โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : พลังงานทางเลือกทีค่ นไทยต้ องเลือก ? ชื่นชม สง่าราศรี กรี เซน พลังไท 5 พฤศจิกายน 2550 เวทีอภิปราย “ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับนิวเคลียร์: อะไรบ้างที่สาธารณชนไทยควรรู ้ " ณ สมาคมศิษย์เก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Download Report

Transcript โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : พลังงานทางเลือกทีค่ นไทยต้ องเลือก ? ชื่นชม สง่าราศรี กรี เซน พลังไท 5 พฤศจิกายน 2550 เวทีอภิปราย “ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับนิวเคลียร์: อะไรบ้างที่สาธารณชนไทยควรรู ้ " ณ สมาคมศิษย์เก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ :
พลังงานทางเลือกทีค่ นไทยต้ องเลือก ?
ชื่นชม สง่าราศรี กรี เซน
พลังไท
5 พฤศจิกายน 2550
เวทีอภิปราย
“ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับนิวเคลียร์:
อะไรบ้างที่สาธารณชนไทยควรรู ้ "
ณ สมาคมศิษย์เก่ารัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พลังงานทางเลือกที่คนไทยต้องเลือก ?
“ A lie, repeated a thousand times,
becomes a truth.”
- Joseph Geobbels
Nazi Minister of Propaganda
The three Nuke fallacies…



1. Nuclear is a savior
2. We got to choose
3. Nuclear is necessary for Thailand
Fallacy #1
Nuclear energy is not a knight on a white
horse coming to rescue us from our fossil fuel
addiction and its grave consequences; to the
contrary, it is just as bad, if not worse, than
fossil fuels.
Nuclear as “alternative energy”



The main thrust for nuclear comeback is its “promise” to
provide a “clean alternative” to fossil fuels which caused
global climate change.
The root cause of the world’s environmental crisis is not
just CO2 emissions, but the endless growth in
consumption, production and economy which pushes the
nature out of its balance.
Nuclear is a violent threat not just to environment, but
also to democracy, civil liberty and humanity.
การปล่อยสารกัมมันตรังสี

การปล่อยสารกัมมันตรังสี เกิดขึ้นอย่างสม่าเสมอในทุกขั้นตอนของกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์


คณะกรรมการวิทยาศาสตร์ดา้ นผลกระทบจากสารกัมมันตรังสี สหประชาชาติ (1994) ประมาณการว่าปริ มาณกัมมันตรังสี
เฉลี่ยที่ประชากรโลกได้รับในช่วงเวลา 50 ปี ของการเดินเครื่ องเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ อยูท่ ี่ระดับ 2 ล้าน personSieverts (หน่วยวัดผลกระทบด้านชีวภาพจากกัมมันตรังสี )
เมื่อเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานความเสี่ ยง พบว่า ปริ มาณการรับรังสี ดงั กล่าว เทียบเท่ากับการเพิ่มจานวน ผูเ้ สี ยชีวติ เนื่องจาก
มะเร็งถึง 80,000 ราย
►
กรณี เชอร์โนบิล:
หากใช้มาตรฐานความเสี่ ยงเดียวกัน สารกัมมันตรังสี ที่ปล่อยจากเชอร์
โนบิล คิดเป็ นเหตุให้เกิด ผูเ้ สี ยชีวติ เนื่องจากมะเร็ง 24,000 ราย
►
ทาให้มีผอู ้ พยพโยกย้ายอย่างถาวรถึง 220,000 คนในประเทศเบลารุ ส
สหพันธรัฐรัสเซียและยูเครน
http://www.sheppardsoftware.com
เตาปฏิ กรณ์ เชอร์ โนบิลหมายเลข 4 หลังอุบัติเหตุ
Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth. 2005
http://www.acfonline.org.au/uploads/res_nukesnosolsummary.pdf
มลภาวะจากกระบวนการวงจรเชื้อเพลิง
กระบวนการวงจรเชื้อเพลิง
การทาเหมืองและการแต่งแร่ ยเู รเนียมทาให้เกิดกากโคลนกัมมันตรังสี

