หน่ วยที่ 7 ปัญหาที่เกิดจาก การนาสถิติไปใช้ ให้อย่างผิดๆ นักศึกษาลองพิจารณาบทความต่ อไปนี้ การรายงานผลการวิจยั ที่มีออกมามากมายทุกวัน ผู้ใช้ ผลการวิจยั ควรจะตรวจสอบให้ แน่ชดั ก่อนว่า ผลการวิจยั เหล่านันมี ้ ความถูกต้ องแค่ไหน ได้ มีการมี การสารวจพบว่ามีเพียงร้ อยละ 50 ของผลวิจยั ที่ได้ รับ การตีพิมพ์ในวารสารชันน ้

Download Report

Transcript หน่ วยที่ 7 ปัญหาที่เกิดจาก การนาสถิติไปใช้ ให้อย่างผิดๆ นักศึกษาลองพิจารณาบทความต่ อไปนี้ การรายงานผลการวิจยั ที่มีออกมามากมายทุกวัน ผู้ใช้ ผลการวิจยั ควรจะตรวจสอบให้ แน่ชดั ก่อนว่า ผลการวิจยั เหล่านันมี ้ ความถูกต้ องแค่ไหน ได้ มีการมี การสารวจพบว่ามีเพียงร้ อยละ 50 ของผลวิจยั ที่ได้ รับ การตีพิมพ์ในวารสารชันน ้

หน่ วยที่ 7
ปัญหาที่เกิดจาก
การนาสถิติไปใช้
ให้อย่างผิดๆ
นักศึกษาลองพิจารณาบทความต่ อไปนี้
การรายงานผลการวิจยั ที่มีออกมามากมายทุกวัน
ผู้ใช้ ผลการวิจยั ควรจะตรวจสอบให้ แน่ชดั ก่อนว่า
ผลการวิจยั เหล่านันมี
้ ความถูกต้ องแค่ไหน ได้ มีการมี
การสารวจพบว่ามีเพียงร้ อยละ 50 ของผลวิจยั ที่ได้ รับ
การตีพิมพ์ในวารสารชันน
้ า
งานเขียนชิ ้นหนึง่ ที่ตีพิมพ์ลงในวารสารของ
สมาคมการแพทย์อเมริกนั ระบุเตือนว่า ผลการวิจยั ทาง
วิทยาศาสตร์ บางชิ ้นถูกนาไปเผยแพร่ก่อนเวลาอันควร
ซึง่ อาจเป็ นอันตรายต่อคนไข้ ที่นาผลวิจยั เหล่านี ้ไป
ปฏิบตั ิตาม ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า เมื่อปี ก่อนมีงานวิจยั
เพียงครึ่งหนึง่ เท่านันที
้ ่ถกู นาไปตีพิมพ์ในวารสาร
การแพทย์ชนน
ั ้ า โดยร้ อยละ 25 ตีพิมพ์ในวารสารอันดับ
รอง และอีกร้ อยละ 25 ไม่มีการตีพิมพ์เลย
นักศึกษาลองพิจารณาบทความต่ อไปนี้
ผู้เชี่ยวชาญเรี ยกร้ องให้ นกั วิจยั และ
ผู้สื่อข่าวเน้ นย ้าข้ อจากัดและธรรมชาติ
เบื ้องต้ นของงานวิจยั บางชิ ้น ซึง่ บ่อยครัง้ ที่
นักวิจยั ต้ องการแค่นาเสนอผลเพื่อรับฟั ง
ความคิดเห็นจากนักวิจยั คนอื่นๆ
นอกจากนี ้ในบางครัง้ ผู้สื่อข่าวที่เข้ าใจ
ผิด บางรายก็ให้ ความสาคัญกับผลการวิจยั
มากเกินไป อีกทังหลี
้ กเลี่ยงที่จะระบุข้อจากัด
และผู้ให้ ทนุ ที่อาจมีสว่ นทาให้ ผลการวิจยั
บิดเบือนได้
นักศึกษาคิดว่าต้องกลันกรองข้
่
อมูล
และสารสนเทศได้เป็ นอย่างดี เพือ่ ลด
ความเสีย่ งในการนาไปใช้ ซึ่งการ
กลันกรองสารสนเทศเหล่
่
านั้นว่ามี
คุณภาพหรือมีความน่าเชื่อถือหรือไม่
นั้น มีวิธีการพิจารณาอย่างไร
สถิตศิ าสตร์
สถิติศาสตร์
• เป็ นศาสตร์ที่วา่ ด้วยการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล เพื่อหา
ข้อความรู ้อนั เกิดจากการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลนั้นๆ
นาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
สถิติศาสตร์
• องค์ประกอบ
•
•
•
•
•
•
ข้อมูล
ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลและเรื่ องที่วเิ คราะห์
ทฤษฎีอนั เป็ นหลักพื้นฐานของการสร้างวิธีการวิเคราะห์
วิธีการวิเคราะห์
ผลการวิเคราะห์
การสรุ ปผลเพื่ออธิบายสภาพการณ์ที่เป็ นอยู่ หรื อคาดการณ์
อนาคต
กระบวนการวิจัย
สถิติศาสตร์
• ข้ อมูล จะต้องมาจากวิธีการจัดเก็บที่
ถูกต้องตามลักษณะของข้อมูล และ
ประเด็นปัญหาที่ตอ้ งการคาตอบ แต่ละ
เรื่ องจะมีวธิ ีการเก็บรวบรวมที่ถูกต้อง
เหมาะสมที่ตอ้ งเลือกมาใช้
• การสารวจ
• การบันทึก/ การทะเบียน
• การทดลอง
การสารวจ
การสารวจมีท้ งั การสารวจหมดทุกหน่วยตัวอย่าง
เรี ยกว่า ......................................
ส่ วนการสารวจโดยใช้บางส่ วนของประชากร
เรี ยกว่า ..................................................
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่คาดว่าจะได้ตวั
แทนที่ดีของประชากร ไม่มีความเอนเอียง ซึ่ ง
ต้องใช้
เทคนิคการสุ่ มตัวอย่าง (Sampling Technique)
การสารวจ
พิจารณา ขนาดตัวอย่างและวิธีการสุ่ มเหมาะสม
มีวธิ ีการเลือกตัวอย่างสาคัญๆ อยู่ 4 แบบคือ
สุ่ มอย่างง่าย (Simple Random Sampling: SRS)
แบบมีระบบ (Systematic Sampling)
แบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling)
และแบบกลุ่ม (Cluster Sampling)
การทดลอง
ต้องการศึกษาอิทธิพลของตัวแปรตัวหนึ่งเรี ยกว่าตัว
แปรอิสระ หรือปัจจัยว่ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของตัวแปรอีกตัวหนึ่งหรื อไม่เรี ยกว่า ตัวแปร
ตอบสนองหรือตัวแปรตาม
ผูท้ ดลองต้องระวังเกี่ยวกับอิทธิพลภายนอกตัวอื่นที่
ไม่ได้สนใจ ที่อาจจะเข้ามาพัวพัน ซึ่งมีผลทาให้การ
ทดลองที่ได้บิดเบือนไปจากความจริ ง เพราะ
variation ที่เกิดขึ้นนั้นมิได้เกิดจากสิ่ งทดลองที่
สนใจเพียงอย่างเดียว ทาให้สรุ ปผลการวิจยั ผิดจาก
ความจริ งได้
การเก็บข้อมูลแบบทุตยิ ภูมิ
พิจารณาเกี่ยวกับแหล่งและประเภทของข้อมูล
วิธีดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล
ของแหล่งข้อมูลนั้นๆ
ความน่าเชื่อถือ
ความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล
ความแนบนัยหรื อคงเส้นคงวา
สถิติศาสตร์
• ความรู้ เกี่ยวกับข้อมูลและเรื่ องที่
วิเคราะห์
• ความรอบรู้ในเรื่ องที่สนใจ ทาให้
เข้าใจข้อมูลที่ตอ้ งการจัดเก็บ ตั้ง
ประเด็นคาถามที่ตอ้ งการคาตอบได้
หาวิธีตอบที่ตรงประเด็นได้
สถิติศาสตร์
• ทฤษฎีอนั เป็ นหลักพื้นฐานของการสร้าง
วิธีวเิ คราะห์
