ภาควิชาอายุรศาสตร์

Download Report

Transcript ภาควิชาอายุรศาสตร์

ึ ษาระด ับ
แผนพ ัฒนาฝ่ายการศก
ึ ษา
หล ังปริญญา และการศก
ต่อเนือ
่ ง
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
พชท./พจบ./Fellow
้ น
แพทย์ใชท
ุ
29 คน
แพทย์ประจาบ้าน 15 คน
แพทย์ประจาบ้านสาขาต่อยอด 12 คน
รวมทงหมด
ั้
56 คน
หอผูป
้ ่ วยทีใ่ ห้การดูแล
คลินก
ิ อายุรกรรมทวไปและ
่ั
คลินก
ิ อายุรกรรมตามสาขา
หอผูป
้ ่ วยอายุรกรรมหญิง
หอผูป
้ ่ วยอายุรกรรมชาย 1
หอผูป
้ ่ วยอายุรกรรมชาย 2
หออภิบาลผูป
้ ่ วย (ICU)
หอผูป
้ ่ วย RCU
ห้องฉุกเฉิน
หอผูป
้ ่ วยต่างแผนกต่างๆ
การบริหารภาควิชาฯ
ทีมบริหาร
ประชุมภาค
วันอังคารที่ 2
วันพฤหัสบดีที่
ของเดือน
1,3, ของเดือน
15.00 -16.30 น. 14.30-16.30น.
กลุ่มวิจย
ั
พชท./พจบ.
วันพฤหัสบดีที่
วันพฤหัสบดีที่
4 ของเดือน
4 ของเดือน
14.00-15.30น. 15.00-16.30น.
Undergrad
Postgrad
วันพฤหัสบดีที่
วันพฤหัสบดีที่
1,3,5ของเดือน 1,3,ของเดือน
12.00-13.00 น. 12.00-13.00น.
หัวหน้าสาขา
PCT/บริการ
วันพฤหัสบดีที่
2 ของเดือนคู่
12.00-13.00น.
วันศุกร์ที่
1 ของเดือน
14.00-16.00น.
จุดเด่น
้ น/แพทย์ประจา
1. มีความเข ้มแข็งด ้านการฝึ กอบรมอายุรแพทย์ มีการดูแลแพทย์ใชทุ
ั ้ ปี อย่างเป็ นระบบ เชน
่ การจัดระบบอาจารย์ทป
บ ้านทุกระดับชน
ี่ รึกษา การจัดระบบ
้ น/
การวัดและประเมินผลการให ้ความสาคัญกับการ Feedback จากแพทย์ใชทุ
้ น/แพทย์ประจาบ ้านทีม
แพทย์ประจาบ ้าน รวมทัง้ มีการดูแลแพทย์ใชทุ
่ ป
ี ั ญหา
นอกจากนีย
้ ังเน ้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการทางานเป็ นทีม ระหว่าง
้ น แพทย์ประจาบ ้าน แพทย์ประจาบ ้านต่อยอด/อาจารย์แพทย์ และ
แพทย์ใชทุ
ั พันธ์และจริยธรรมสญ
ั จร
บุคลากรสายสนับสนุน โดยการจัดโครงการกลุม
่ สม
้ น/แพทย์ประจาบ ้านทีม
2. มีแพทย์ใชทุ
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ
้ น/แพทย์ประจาบ ้านสามารถสอบบอร์ดผ่าน 100%
3. แพทย์ใชทุ
จุดด้อย
้ น/แพทย์ประจาบ ้านในทุกชน
ั ้ ปี ทาให ้แพทย์
1. งานบริการมีมากกว่าจานวนแพทย์ใชทุ
้ น/แพทย์ประจาบ ้านไม่มเี วลาหาความรู ้ และอ่านหนังสอ
ื เพิม
ใชทุ
่ เติม
2. จานวนการอยูเ่ วรปฏิบต
ั งิ านนอกเวลา มีจานวนผู ้ป่ วยเฉลีย
่ ต่อคนในปริมาณมาก
่ ารลาออก
ไม่มค
ี วามละเอียดในการดูแลผู ้ป่ วย ดูผู ้ป่ วยไม่ทัน นาไปสูก
3. งานหนักมากทีค
่ ลินก
ิ อายุรกรรมผู ้ป่ วยนอก กรณีเป็ นผู ้รับ consult ในวันนัน
้
ั พันธ์ ชก
ั ชวน extern , แพทย์ใชทุ
้ นข ้างนอก เพือ
• ขาดการประชาสม
่ มาสมัครแพทย์
้ น/แพทย์ประจาบ ้านทีภ
้ น/แพทย์ประจาบ ้าน
ใชทุ
่ าควิชาฯ ทาให ้ไม่ได ้แพทย์ใชทุ
ั ยภาพ
ตามศก
รายวิชาการสอนระดับหลังปริญญา
หลักสูตรอายุรศาสตร์เพือ
่ วุฒิบต
ั รแสดงความรูค
้ วามชานาญ
ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาอายุรศาสตร์
หลักสู ตรอายุรศาสตร ์ต่อยอด
รายวิชาต่างๆ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชัน
้ สูง
การดาเนินงาน
(หล ังปริญญา)
อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่ พชท./พจบ. รายบุคคล
ประชุมคณะกรรมการฝ่ายการศึกษาหลังปริญญาภาควิชา เดือน
ละ 2 ครั้ง
พิจารณาข้อสอบ,จัดสอบเลื่อนชั้นปี
ประชุม พชท./พจบ. เดือนละ 2 ครั้ง
ติดตามการประเมินผลการปฏิบัติงาน พชท./พจบ. หมุนเวียน หอ
ผู้ป่วย/หน่วยวิชา เดือนละ 1 ครั้ง
ติดตามดูแล พชท./พจบ. ที่มีปัญหาและนาเสนอที่ประชุมระดับ