เชื้อเพลิงใช้แล้วประกอบด้วยสารกัมมันตรังสี

การนาเชื้อเพลิงใช้แล้วมาแปรรู ปใหม่ทาให้เกิดกากกัมมันตรังสี

ณ ปี 2543 อุตสาหกรรมนิวเคลียร์ได้ผลิตกากกัมมันตรังสี
ระดับเข้มข้นมากถึง 201,000 ตัน
เราต้องหาทางจัดเก็บกากเหล่านี้อย่างปลอดภัย
นานถึง 10,000 - 240,000 ปี
“Nuclear Energy” Reaching Critical Will. (2001)
http://www.reachingcriticalwill.org/
ทุกเตาปฏิกรณ์คือเครื่ องผลิตวัตถุดิบสาหรับ
อาวุธนิวเคลียร์ที่มีแสนยานุภาพทาลายล้างสูง
สารพลูโตเนียมขนาดเท่าลูกเบสบอลสามารถผลิตระเบิดขนาดเดียวกับที่ใช้ถล่มเมืองนางาซาได้
“Nuclear Energy” Reaching Critical Will. (2001)
http://www.reachingcriticalwill.org/
มายาคติของพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ
ข้ อเท็จจริง
20 จาก 60 ประเทศที่อา้ งว่าใช้พลังงานปรมาณู “เพื่อสันติ” มีการลักลอบวิจยั เพื่อผลิตอาวุธ
นิวเคลียร์ 1
ตัวอย่าง: โครงการพุทธสรวลของอินเดีย (Smiling Buddha)

http://wikipedia.org
“การทดลองระเบิดนิวเคลียร์เพื่อสันติ” ตามโครงการที่ชื่อ “พุทธสรวล”
ของอินเดียเมื่อปี 1974 เป็ นตัวอย่างของมายาคติน้ ี

อินเดียสร้างเตาปฏิกรณ์เพื่อการวิจยั เลียนแบบจากเตาที่ได้รับบริ จาคมา และ
มีการพัฒนาโรงงานแยกสารพลูโตเนียมด้วยตนเองเพื่อผลิตระเบิดนิวเคลียร์

นายกรัฐมนตรี ปากีสถานตอบโต้ดว้ ยการให้สญ
ั ญาว่าจะผลิตระเบิดนิวเคลียร์ให้
ได้ “แม้วา่ เราจะต้องกินแกลบ กินหญ้าหรื อต้องหิ วโหยต่อไปก็ตาม” 2
นายกรั ฐมนตรี อินเดียตรวจเยี่ยมโรงงาน
นิวเคลียร์
1 Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth. 2005 <http://www.acfonline.org.au/uploads/res_nukesnosolsummary.pdf>
2 “Canada blamed for India's 'peaceful' bomb.” CBC Archives (2006) <http://archives.cbc.ca/>
IAEA
(International Atomic Energy Agency)
มีขอ้ จากัดอย่าง
ยิง่
มีอย่างน้อย 8 ประเทศซึ่งลงนามในสนธิสญ
ั ญาไม่แพร่ ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (NPT) ที่มีโครงการผลิตอาวุธที่ละเมิด
ข้อตกลงดังกล่าว หรื อมีกิจกรรมผลิตอาวุธที่ได้รับอนุญาต แต่ไม่มีการรายงานต่อIAEA
ตัวอย่าง:
http://www.nkzone.org/nkzone/category/diplomacy/








อียปิ ต์
อิรัก
ลิเบีย
เกาหลีเหนือ
โรมาเนีย
เกาหลีใต้
ไต้หวัน
ยูโกสลาเวีย
Green, Jim. No Solution to Climate Change. Friends of the Earth. 2005
http://www.acfonline.org.au/uploads/res_nukesnosolsummary.pdf
วิถีแห่งพลังงานที่รุนแรง แข็งกร้าว และร้าวฉาน
Hard Energy Path
The violence and conflicts are not much
different, if not worse, for nuclear power
plants
Military personnel guard the
front gate to the Three
Mile Island nuclear power
plant Thursday Feb. 13,
2003, in Middletown, Pa.
eyeball-series.org/npp2/npp2-eyeball.htm
พลังงานนิวเคลียร์ ในไทยที่ผ่านมา
มักถูกผลักดันในช่ วงรัฐบาลทหาร
และถูกพับในช่ วงทีป่ ระชาธิปไตยกลับคืน
นิวเคลียร์
การผลักดัน
นิวเคลียร์
การผลักดัน
นิวเคลียร์
5-10 MW
เตาปฏิกรณ์ แบบวิจัย
4,000 MW
<500 MW
รัฐประหาร
การเมือง
การผลักดันนิวเคลียร์
การผลักดัน
นิวเคลียร์
รัฐประหาร
รัฐประหาร
สงครามเย็น
รัฐบาลทหาร
2503
2513
2523
2533
2543
2553
“Thailand To Build First Nuclear Plant.” (2007)
“Thailand’s Nuclear Program: 1966-1997” WISE. (1997)
ฤา...สังคมไทยจะต้องกลายเป็ นรัฐตารวจ ?
Source: Croall & Kaianders, “The Anti-Nuclear Handbook” 1978.
Fallacy # 2
We got to choose
The nuclear “option” was a mandate, not an
option, in the PDP.
“เราต้ องเลือกระหว่ างโรคอหิวาต์ กบั โรคห่ า...”