• ความน่าจะเป็ น คณิ ตศาสตร์ ทฤษฎีหลักต่างๆ
ที่นามาสร้างทฤษฎีทางสถิติ
• วิธีการวิเคราะห์
• สร้างวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่สามารถตอบ
คาถามที่ต้ งั ไว้ได้ และสามารถหาคุณสมบัติ
และคุณภาพของข้อสรุ ปได้
การตรวจสอบข้อมูลเพือ่ เตรียมประมวลผล
วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล
วางแผนการประมวลผลข้อมูล
Process
Input
ตรวจสอบรหัสข้อมูล
การบรรณาธิกรข้อมูล
จัดเก็บข้อมูลลงสือ่ พร้อม
ตรวจสอบด้วยโปรแกรม
การเปลีย่ นสภาพข้อมูล
การจัดการข้อมูล
การเปลีย่ นสภาพข้อมูล
การประมวลผลสถิตเิ ชิงพรรณนา
การประมวลผลสถิตเิ ชิงอนุมาน
Output
การอภิปรายผลโดยอาจจะแสดงใน
รูปตัวเลข ข้อความ ตาราง กราฟ
และตัวแบบ เป็ นต้น
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
สถิติเชิงบรรยายหรื อพรรณนา (Descriptive Statistics)
สถิติเชิงอนุมาน (Inference Statistics)
o ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
o ค่าการกระจายของข้อมูล
o ทานายค่าของตัวแปรหนึ่งจากค่าของตัวแปร k ตัว
o การทดสอบสมมติฐาน เพื่อหาคาตอบของปัญหา
ที่สงสัย เป็ นต้น
สถิติศาสตร์
• ผลการวิเคราะห์
• สรุ ปผลจากการวิเคราะห์ พร้อมทั้งหา
คุณสมบัติและคุณภาพของข้อสรุ ป
• การสรุปผลเพื่ออธิบายสภาพการณ์
ที่เป็ นอยู่ หรื อคาดการณ์อนาคต
สถิติศาสตร์
• สถิติศาสตร์จึงเป็ นศาสตร์ที่จาเป็ นอย่างยิง่ ต่อ
การตัดสิ นใจ เนื่องจาก
• เป็ นเครื่ องมือสาคัญในการแสดงข้อมูลที่บอกว่า
สถานการณ์ที่สนใจเป็ นอย่างไร
• อธิ บายความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างปั จจัยต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องในเรื่ องนั้น
• อาศัยรู ปแบบความสัมพันธ์ที่มี ช่วยในการ
คาดการณ์แนวทางอนาคตว่า อาจจะเกิดอะไรขึ้น
ได้บา้ ง
• พร้อมทั้งแสดงระดับความเชื่อมัน่ หรื อความเสี่ ยง
(risk) ที่มี
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความพอประมาณ
• ความพอดี เป็ นหลักการที่ตอ้ งมีใน
กระบวนการทางสถิติเสมอ ดังที่แสดงใน
วิธีการทางสถิติท้ งั หลายที่ตอ้ งคานึงถึง
ความพอดี ความเหมาะสม
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความพอประมาณ เช่ น
•ขนาดตัวอย่างที่พอดีในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล ขนาดตัวอย่างที่มาก
เกินไป ก็ไม่พอดี เนื่องจากต้องใช้
ค่าใช้จ่ายเกินควรโดยไม่จาเป็ น และ
ไม่ทาให้คุณภาพดีข้ ึนคุม้ ค่า หรื อ
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความพอประมาณ เช่ น
•การเลือกวิธีการ
วิเคราะห์โดยอาศัยหลัก
ความเหมาะสม คือเลือก
วิธีวิเคราะห์ที่ทาให้
