การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยครูจริญ สระชุ่ม โรงเรียนอุดมดรุณี อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย กำรช่วยชีวิตพื้ นฐำนในเด็ก เด็กที่มีภาวะหยุดหายใจ หรือหัวใจหยุดเต้ น หรือไม่ทางาน สาเหตุ ที่พบได้ บ่อยคือ จมนา้ ไฟฟ้ าช็อต และสูดสาลัก เช่น การสาลักนม สาลักควัน เป็ นต้ น ซึ่งในภาวะเหล่านี้ ถ้

Download Report

Transcript การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยครูจริญ สระชุ่ม โรงเรียนอุดมดรุณี อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย กำรช่วยชีวิตพื้ นฐำนในเด็ก เด็กที่มีภาวะหยุดหายใจ หรือหัวใจหยุดเต้ น หรือไม่ทางาน สาเหตุ ที่พบได้ บ่อยคือ จมนา้ ไฟฟ้ าช็อต และสูดสาลัก เช่น การสาลักนม สาลักควัน เป็ นต้ น ซึ่งในภาวะเหล่านี้ ถ้

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
โดยครูจริญ สระชุ่ม
โรงเรียนอุดมดรุณี อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย
กำรช่วยชีวิตพื้ นฐำนในเด็ก
เด็กที่มีภาวะหยุดหายใจ หรือหัวใจหยุดเต้ น หรือไม่ทางาน สาเหตุ
ที่พบได้ บ่อยคือ
จมนา้ ไฟฟ้ าช็อต และสูดสาลัก
เช่น การสาลักนม
สาลักควัน เป็ นต้ น ซึ่งในภาวะเหล่านี้ ถ้ าได้ รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้ อง
ทันที โดยทาให้ มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอด และมีเลือดไหลเวียนเอา
ออกซิเจนไปเลี้ยงสมองเพียงพอ โดยไม่เกิดการตายของเนื้อสมอง จะทา
ให้ เด็กมีโอกาสกลับฟื้ นขึ้นมามีชีวิตเป็ นปกติได้
ไฟฟ้ ำช็อต
ไฟฟ้ าช็อต เป็ นอุบัติเหตุท่พี บได้ บ่อย
ทั้งในบ้ าน โรงเรียน โรงงาน และ
สถานที่ต่าง ๆ ที่มีการใช้ ไฟฟ้ า สาเหตุ
อาจเกิดจากการประมาท ไม่รอบคอบ
หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เป็ นต้ น มักพบ
ในเด็กอายุ 1-5 ปี ซึ่งผู้ท่ถี ูกไฟฟ้ าช็อต
อาจมีอาการรุนแรงมากหรือน้ อย
ขึ้นอยู่กบั ปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
1.
ลักษณะของผิวหนังที่สมั ผัสกับไฟฟ้ า
- ผิวหนังแห้ งจะมีส่อื ไฟฟ้ าต่า เกิดอันตรายน้ อย อาการรุนแรงไม่มาก
- ผิวหนังเปี ยกชื้น (มีเหงื่อหรือเปี ยกนา้ ) จะเป็ นสื่อนาไฟฟ้ าสูง ทาให้ เกิดอันตราย
และมีอาการรุนแรงมาก
2.
ชนิดของกระแสไฟฟ้ า
- ไฟฟ้ ากระแสตรง เช่น แบตเตอรี่ หรือถ่านไฟฉาย ทาให้ เกิดอันตรายน้ อย
- ไฟฟ้ ากระแสสลับ ทาให้ เกิดอันตรายมาก และกระแสไฟฟ้ าที่ใช้ ในบ้ านเป็ น
ไฟฟ้ าชนิดที่ทาให้ เกิดอันตรายมาก
3.
ตาแหน่ง และทางเดินของกระแสไฟฟ้ าในร่างกาย
- กระแสไฟฟ้ าที่ว่ิงจากแขนหนึ่งไปยังอีกแขนหนึ่ง หรือจากแขนลงไปที่เท้ า จะมี
อันตรายมากกว่ากระแสไฟฟ้ าที่ว่ิงจากเท้ าลงดิน เนื่องจากกระแสไฟฟ้ าสามารถ
วิ่งผ่านหัวใจ ทาให้ หัวใจเต้ นผิดจังหวะ และเกิดอันตราย
- กระแสไฟฟ้ าวิ่งผ่านสมอง จะทาให้ หยุดหายใจ
- กระแสไฟฟ้ าวิ่งผ่านกล้ ามเนื้อ ทาให้ ชัก กระดูกหัก หรือเป็ นอัมพาต
อำกำร
1.
2.
หมดสติ หยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้ นทันที ถ้ าได้ รับกระแสไฟฟ้ าเข้ าตัวเป็ น
เวลานาน
อาจมีบาดแผลไหม้ บริเวณผิวหนังที่ถูกไฟฟ้ าช็อต
กำรช่วยเหลือ
1. ปิ ดสวิตซ์ไฟ หรือถอดปลั๊กไฟทันที
2. ใช้ อป