การตีกรอบให้ “เลือก” ระหว่าง ถ่านหิน นิวเคลียร์ ก๊าซ และเขื่อน
Source: Croall & Kaianders, “The Anti-Nuclear Handbook” 1978.
…while the door to soft energy is slammed
shut.
Source: Croall & Kaianders, “The Anti-Nuclear Handbook” 1978.
Unfortunately we didn’t get
to choose…
The option was forced on us by the PDP.
แผน PDP คืออะไร




แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า (Power
Development Plan) คือ แผนการลงทุนใน
กิจการไฟฟ้ าที่กาหนดว่าโรงไฟฟ้ าประเภทใด จะถูกสร้าง
เมื่อไหร่ โดยใคร และมีกี่โรง
ตามแผน PDP 2007 การใช้ไฟฟ้ าสูงสุดของระบบจะ
เพิ่มขึ้น 132% ในเวลา 15 ปี
งบลงทุน: กว่า 2 ล้านล้านบาท
กาลังการผลิตใหม่:



ส่ วนใหญ่เป็ นก๊าซ (26 โรง x 700 MW)
ถ่านหิน (4 โรง x 700 MW), ไฟฟ้ านาเข้า
(5090 MW)
นิวเคลียร์ (4 โรง x 1000 MW)
นิวเคลียร์ ไม่ ใช่ ทางเลือกในแผน PDP แต่เป็ นภาคบังคับเพราะถูกบรรจุในทุกกรณี
กำล ังกำรผลิตใหม่ทถ
ี่ ก
ู บรรจุในแผน PDP2007
(MW)
45000
40000
L = กรณีตา่
B = กรณีฐาน
H = กรณีสูง
35000
30000
1=“ต้ นทุนตา่ สุ ด”
2=“ถ่ านหินทีม่ คี วาม
เป็ นไปได้ ”
3=“LNG + ซื้อ
ไฟ ตปท. เพิม่ ขึน้ ”
25000
20000
15000
10000
5000
0
L1
SPP
B1
Nuclear
H1
Gas
L2
B2
Coal
H2
L3
B3
Gas Turbine
H3
Import
Fallacy # 3
Nuclear is necessary for Thailand
“ต้องเลือก” นิวเคลียร์ มิเช่นนั้นเราจะล้าหลัง ?
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ไม่ใช่ดชั นีช้ ีความเป็ นอารยะ



การที่เดนมาร์ค และนอร์เวย์ไม่มีโรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์
ไม่ได้แปลว่าประเทศเหล่านี้ลา้ หลัง
ในทางกลับกัน ไทยไม่ได้ลา้ หลังเวียดนาม หาก
ไม่ได้สร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
ปมด้อยทางเศรษฐกิจและการเมืองของ (คน)ไทย
(บางคน) ไม่สามารถแก้ได้ดว้ ยการสร้างโรงไฟฟ้ า
นิวเคลียร์
สัดส่ วนการผลิตไฟฟ้ าจาก
นิวเคลียร์ %
(ค่าเฉลี่ยโลก 16%)
“Nuclear Power in the World Today.” World Nuclear
Association. (2007) http://www.world-nuclear.org/info/inf01.html
“ต้องเลือก” นิวเคลียร์ มิเช่นนั้นเราจะถูกล้อม ?



เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ไม่ใช่อาวุธที่สร้างความมัน่ คง อุ่นใจให้กบั คนไทย
ไทยถูกล้อมด้วยเพื่อนบ้านอย่างจีน เวียดนาม อินโดนีเซี ย ซึ่ งล้วนมีแผนสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์
หากมีขอ้ ผิดพลาดประเทศไทยเสี่ ยงต่อการได้รับอันตรายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
หากรัฐบาลไม่มีแผนในการสร้างอาวุธนิวเคลียร์ การตั้งโรงไฟฟ้ าในไทยไม่ได้ช่วยลดข้อกังวล
ต่อภัยอันตรายจากอุบตั ิเหตุในประเทศเพื่อนบ้านแต่อย่างใด
“An Analysis and Visualization of the Risk Associated
with the Potential Failure of Indonesian Nuclear Reactors”
Australian National University
http://anusf.anu.edu.au/anusf_visualization/viz_showcase/john_taylor/
Model runs also show that other countries in South East Asia, particularly Papua New Guinea, Singapore, Malaysia, Brunei and Thailand would also be at
substantial risk of receiving radioactive fallout during the months from March until November.
“ต้องเลือก” นิวเคลียร์ มิเช่นนั้นไฟฟ้ าแพง ?

