จัดทำโดย นำงสำวสุ ดำพร วงษำ เลขที่ ๒ ชั้น ม.๕/๑ เสนอต่ อ อำจำรย์ ชไมพร สุ นันท์ ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๔ โรงเรียนพระธำตุพทิ ยำคม.

Download Report

Transcript จัดทำโดย นำงสำวสุ ดำพร วงษำ เลขที่ ๒ ชั้น ม.๕/๑ เสนอต่ อ อำจำรย์ ชไมพร สุ นันท์ ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๔ โรงเรียนพระธำตุพทิ ยำคม.

จัดทำโดย
นำงสำวสุ ดำพร วงษำ
เลขที่ ๒ ชั้น ม.๕/๑
เสนอต่ อ
อำจำรย์ ชไมพร สุ นันท์
ภำคเรียนที่ ๒ ปี กำรศึกษำ ๒๕๕๔
โรงเรียนพระธำตุพทิ ยำคม
แผ่ นดินไหว (อังกฤษ: earthquake) เป็ นปรากฏการณ์การ
สัน่ สะเทือนหรื อเขย่าของพื ้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้ อยู่ในสภาวะสมดุล
ซึง่ แผ่นดินไหวสามารถก่อให้ เกิดความเสียหายและภัยพิบตั ิตอ่
บ้ านเมือง ที่อยูอ่ าศัย สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนัน้
ส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิด
จากการกระทาของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้ อยกว่าที่เกิดขึ ้นเองจาก
ธรรมชาติ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึง่ ๆ จะเกิดแผ่นดินไหว
ประมาณ 1,000 ครัง้ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็ นแผ่นดินไหวที่มีการสัน่ สะเทือน
เพียงเบา ๆ เท่านัน้ คนทัว่ ไปไม่ร้ ูสกึ
• แผ่นดินไหวเป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่น
เปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทาให้ เกิดการเคลื่อนตัวของ
ชันหิ
้ นขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรื อแตกหักและเกิดการโอนถ่าย
พลังงานศักย์ ผ่านในชันหิ
้ นที่อยูต่ ิดกัน พลังงานศักย์นี ้อยูใ่ นรูปคลื่นไหว
สะเทือน จุดศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว (focus) มักเกิดตามรอย
เลื่อน อยูใ่ นระดับความลึกต่าง ๆ ของผิวโลก เท่าที่เคยวัดได้ ลกึ สุดอยูใ่ น
ชันแมนเทิ
้
ล
• ส่วนจุดที่อยูใ่ นระดับสูงกว่า ณ ตาแหน่งผิวโลก เรี ยกว่า "จุดเหนือศูนย์
เกิดแผ่นดินไหว" (epicenter) การสัน่ สะเทือนหรื อแผ่นดินไหวนี ้จะ
ถูกบันทึกด้ วยเครื่ องมือที่เรี ยกว่า ไซสโมกราฟ โดยการศึกษาเรื่ อง
แผ่นดินไหวและคลื่นสัน่ สะเทือนที่ถกู ส่งออกมา จะเรี ยกว่า "วิทยา
แผ่นดินไหว" (อังกฤษ: Seismology)
แผ่ นดินไหวจากธรรมชาติ
แผ่นดินไหวที่ซานฟรานซิสโกเมื่อ พ.ศ. 2449
ความเสียหายของอาคารจากแผ่นดินไหวที่โกเบ เมื่อ พ.ศ. 2538
แผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็ นธรณีพิบตั ิภยั ชนิดหนึง่ ส่วนมากเป็ นปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ
ที่เกิดจากการสัน่ สะเทือนของพื ้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบาย
ความเครี ยด ที่สะสมไว้ ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้
คงที่ โดยปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของรอยเลื่อน ภายในชันเปลื
้ อกโลกที่อยู่ด้านนอก
สุดของโครงสร้ างของโลก มีการเคลื่อนที่หรื อเปลี่ยนแปลงอย่างช้ า ๆ อยู่เสมอ (ดู การ
เคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก) แผ่นดินไหวจะเกิดขึ ้นเมื่อความเค้ นอันเป็ นผลจากการ
เปลี่ยนแปลงมีมากเกินไป ภาวะนี ้เกิดขึ ้นบ่อยในบริ เวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลก ที่ที่
แบ่งชันเปลื
้ อกโลกออกเป็ นธรณีภาค (lithosphere) เรี ยกแผ่นดินไหวที่เกิดขึ ้น
บริ เวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลกนี ้ว่า แผ่นดินไหวระหว่างแผ่น (interplate
earthquake) ซึง่ เกิดได้ บอ่ ยและรุนแรงกว่า แผ่นดินไหวภายในแผ่น (intraplate
earthquake)
แผ่ นดินไหวจากการกระทาของมนุษย์
มีทงทางตรงและทางอ้
ั้
อม เช่น การระเบิด การทาเหมือง สร้ างอ่างเก็บน ้าหรื อเขื่อน
ใกล้ รอยเลื่อน การทางานของเครื่ องจักรกล การจราจร รวมถึงการเก็บขยะ