คุณภาพของข้อสรุ ปอยูใ่ น
ระดับที่ดีที่สุดสาหรับ
ขนาดข้อมูลที่มี หรื อมี
ความเสี่ ยงต่าที่สุดภายใต้
ข้อจากัดที่มี เป็ นต้น
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความมีเหตุมผี ล
•
เป็ นหลักการสาคัญของ
สถิติศาสตร์ ที่เน้นย้าการพิสูจน์ดว้ ย
หลักฐานของข้อมูลที่มี และวิธีการ
วิเคราะห์ที่เหมาะสมกับกรณี
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความมีเหตุมผี ล
• สถิติศาสตร์สอนให้ตดั สิ นใจด้วย
หลักฐานที่ถูกต้อง ด้วยวิธีการที่ถูกต้อง
• คุณภาพของข้อมูล คุณภาพของวิธีการ
วิเคราะห์ คุณภาพของการสรุ ปผล เป็ น
สิ่ งสาคัญที่ตอ้ ง “อธิบายได้” อย่าง
สมเหตุสมผล และต้องเลือกสิ่ งที่อธิบาย
ได้ ตอบคาถามได้อย่างโปร่ งใส
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• การมีภูมคิ ุ้มกันทีด่ ใี นตัว
• - เตรียมพร้ อมรับผลกระทบและการ
เปลีย่ นแปลงทีอ่ าจเกิดขึน้
• สถิติศาสตร์เป็ นศาสตร์ที่สามารถแสดง
ถึงความเป็ นไปได้(ความน่าจะเป็ น)ของ
สถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในเวลา
อนาคต
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• การมีภูมคิ ุ้มกันทีด่ ใี นตัว
• เป็ นศาสตร์ที่แสดงถึงความเสี่ ยง
(ความน่าจะเป็ นในการเกิด
เหตุการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา) ได้
• เป็ นหลักการสาคัญในการพิจารณา
ตัดสิ นใจเพื่อลดความเสี่ ยงให้อยูใ่ น
ระดับต่าสุ ด หรื อในระดับทีสามารถ
บริ หารจัดการได้
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความรู้
• สถิติศาสตร์เป็ นศาสตร์ที่สร้างบนหลัก
วิชา และความรอบรู ้ในวิชาการต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
• ความรู้ในเนื้อเรื่ องที่กาลังพิจารณา เช่น ถ้า
เป็ นกรณี การพิจารณาเปรี ยบเทียบ
ผลการรักษาของตัวยา 2 ตัว ก็ตอ้ ง
เข้าใจเกี่ยวกับตัวยานั้น ตัวแปรที่สามารถ
ใช้วดั ผลของการรักษาด้วยยานั้น วิธีการ
วัดผลการรักษา ฯลฯ เป็ นต้น
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความรู้
• ความรู้ในหลักวิชาทางสถิติที่แน่นและ
ลึก เช่น รู้วธิ ีวเิ คราะห์ที่เหมาะสมกับ
กรณี รู้ขอ้ จากัดต่างๆ ของวิธีการ
วิเคราะห์ รู้ความหมายของการสรุ ปผล
ในมุมมองต่างๆ เป็ นต้น
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ความรู้
• มีความรอบคอบในการนาความรู้ที่
เกี่ยวข้องกันมาเชื่อมโยงเพื่อให้วธิ ีการ
พิจารณาที่ใช้เป็ นวิธีที่ถูกต้องเหมาะสม
สามารถตอบคาถาม ลดความเสี่ ยงในการ
ดาเนินงานผิด และสามารถใช้
ประกอบการสรุ ปผล ให้มีความมัน่ ใจว่า
ผลสรุ ปนั้น เป็ นผลสรุ ปที่เชื่อถือได้