หลังปริญญาและที่ประชุมภาควิชา
การกากับดูแลและตรวจประเมินการเขียนเวชระเบียนผู้ป่วยใน
เดือนละ 2 ครั้ง ผู้ป่วยนอก ปีละ 2 ครั้ง
การดาเนินงาน
(หล ังปริญญา)
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน Academic lecture, emergency
medicine , Intensive in internal medicine
โดยอาจารย์ภาควิชา/ต่างภาควิชา/ต่างสถาบัน
จัดกิจกรรม Morning report , interesting case, M&M ,Conf.
หน่วยวิชา ,Ethic teaching
ประเมินผลโดยการสอบ MCQ, short assay, long case เมื่อ
เสร็จสิ้นการปฏิบัติงานผ่านหน่วยวิชา
จัดสอบ OSCE ปีละ 2 ครั้ง ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินราช
วิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ
เป็นอนุกรรมการคุมสอบราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศ
ไทย
ิ ปว ัฒธรรม
ทานุบารุงศล
•
กิจกรรมมุทิตาจิต
• กิจกรรมเลี้ยงสังสรรค์งานปีใหม่
• รดน้าดาหัวในวันสงกรานต์
ิ ปว ัฒธรรม
ทานุบารุงศล
•
กิจกรรมเลีย
้ งต้อนรับ – ส่ง พชท./พจบ.
•
กิจกรรมสัมพันธ์คณะแพทยศาสตร์ (กีฬาสี)
•
กิจกรรมเลีย
้ งอาลาอาจารย์
•
กิจกรรมทาบุญภาควิชาอายุรศาสตร์
ด้านวิจย
ั
1. มีการจัดตัง้ หน่วยสนับสนุนงานวิจย
ั เพื่อช่วยผลักดันงานวิจย
ั
ของ
แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจาบ้าน ซึ่งมีหน้าทีห
่ ลักดังนี้
1.1 กระตุ้นและให้ความช่วยเหลือในการตัง้ คาถามวิจย
ั
(research
question)
1.2 ติดตามและช่วยแก้ไขโครงการวิจย
ั (proposal)
1.3 สนับสนุนด้านสถิตท
ิ งั้ ทางตรงและผ่านทางหน่วย
ระบาดวิทยา
1.4 สนับสนุนและติดตามการเขียน Manuscript
1.5 ติดตามและช่วยแก้ปญ
ั หาในกระบวนการทาวิจย
ั ทุก
ขั้นตอน
2. มีกิจกรรม Research Club เพื่อให้แพทย์ใช้ทน
ุ /ประจาบ้าน
ได้นาเสนอ proposal และ ผลงานวิจย
ั ทีเ่ สร็จสมบูรณ์
ตุลาคม – มกราคม
เสนอ proposal
มีนาคม – มิถุนายน
เสนอผลงานวิจย
ั
3. มีแผนการปฏิบต
ั งิ านวิจย
ั ของแพทย์ใช้ทน
ุ /แพทย์ประจาบ้าน
เพื่อกาหนดกรอบเวลาในการทางานวิจย
ั ทาให้แพทย์ใช้ทน
ุ /
แพทย์ประจาบ้าน ทางานวิจย
ั ได้สาเร็จตามกรอบเวลาทีไ
่ ด้
กาหนดไว้
4. มีการส่งเสริมให้มก
ี ารนาเสนอผลงานวิจย
ั ในงานประชุมต่างๆ
เมษายน
เสนอผลงานในรูปแบบ Oral presentation
2
หรือ Poster Presentation
ในงานประชุมวิชาการราชวิทยาลัยอายุรแพทย์
แห่งประเทศไทย ทุกผลงาน
สิงหาคม
เสนอผลงานในรูปแบบ Oral presentation หรือ
Poster Presentation ในงานประชุมวิชาการ
คณะแพทยศาสตร์ ทุกผลงาน
ด้านการเรียนการสอน
1. จัดให้มก
ี ารบริหารจัดการฝึกอบรมให้เป็นไปตามมาตรฐาน
วิชาชีพ
1.1 จัดให้มก
ี รรมการ Postgrad
1.2 มีคู่มอ
ื ตารางการเรียนการสอน เป็นไปตามข้อกาหนด
ราชวิทยาลัยฯ
1.3 จัดให้มอ
ี าจารย์ทป
ี่ รึกษาสาหรับแพทย์แต่ละคน
1.4 จัดกิจกรรม M&M, Interesting case, Dead case,
Ethic
1.5 จัดสอน Intensive course พชท./พจบ.ใหม่ เพื่อปรับ
พื้นฐาน พฤษภาคม - สิงหาคม ของทุกปี
ด้านการเรียนการสอน
1.6 มีกิจกรรม Academic Lecture เชิญอาจารย์
จากภายในและภายนอกภาควิชาบรรยายให้ความรู้ และ
เพื่อจัดติวก่อนสอบบอร์ดราชวิทยาลัยฯ
1.7 จัดติวเรื่องการใช้กล้องจุลทรรศน์, Lab จัดสอบ Long
case เพิ่มเติม ก่อนสอบบอร์ดราชวิทยาลัยฯ
1.8 ประเมินผลโดยการสอบ MCQ, short assay,Long case
เมื่อเสร็จสิน
้ การปฏิบต
ั งิ านผ่านสาขาวิชา
1.9 สนับสนุนและส่งเสริมให้มี Elective ในต่างประเทศ
เพิ่มขึ้น