นิวเคลียร์ ไว้ ใต้ ดิน เป็ นต้ น
• การสร้ างเขื่อนและอ่ างเก็บนา้ ขนาดใหญ่
• การทาเหมืองในระดับลึก
• การสูบนา้ ใต้ ดนิ
• การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ ใต้ ดนิ
ขนาดและความรุ นแรง
ขนาดของแผ่ นดินไหว หมายถึง จานวนหรื อปริมาณของพลังงานที่ถกู ปล่อย
ออกมาจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวในแต่ละครัง้ การหาค่าขนาดของ
แผ่นดินไหวทาได้ โดยวัดความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่บนั ทึกได้ ด้วยเครื่ อง
ตรวดวัดแผ่นดินไหว แล้ วคานวณจากสูตรการหาขนาด ซึง่ คิดค้ นโดย ชาลส์
ฟรานซิส ริกเตอร์ และนิยมใช้ หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหวคือ "ริกเตอร์ " โดย
สูตรการคานวณมีดงั นี ้
• กาหนดให้
• M = ขนาดของแผ่นดินไหว (ริกเตอร์ )
• A = ความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่สงู ที่สดุ
•
= ความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่ระดับศูนย์
• โดยขนาดของแผ่นดินไหว ในแต่ละระดับจะปล่อยพลังงานมากกว่า 30 เท่า
ของขนาดก่อนหน้ า เช่น 4 กับ 5 ริกเตอร์ แผ่นดินไหวขนาด 5 ริกเตอร์ จะ
ปล่อยพลังงานออกมามากกว่า 4 ริกเตอร์ 30 เท่า, แผ่นดินไหวขนาด 7 ริ ก
เตอร์ จะปล่อยพลังงานออกมามากกว่า 5 ริกเตอร์ = 30x30 = 900 เท่า เป็ น
ต้ น
ความรุ นแรงของแผ่ นดินไหว (อังกฤษ: Intensity) ที่เกิดขึ ้นในแต่ละครัง้ นัน้
ขึ ้นอยูก่ บั ความรุนแรงที่ร้ ูสกึ ได้ มากน้ อยเพียงใด และขึ ้นอยูก่ ับระยะทางจาก
ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ความเสียหายจะเกิดขึ ้นในบริเวณใกล้ เคียงกับศูนย์กลาง
แผ่นดินไหว และจะลดหลัน่ ลงไปตามระยะทางที่หา่ งออกไป ดังนัน้ การสูญเสียจะ
มากหรื อน้ อยขึ ้นอยูก่ บั ความรุนแรงของแผ่นดินไหวโดยตรง สาหรับการวัดขนาด
ของแผ่นดินไหวมีหลายวิธี เช่น มาตราวัดขนาดของแผ่นดินไหวแบบริกเตอร์ และ
แบบเมอร์ แคลลี่
• มีทงทางตรงและทางอ้
ั้
อม เช่น ทาให้ เกิดพื ้นดินแตกแยก ภูเขาไฟระเบิด
อาคารสิ่งก่อสร้ างพังทลาย ไฟไหม้ แก๊ สรั่ว ท่อระบายน ้าและท่อประปา
แตก คลื่นสึนามิ แผ่นดินถล่ม เส้ นทางการคมนาคมเสียหายและถูกตัด
ขาด ถนนและทางรถไฟบิดเบี ้ยวโค้ งงอ เกิดโรคระบาด ปั ญหาด้ าน
สุขภาพจิตของผู้ประสบภัย ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สนิ รวมถึงทาง
เศรษฐกิจ เช่น การสื่อสารโทรคมนาคมขาดช่วง ระบบคอมพิวเตอร์ ขดั ข้ อง
การคมนาคมทังทางบก
้
ทางน ้า ทางอากาศหยุดชะงัก ประชาชนตื่น
ตระหนก ซึง่ มีผลต่อการลงทุน การประกันภัย และในกรณีที่แผ่นดินไหวมี
ความรุนแรงมาก เมืองทังเมื
้ องอาจถูกทาลายหมด และมีผ้ เู สียชีวิตเป็ น
จานวนมาก
• ถ้ าแผ่นดินไหวเกิดขึ ้นใต้ ทะเล แรงสัน่ สะเทือนอาจจะทาให้ เกิดเป็ นคลื่นขนาด
ใหญ่ที่เรี ยกว่า "สึนามิ" (ญี่ปน:
ุ่ 津波, Tsunami) มีความเร็วคลื่น 600800 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ในทะเลเปิ ด ส่วนใหญ่คลื่นจะมีความสูงไม่เกิน 1 เมตร
และสังเกตได้ ยาก แต่จะมีขนาดใหญ่ขึ ้นเมื่อเคลื่อนถึงใกล้ ชายฝั่ ง โดยอาจมี
ความสูงถึง 60 เมตร สามารถก่อให้ เกิดน ้าท่วม สร้ างความเสียหายอย่างใหญ่
หลวงกับสิ่งก่อสร้ างที่ติดอยูช่ ายฝั่ งทะเล
• ที่วา่ งกลางเมืองซัปโปโร ประเทศญี่ปนุ่ สามารถใช้ หลบภัยจากแผ่นดินไหว และการพัง
ถล่มของตึก
• ในปั จจุบนั มีการสร้ างอาคาร ตึกระฟ้าใหม่ ๆ บนหินแข็งในเขตแผ่นดินไหว อาคาร
เหล่านันจะใช้
้
โครงสร้ างเหล็กกล้ าที่แข็งแรงและขยับเขยื ้อนได้ มีประตูและหน้ าต่าง
น้ อยแห่ง บางแห่งก็มงุ หลังคาด้ วยแผ่นยางหรื อพลาสติกแทนกระเบื ้อง ป้องกันการตก
ลงมาของกระเบื ้องแข็งทาให้ ผ้ คู นบาดเจ็บ ถนนมักจะสร้ างให้ กว้ างเพื่อว่าเมื่อเวลาตึก
พังลงมาจะได้ ไม่กีดขวางทางจราจร และยังมีการสร้ างที่วา่ งต่าง ๆ ในเมือง เช่น
สวนสาธารณะ ซึง่ ผู้คนสามารถจะไปหลบภัยให้ พ้นจากการถล่มของอาคารบ้ านเรือน
ได้