากั น ผี เป็ นต้ น นอกจากนี้ ย ั ง ถื อ การ
เข้าทรงเป็ นสาคัญอีกด้วย นักบวชของนิกายนี้
• นิ ก ายชวน-เชน เป็ นนิ ก ายฝ่ ายเหนื อ
เพราะเจริญ อยู่แถบทางเหนื อ แม่น้ า แยงซี
เป็ นนิกายทีม
่ งด
ุ่ าเนินตามคาสอนเตา๋ จึงมี
ป ฏิ ป ท า ด า เ นิ น ชี วิ ต ใ ห้ ก ล ม ก ลื น กั บ
ยบงาย
ธรรมชาติ รักสงบ เป็ นอยูอย
่
่
่ างเรี
ศาสนิ ก จ านวนไม่น้ อยจะสละบ้านออกไป
อยูวั
ั ิ ทัง้ จะ
่ ด รับประทานอาหารมังสวิรต
อดอาหารในบางโอกาส
ส่วนนักพรต
จะแตงงานไม
ได
่ น้ าเมาไมได
่
่ ้ ดืม
่ ้ นิกาย
นี้มค
ี วามโน้มเอียงทีจ
่ ะรวมทัง้ ๓ ศาสนา
คือศาสนาเตา๋ ศาสนาขงจือ
้ และศาสนา
คัมภีรของศาสนาเต
า
๋
์
เตา๋
เตา๋
เต็ก
เก็ง
เต็ก เก็ง
 หนทาง
 คุณธรรม
 วรรณคดี
หลักธรรมของศาสนา
เตา๋
• มุงเนนความกลมกลืนกับธรรมชาติ
่ ้
1) บาเพ็ญตนให้เกิด ให้มี เพือ
่
ความผาสุกของสั งคม
2) ชีวต
ิ จะดีงามถากลมกลื
นกับ
้
ธรรมชาติ
3) สละรากฐานเดิม บาเพ็ญตนให้
เกิดปัญญา
หลักธรรมของศาสนา
เตา๋
5) ดารงชีวต
ิ ใหเหมือนน้า ทา
้
ประโยชนให
่ ่
์ ้กับสิ่ งทัง้ ปวง แตไม
หวังผลตอบแทน
6) ชีวต
ิ ของมนุ ษยจะได
ดี
้ ถา้
์
สามารถเอาชนะตนเอง รูจั
้ กพอ
รูจั
้ กตนเอง และมีเตาเป็
๋ นอุดมคติ
7) จะเป็ นคนดีตองมี
ความกตัญญู
้