ต้นทุนที่ กฟผ./รัฐบาลอ้าง

แหล่งพลังงาน
ต้ นทุนการผลิต
นิวเคลียร์
2.08
ความร้อนจากถ่านหิ น
2.12
พลังความร้อนร่ วมก๊าซ
2.29
ความร้อนจากน้ ามัน
4.12
กังหันก๊าซ
7.93
แสงอาทิตย์
20.20
กังหันลม
5.98
ขยะ/ของเสี ย
4.63
ชีวมวล
2.63
EGAT “Power Development Plan” presentation
at public hearing at Military club, April 3 2007



ไม่มีที่มาที่ไปของการคานวณ
ขาดความน่าเชื่อถือและไม่สอดคล้องกับข้อมูลจาก
ต่างประเทศ
เป็ นไปได้เฉพาะในกรณี ที่
 ไม่รวมการอุดหนุ นจากภาษีประชาชน
 ลดมาตรฐานความปลอดภัยเพื่อประหยัด
ต้นทุน
ดังนั้น หากมัน่ ใจว่าถูกจริ ง รัฐควรเปิ ดเผย
สมมติฐานการคานวณเพื่อพิสูจน์ขอ้ กังขา
หากพิจารณารวมต้นทุนทั้งระบบ นิวเคลียร์ ไม่ถกู อย่างที่คิด
ประมาณการต้ นทุน (บาท/หน่ วย)
ทางเลือกใน
การจัดหา
ผลิต
ส่ ง1
จาหน่ าย2
CO2 3
ผลกระทบ สวล.
อืน่ ๆ 4
ผล กระทบ
สังคม
รวม
DSM
0.50 – 1.505
-
-
-
-
-
0.50 -1.50
โคเจนเนอเรชั่น
(PES > 10%)
2.60 6
-
0.44
0.08
0.71
-
3.83
VSPP
(พลังงานหมุนเวียน)
ค่าไฟฟ้า
ขายส่ ง
(~ 3) +
Adder
(0.3 – 8)
-
0.44
-
0 – 0.63
0 – ต่า
3.3 –
11.0
ก๊าซ CC
2.25 7
0.37
0.44
0.09
0.79
ต่า –
ปาน
กลาง
3.93
ถ่ านหิน
2.11 7
0.37
0.44
0.15
2.76
สู ง
5.82
นิวเคลียร์
2.08 7
0.37
0.44
-
0.15 + 1.008
สู ง - สู งมาก
4.04
หมายเหตุ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
ใช้สมมติฐานว่าต้นทุนร้อยละ 12.4 ของค่าไฟฟ้ ามาจากธุรกิจสายส่ง
ใช้สมมติฐานว่าต้นทุนร้อยละ 14.5 ของค่าไฟฟ้ ามาจากธุรกิจจาหน่าย
ค่า CO2 ที่ 10 ยูโร/ตัน
ค่า Externality ตามการศึกษา Extern E ของสหภาพยุโรป และนามาปรับลดตามค่า GDP ต่อหัวของไทย
การศึกษาของ World Bank 2005
ตามระเบียบ SPP
ที่มา : กฟผ.
Cost of liability protection, Journal “Regulation” 2002 – 2003
ต้นทุนยูเรเนียมจะเพิม่ ขึ้น
ณ อัตราการบริ โภคในปัจจุบนั :


ทรัพยากร: สิ นแร่ เกรดสู ง ราคาถูก
มีให้ใช้อีก: 50 ปี
ทรัพยากร: สิ นแร่ ทวั่ ไป
มีให้ใช้อีก: 200 ปี 1
Wikipedia.org
เหมืองยูเรเนียมในสหรัฐฯ
ถ้ามีการผลิตพลังงานนิวเคลียร์เพิ่มขึ้น แหล่งแร่ จะหมดลงรวดเร็วขึ้นและแร่ จะมีราคาแพงขึ้น
แร่ ยเู รเนียมที่พบส่วนใหญ่เป็ นแร่ คุณภาพต่า
การทาเหมืองเพี่อดึงแร่ ยเู รเนียมมาใช้จะทาให้เกิดก๊าซเรื อนกระจกจานวนมาก 2
1 Nuclear Agency, International Atomic Energy Agency “Uranium 2003: Resources, Production, Demand.” Paris: OECD. (2004)
2 van Leeuwen, Jan-Willem. “Can nuclear power provide energy for the future; would it solve the co2-emission problem?”,
http://beheer.oprit.rug.nl/deenen (2004)
“ต้องเลือก” นิวเคลียร์ มิเช่นนั้นไฟฟ้ าไม่พอใช้ ?