ุ กรณ์ท่ไี ม่นาไฟฟ้ า เช่น ไม้ ผ้ า หรือเชือก คล้ องเอาตัวผู้ป่วยให้ หลุดออก
จากสาย (ห้ ามใช้ โลหะหรือวัตถุเปี ยกนา้ โดยเด็ดขาด และมิให้ ถูกตัวผู้ป่วยจนกว่า
จะหลุดออกจากสายไฟแล้ ว)
3. ตรวจดูการหายใจ ถ้ าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ เป่ าปากช่วยหายใจทันที และถ้ า
หัวใจหยุดเต้ นให้ นวดหัวใจไปพร้ อมกัน จนกว่าจะหายใจได้ เอง
4. รีบนาส่งโรงพยาบาลโดยด่วน และตรวจดูการหายใจอย่างใกล้ ชิด
จมน้ ำ
จมนา้ เป็ นภาวะที่พบได้ บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี มีความรุนแรงและมักจะ
เสียชีวิตเนื่องจากขาดอากาศหายใจจากการสาลักนา้ หรือมีการเกร็งของกล่ องเสียง
ซึ่งทาให้ เสียชีวิตได้ ภายใน 5-10 นาที
อำกำร
1.
2.
หมดสติ และหยุดหายใจ บางรายอาจมีหัวใจหยุดเต้ น
ในรายที่ไม่หมดสติ อาจมีอาการปวดศีรษะ อาเจียน กระวนกระวาย หรือไอ
มีฟองเป็ นสีเลือดจาง ๆ
กำรช่วยเหลือ
1. ถ้ าผู้ป่วยหยุดหายใจ ทาการผายปอดโดยให้ เป่ าปากและช่วยหายใจทันที โดย
เร็วที่สดุ อย่าเสียเวลาเอานา้ ออกจากปอด
2. เมื่อเป่ าปากไปสักพัก แล้ วผู้เป่ ารู้สก
ึ ว่าลมที่เป่ าเข้ าปอดเด็กเข้ าได้ ไม่เต็มที่
เนื่องจากมีนา้ อยู่เต็มท้ อง อาจจัดท่าให้ เด็กนอนคว่า ใช้ มือ 2 ข้ าง วางอยู่ใต้
ท้ องเด็ก ยกท้ องเด็กขึ้นจะช่วยไล่นา้ จากท้ องออกมาทางปากได้ และจัดให้ เด็ก
นอนหงายทาการเป่ าปากช่วยหายใจต่อไป
3. ถ้ าพบว่ามีหัวใจหยุดเต้ น ให้ ทาการนวดหัวใจทันที
4. ในกรณีท่เี ด็กยังพอหายใจได้ เอง หรือ ช่วยเหลือให้ เด็กสามารถหายใจได้ เอง
จัดท่าให้ เด็กนอนตะแคง และศีรษะหงายไปข้ างหลังเพื่อให้ นา้ ไหลออกมาทางปาก
5.
ใช้ ผ้าคลุมตัวเด็กให้ อบอุ่น ห้ ามให้ อาหารและนา้ ดื่มทางปาก
6.
ส่งเด็กจมนา้ ทุกรายไปตรวจรักษาที่โรงพยาบาลอย่างน้ อย 24-72 ชั่วโมง เพื่อ
เฝ้ าระวังภาวะแทรกซ้ อนที่อาจเกิดขึ้น
กำรป้องกัน
1.
ระวังอย่าให้ เด็กเล่นนา้ หรือเล่นใกล้ บริเวณที่มีนา้ ตามลาพัง
2.
ควรส่งเสริมให้ เด็กฝึ กว่ายนา้ ให้ เป็ น
3.
เด็กที่มีประวัติเป็ นโรคลมชัก ห้ ามลงเล่นนา้
4.
ควรเตรียมเสื้อชูชีพให้ พร้ อม เมื่อต้ องลงเรือหรือไปเที่ยวทะเล
กำรไหลเวียนของเลือด เมื่อหัวใจหยุดทางาน การไหลเวียนของเลือดไป
เลี้ยงส่วน ต่าง ๆ ก็หยุดไปด้ วย ดังนั้นจึงต้ องช่วยนวดหัวใจ เพื่อช่ วยปั๊มเลือดออกจาก
หัวใจไปเลี้ยงสมองและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
3.
แบบทดสอบ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วยที่หมดสติ ควรใช้วธิ ีใด และต้องการความรวดเร็ ว
ก.
คลานลาก
ข. ลากถอยหลัง
ค.
ใช้สามคนหาม ง. อุม้ ประสานแคร่
เมื่อหัวใจหยุดทางานการไหลเวียนของเลือดก็จะหยุดไปด้วยเราควรทาอย่างไร
ก อุม้ ผูป้ ่ วยเข้าโรงพยาบาล ข นวดหัวใจเพื่อให้เลือดไหลเวียน
ค พยายามให้ผปู ้ ่ วยรู ้สึกตัวโดยการนาน้ ามาราด ง ร้องให้คนที่อยูใ่ กล้ๆช่วย
กระแสไฟฟ้ าชนิดใดที่เป็ นอันตรายมากที่สุด
ก กระแสตรง ข กระแสสลับ
ค กระแสตรงและสลับ ง แบตเตอรี่
ถ้ากระแสไฟฟ้ าวิง่ ผ่านกล้ามเนื้อผลจะเป็ นอย่างไร
ก กล้ามเนื้ออักเสบ ข ทาให้หวั ใจหยุดเต้น
ค ทาให้ชกั หรื อเป็ นอัมพาต ง เป็ นลมหมดสติ
วิธีการช่วยหรื อคนจมน้ าควรปฏิบตั ิอย่างไร
ก ทาการผายปอดโดยการเป่ าปาก ข ส่ งโรงพยาบาลทันที
ค จับชีพจรตรวจการหายใจ ง ถูกทุกข้อ