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• คุณธรรม
•
มีความซือ
่ สั ตยสุ
์ จริตและ
ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการ
ดารงชีวติ ยึดมัน่ ในคุณธรรม นักสถิติตอ้ งมี
คุณธรรมในการทางาน เนื่องจาก
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• คุณธรรม
• เป็ นผูท้ ี่ทางานเกี่ยวข้องกับข้อมูล และการ
สรุ ปผลจากการศึกษาข้อมูล ซึ่งต้องเชื่อถือ
ได้ จึงต้องทางานด้วยความระมัดระวัง
ปราศจากอคติ รักษาคุณธรรมโดยเคร่ งครัด
เพื่อให้ขอ้ มูลที่นามาใช้เป็ นข้อมูลที่ถูกต้อง
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• คุณธรรม
• เป็ นผูเ้ ลือกวิธีการวิเคราะห์ รู้ขอ้ จากัดต่างๆ
ของวิธีการ ต้องมีคุณธรรมในการแปลความ
จากการวิเคราะห์วา่ ตอบอะไรได้บา้ ง
อย่างไร
• ต้องอดทน และมีความอุตสาหะ เพื่อให้
คุณภาพของผลงานดี
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวพระราชดาริ ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่พระราชทาน
ให้เป็ นปรัชญาของการดารงชีวิตที่ยดึ หลัก
ความพอดีพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และ
ภูมิคุม้ กันจากความเสี่ ยงต่างๆ ซึ่งต้องอาศัย
เงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม เพื่อให้
ดารงตนอยูไ่ ด้อย่างมีความสุ ข
สถิติศาสตร์ กบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• สถิติศาสตร์เป็ นศาสตร์ที่ตอ้ งอาศัยหลักคิดที่
วางอยูบ่ นคุณลักษณะ 3 ประการของ
เศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ความพอดี ความมี
เหตุมีผล การสร้างภูมิคุม้ กัน
• สถิติที่ดีมีคุณภาพต้องเกิดจากหลักวิชาการที่
ถูกต้องเหมาะสม มีความรู้รอบ และใช้อย่าง
รอบคอบระมัดระวัง
• การสร้างสารสนเทศสถิติ และการใช้สถิติตอ้ ง
กระทาอย่างมีคุณธรรม ทั้งคุณธรรมของ
ผูจ้ ดั ทา และผูใ้ ช้
นักศึกษาลองตอบ
คาถามต่อไปนี้
นักศึกษาลองตอบคาถามต่อไปนี้
หากต้องการนาข้อมูลที่สุ่มมา n หน่วยไปอธิบาย
ว่าประชากรทั้ง N มีคุณลักษณะอย่างเดียวกับ n
เช่ น
ในกลุ่มของนักศึกษาซึ่งมีประมาณ 100 กว่าคน
หากสุ่ มมา 5 คนศึกษาเกรดเฉลี่ย ม.ปลาย ใน 5
คน พบว่ามีค่าเป็ น 2.89
สรุ ปว่าในกลุ่มนี้ท้ งั 100 กว่าคนนี้ มีเกรดเฉลี่ย
ม.ปลายเป็ น 2.89 ด้วย นักศึกษาว่าเป็ นไปได้
หรื อไม่ ความถูกต้อง ความเชื่อถือได้ จะต้อง
พิจารณาจากอะไรบ้าง
นักศึกษาลองตอบคาถามต่อไปนี้
ตามที่นกั ศึกษาได้เรี ยนมาแล้ว
Mean Mode Median
แตกต่างกันอย่างไร และเหมาะสมกับการ
นาไปใช้ในสถานการณ์อย่างไร
ทาใบงาน
ทาแบบฝึ กหัดเป็ น
การบ้าน ส่งชัว่ โมงหน้า
Eleme
nts
www.animationfactory.com