จะเป็ นจริ งก็ต่อเมื่อสมมติฐานในแผน PDP เป็ นจริ ง







ราคาน้ ามันดูไบ 55-60 ดอลล่าร์ต่อบาเรล คงที่ถึงปี 2564
เศรษฐกิจไทยขยายตัว 85% ภายใน 15 ปี ข้างหน้า
การใช้ไฟฟ้ าเพิ่ม 132% ภายใน 15 ปี
จากัดเพดาน SPP ใหม่ไว้ที่ไม่เกิน 1700 MW ตลอด 15 ปี ข้างหน้า
การจัดการด้านการใช้ (DSM) โครงการใหม่ประหยัดไฟได้ 330 GWh/ปี หรื อ 0.2%/ปี
VSPP พลังงานหมุนเวียนและระบบ cogeneration รวมมีกาลังการผลิตต่ากว่า 1100 MW
ในปี 2564
การใช้พลังงานไฟฟ้ าช่วง 8 เดือนแรกของปี นี้เพิ่มขึ้นเพียง 3.5% ในขณะที่ค่าพยากรณ์
ทานายไว้ 6.14%
ความต้องการใช้ไฟฟ้ าที่เพิ่มที่ข้ ึนต่อปี (MW)
Peak Demand Increase Per Year (MW):
Actual vs. March-07 Forecast
2500
2000
Actual
Past averages:
20 yr = 897 MW
10 yr = 808 MW
Mar-07 Forecast
แค่ 1,000 MW/ปี
น่าจะเพียงพอ ?
14 yr avg = 1,884 MW
1500
1000
15 yr average = 914 MW
500
0
2021
2020
2019
2018
2017
2016
2015
2014
2013
2012
2011
2010
2009
2008
2007
2006
2005
2004
2003
2002
2001
2000
1999
1998
1997
1996
1995
1994
1993
1992
1991
1990
1989
1988
1987
1986
1985
-500
สู งเกินไป ?
Do we really need to choose hard energy options?
What if we really give soft energy a real fighting chance…

ณ พ.ค. 2550 กาลังผลิตติดตั้งอยูท่ ี่
(กาลังผลิตสารอง

22%
27,788 MW
)
มีกาลังการผลิตที่จะเพิ่มเข้ามาในระบบภายในปี 2564
(ไม่รวมโรงถ่านหิ น นิวเคลียร์ IPP ทุกประเภท
ไฟฟ้ านาเข้าที่ยงั ไม่เว็นสัญญา)
14,876 MW
-8,462

หักโรงไฟฟ้ าที่จะถูกปลดออก

หากเปิ ดให้ CHP/cogen เข้ามาได้อีกอย่างเต็มที่ =

หากสนับสนุน DSM เต็มที่

หากสนับสนุน RE เต็มที่ เข้ามาได้อีก

=
2,000 MW
=
ประหยัดได้อีก
=
รวม
MW
1,500 MW
500 MW
=
38,202 MW
Do we really need to choose hard energy options?
What if we really give soft energy a real fighting chance…





ความต้องการใช้ไฟฟ้ าสูงสุด เมื่อปี 2550
หากพิจารณาจากสถิติที่ผา่ นมาในอดีต
การเพิ่มขึ้นของการใช้ไฟฟ้ า/ปี โดยเฉลี่ย
ไม่น่าจะเกิน 1,000 MW/ปี x 14 ปี
ประมาณการความต้องการสูงสุด
ถึงปลายปี 2564
=
=
=
22,568 MW
14,000 MW
32,568 MW
หากส่งเสริ ม CHP, RE, DSM เต็มที่โดยไม่ตอ้ งมีโรงไฟฟ้ าใหม่
กาลังผลิตสารอง*
=
17%
* คิดจากกาลังการผลิตติดตั้ง
It is entirely possible to avoid “hard energy choices”
(goal, gas, nuclear and large hydro) by fully exploiting soft energy options.
The issue is: why have we not been given the chance
to choose this soft energy path?
Exercise in double morality
Source: Croall & Kaianders, “The Anti-Nuclear Handbook” 1978.
Source: Croall & Kaianders,
“The Anti-Nuclear Handbook”
1978.
“Nuclear Sunrise”
Thank you
Presentation available for download
from
www.palangthai.org
Tel. 0863400943
026720364
http://micro.magnet.fsu.edu/microscapes/images/nuclear.jpg